SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บริษัทเครือซีเมนต์ไทย
SCG
ประวัติบริษัทเครือซิเมนต์ไทย
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ เครือซิเมนต์ไทย (อังกฤษ: Siam Cement Group
ชื่อย่อ: SCG) หรือที่นิยมเรียกว่า "ปูนใหญ่" ปัจจุบันใช้ชื่อเรียกทั้งกลุ่มธุรกิจว่า "เอสซีจี" เริ่มดาเนินการครั้ง
แรกเป็นผู้ผลิตปูนซิเมนต์และต่อมาได้มีการขยายกิจการไปสู่ผลิตภัณฑ์อื่นๆอีกมากมาย อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์
ก่อสร้าง กระดาษ โลหะ เครื่องจักรกล ปิโตรเคมี ธุจกิจจัดจาหน่าย เป็นต้น มีสานักงานทรัพย์สินส่วน
พระมหากษัตริย์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประมาณ 30% ที่เหลืออีก 70% ถือหุ้น โดยนักลงทุนทั่วไป และนัก
ลงทุนสถาบัน
ในปีพุทธศักราช 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้ง บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด ขึ้น ด้วยพระราชประสงค์ที่จะให้ประเทศไทยผลิต
ปูนซีเมนต์ใช้เอง ลดการพึ่งพาการนาเข้าจากต่างประเทศ และเพื่อจัดสรรการใช้ทรัพยากรภายในประเทศ
อย่างคุ้มค่า
บริษัทปูนซิเมนต์ไทย ได้มีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องตลอดมา ตามสถานการณ์ และสภาพแวดล้อม
ทางธุรกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป จนเป็น “เครือซิเมนต์ไทย”(SCG) กลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมที่มีประวัติ
ยาวนานที่สุด และใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
2456-2466 ทศวรรษแรก ของการตั้ง บริษัทปูนซิเมนต์ไทย เป็นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 1 บริษัทฯ
เริ่มผลิตปูนซีเมนต์ขึ้นครั้งแรก ที่บางซื่อ กรุงเทพฯ ปูนซีเมนต์ ที่ผลิตได้บางส่วนส่ง ขาย ในประเทศ
ใกล้เคียง เริ่มมีการค้นพบแหล่งดินขาวใหม่ นามาสู่การก่อตั้ง โรงงานแห่งที่สอง ในช่วง ต่อมา
2467-2477 ขยายกาลังผลิต โรงงานบางซื่อ โดยตั้งหม้อเผาที่ 3 ทาให้กาลังผลิตรวม เป็นปีละ
108,000 ตัน
2478-2488 ขยายสู่กิจการ ผลิตกระเบื้องมุงหลังคา และเหล็ก ขึ้นเป็นครั้งแรก ในประเทศ ช่วงปลาย
ทศวรรษนี้เกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 หม้อเผาปูนซีเมนต์ 2 หม้อที่บางซื่อ ถูกระเบิดทาลาย
2489-2499 โรงงานปูนซีเมนต์ท่าหลวง เริ่มผลิตได้ในปี 2491 รวมทั้ง มีการขยาย สู่กิจการ เหล็กหล่อ
รูปพรรณ และคอนกรีตขึ้น เป็นครั้งแรก
2500-2510 ปี 2507 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จฯ
เป็นองค์ประธานในพิธีเฉลิมฉลอง บริษัทปูนซิเมนต์ไทยครบ 50 ปี และทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมราชานุญาให้บริษัทปูนซิเมนต์ไทย เป็นบริษัท ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว
ปี 2509 โรงงานปูนซีเมนต์ ที่ทุ่งสง จ. นครศรีธรรมราช แล้วเสร็จ และ เริ่มผลิตได้กาลังผลิตขั้นแรก
ปีละ 460,000 ตัน
2511-2521 ในปี 2515 ปรับปรุงโครงสร้าง การบริหารงาน เป็นเครือซิเมนต์ไทย และใช้สัญลักษณ์
ใหม่ ร่วมกันคือ ช้างเผือกในรูปหกเหลี่ยม และในทศวรรษนี้ ได้แต่งตั้งคุณบุญมา วงศ์สวรรค์ นับเป็นคนไทย
คนแรกที่ดารงตาแหน่งผู้จัดการใหญ่บริษัทฯ
2522-2532 ปี 2524 ตัดสินใจ หยุดการผลิตปูนซีเมนต์ที่โรงงานบางซื่อ เครือซิเมนต์ไทย ขยายธุรกิจ
ทั้งต่อเนื่อง และต่างแขนงรวมทั้งร่วมทุนกับบริษัทชั้นนา ในต่างประเทศ อาทิ ธุรกิจปิโตรเคมี กระดาษและ
บรรจุภัณฑ์รวมทั้งมีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สมัยใหม่เข้ามาช่วย ในงานด้านต่าง ๆ
อย่างมาก
2533-2543 ปี 2535 โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ที่เขาวง จ. สระบุรีเริ่มผลิตซึ่งถือเป็นโรงงาน ที่มีหม้อเผา
ที่ใหญ่ที่สุดในโลกเริ่มนาระบบการบริหารคุณภาพงานทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Commitment) มาเป็น
นโยบายหนึ่งในการบริหารธุรกิจทาให้บริษัทในเครือฯ จานวนมาก ได้รับการรับรอง และยอมรับในระดับ
สากล ช่วงปี 2540-2541 เกิดวิกฤติเศรษฐกิจเครือฯ ปรับโครงสร้าง การบริหารใหม่ เพื่อให้อยู่รอด และ
เตรียมพร้อมสาหรับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด และเพื่อรองรับการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงขึ้น
ทุกขณะ
2544-2545 ปรับโครงสร้างธุรกิจโดยแบ่งกลุ่มธุรกิจออกเป็น 6 กลุ่มธุรกิจและ 2 บริษัทโฮลดิ้ง
นอกจากนี้ยังร่วมตั้งบริการจัดซื้อผ่านอินเตอร์เน็ตที่ใหญ่ที่สุด เพื่อเป็นการปูพื้นฐานสู่การทา พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์และได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 10 บริษัทชั้นนาของประเทศไทย จาก Far Eastern
Economic Review
2546-ปัจจุบัน ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้นาในการดาเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลทั้งระดับประเทศ
และระดับสากล อาทิ จาก Reuters ร่วมกับ นิตยสาร Institutional Investor สหรัฐอเมริกา นิตยสาร Finance
Asia และ SET Awards 2003นับเป็นสิ่งยืนยันถึงความมุ่งมั่น ดาเนินงานอย่างเปิดเผยโปร่งใสและตรวจสอบ
ได้
การบริหารงานองค์กรเครือซีเมนต์ไทย
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ SCG เป็นบริษัทที่ได้รับการยกย่องในหลายด้าน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นองค์กรที่มีระบบบริหารจัดการและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างดีเยี่ยม โดยวาง
วิสัยทัศน์ว่า จะเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมด้วยบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยอุดมการณ์ 4
ประการ ได้แก่ ตั้งมั่นในความเป็นธรรม เชื่อมั่นในคุณค่าของคน มุ่งมั่นในความเป็นเลิศ ถือมั่นในความ
รับผิดชอบต่อสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใช้ปรัชญาเชื่อมั่นในคุณค่าและศักยภาพของ
พนักงาน ให้ทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ด้วยบรรยากาศที่เปี่ยมด้วยพลัง สิ่งเหล่านี้พิสูจน์ได้ด้วยความ
เข้มแข็งของบริษัทที่เติบโตมาอย่างยาวนาน ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนได้แก่ เมื่อคราวที่เศรษฐกิจฟองสบู่แตก ยุค
ต้มยากุ้ง ขณะที่องค์กรอื่นมีความสับสน โทษกันไปมาเพื่อหาคนผิด เครือปูนซิเมนต์ไทยกลับระดมพลังคน
เก่งของตนเพื่อระดมความเห็นในการแก้วิกฤติการณ์ดังกล่าว ทาให้เครือปูนซิเมนต์ไทยกลับมามุ่งเน้นใน
ธุรกิจที่ตัวเองชานาญ ได้แก่ ซิเมนต์ เคมีภัณฑ์ กระดาษ ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จัดจาหน่ายและร่วมทุน กรอบ
ความคิดในการพัฒนาองค์กร คือการมุ่งสู่องค์กรที่เติบโตอย่างยั่งยืนด้วยความสามารถทางการแข่งขันที่โดด
เด่น ด้วยการนาเสนอสินค้าและบริการที่มีคุณค่าสูง การจัดบรรลุเป้ าหมายได้ด้วยการสร้างองค์กรให้เป็น
องค์กรแห่งนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการปรับกระบวนทัศน์ สร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่
สนับสนุนด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้เครือซิเมนต์ไทยมีเทคโนโลยีและ
ทรัพย์สินทางปัญญาที่เป็นของตนเองให้มากที่สุด ด้วยการวางระบบพัฒนาบุคลากรเพื่อให้แสดงผลงานและ
ความสามารถอย่างเต็มที่ ให้พนักงานเข้าใจทิศทางของบริษัท มีเส้นทางความก้าวหน้าและอนาคตการ
ทางาน สร้างบรรยากาศและส่งเสริมคุณภาพชีวิตในการทางาน จัดระบบรางวัลและการยกย่องชมเชย
เครื่องมือหนึ่งที่นามาใช้ได้แก่ การจัดการความรู้ โดยใช้เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร โดยใช้หลัก
แสวงหา แลกเปลี่ยน จัดเก็บ และใช้ จากบุคลากรในฝ่ายปฏิบัติการต่างๆ โดยแสวงหาและศึกษาบทเรียน
ความสาเร็จต่างๆ ใช้ระบบจัดเก็บที่เรียกว่า Book Briefing ตลอดจนถ่ายเป็นวีดีโอเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ด้วย
ระบบ E-learning เผยแพร่ให้พนักงานทุกฝ่ายเข้าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดเวลา จัดความเชื่อมโยงกับระบบ
บริหารผลงานการเสริมสร้างแรงจูงใจและเส้นทางความก้าวหน้าอีกด้วย นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้บริษัท
ในเครือใช้ KM ได้อย่างทั่วถึง ที่โดดเด่นแห่งหนึ่ง ได้แก่ บริษัทปูนซิเมนต์ไทยที่แก่งคอย โดยคุณทวีสิน ฉัตร
เฉลิมวิทย์ผู้จัดการการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน ในขณะนั้น ได้ใช้ KM เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน
ด้วยการพัฒนาบุคลากรที่แก่งคอยได้อย่างดีเยี่ยม ปัจจัยความสาเร็จของเครือซิเมนต์ไทยได้แก่ ผู้นาที่มี
นโยบายชัดเจน มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดี มีระบบการให้รางวัล
ผลตอบแทนที่ชัดเจน เป็นระบบ ตลอดจนมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนที่ดี
ลาดับที่ รายชื่อผู้ถือหุ้น จานวนหุ้นสามัญ สัดส่วนการถือหุ้น
1 สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 360,000,000 30.00%
2 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 128,231,197 10.69%
3 CHASE NOMINEES LIMITED 42 47,201,132 3.93%
4 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 34,903,181 2.91%
5 BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES LUXEMBOURG 31,345,736 2.61%
โครงสร้างองค์กร
ธุรกิจในเครือซีเมนต์ไทย
กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง (SCG Building Materials)
ธุรกิจซีเมนต์ถือเป็นธุรกิจแรกของ SCG เกิดขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จากัด ในปี
พ.ศ. 2456 และถือเป็นผู้ผลิตปูนซีเมนต์รายแรกของประเทศไทย แรกเริ่มมีผลิตภัณฑ์ คือ ปูนตราช้าง ปูนตรา
เสือ ปูนตราเสือ 2 ตัว และ ปูนตราเอราวัณ (ในอดีต) เป็นหลัก ในปัจจุบัน SCG Cement ได้มีการขยายธุรกิจ
อย่างต่อเนื่องประกอบกับการวิจัยและพัฒนาทาให้มีผลิตภัณฑ์และบริการออกสู่ท้องตลาดอีกหลากหลาย
อาทิเช่น ปูนซีเมนต์ คอนกรีตผสมเสร็จ ผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ขาว และ วัสดุทนไฟ รวมทั้งให้บริการ
ด้านเทคนิคและการติดตั้งโรงงานแก่ลูกค้าทั้งในและนอก SCG โดยมีบริษัทหลักคือ บริษัทปูนซิเมนต์ไทย
อุตสาหกรรม จากัด และมีธุรกิจปูนซีเมนต์และผลิตภัณฑ์หลังคา กระเบื้องเซรามิก สุขภัณฑ์ ก๊อกน้า บล็อกปู
ถนน ฉนวนกันความร้อน โดยใช้เทคโนโลยีการผลิต การควบคุมคุณภาพ และการออกแบบที่ทันสมัยระดับ
สากล รวมทั้งมีทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญสูง ทาให้ธุรกิจฯ เป็นผู้นาทั้งตลาดในประเทศและภูมิภาคอาเซียน
ทั้งนี้ได้มีการจัดตั้งบริษัทเพื่อดาเนินธุรกิจในหลายประเทศ อาทิ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา ลาว และ
เวียดนาม ขณะเดียวกันธุรกิจฯ ได้ขยายฐานการส่งออกอย่างต่อเนื่อง โดยมีตลาดส่งออกที่สาคัญได้แก่ กลุ่ม
อาเซียน สหรัฐอเมริกา ยุโรป และออสเตรเลีย
กลุ่มธุรกิจจัดจาหน่าย หรือ SCG Distribution
SCG เริ่มเข้าสู่ธุรกิจจัดจาหน่าย ในปี พ.ศ. 2505 ปัจจุบันธุรกิจจัดจาหน่าย ดาเนินธุรกิจการค้า
ภายในประเทศผ่านผู้แทนจาหน่าย การค้าระหว่างประเทศ รวมทั้ง บริการด้านการขนส่ง กระจายสินค้า และ
คลังสินค้า ได้พัฒนาช่องทางการค้าปลีก และมีธุรกิจนาเข้า และส่งออกสินค้าในทุกทวีปทั่วโลกผ่าน บริษัท
เอสซีจี ค้าสากล จากัด หรือ SCG Trading
กลุ่มธุรกิจกระดาษ หรือ SCG Paper
เอสซีจีเข้าสู่ธุรกิจกระดาษ ในปี พ.ศ. 2519 ปัจจุบัน ธุรกิจกระดาษ ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์
กระดาษแบบครบวงจร รายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ประกอบด้วย เยื่อกระดาษ กระดาษพิมพ์เขียน
กระดาษอุตสาหกรรม และบรรจุภัณฑ์ ผลิตสินค้าคุณภาพมาตรฐานโลก เป็นที่ยอมรับของลูกค้าทั้งใน
ประเทศ และต่างประเทศ สามารถดารงความเป็นผู้นาตลาดทั้งในประเทศ และภูมิภาคอาเซียนเพื่อรองรับการ
แข่งขันที่รุนแรง ธุรกิจฯ มุ่งเน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ส่งผลให้มีสินค้าและบริการ ใหม่ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่ม
เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าการปรับปรุงระบบการบริหารงานทั่วทั้งองค์กร ตลอดจนการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดการอย่างต่อเนื่อง ทาให้สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตให้กับประเทศ รวมทั้งเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขัน จนได้รับรางวัลอันทรงเกียรติหลายรางวัล เช่น รางวัล Deming Prize จาก
สมาพันธ์นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) และรางวัล Award for
TPM Excellence จาก Japan Institute of Plant Maintenance
กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี หรือ SCG Chemicals
เอสซีจีเข้าสู่ธุรกิจเคมีภัณฑ์ในปี พ.ศ. 2526 ปัจจุบัน ธุรกิจเคมีภัณฑ์ ผลิตและจาหน่าย เคมีภัณฑ์ครบ
วงจร ตั้งแต่ขั้นต้น ได้แก่ โอเลฟินส์ ขั้นกลาง ได้แก่ สไตรีนโมโนเมอร์ พีทีเอ และเอ็มเอ็มเอ และขั้นปลาย
ได้แก่ เม็ดพลาสติกหลักทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ โพลิเอททีลีน โพลิโพรไพลีน โพลิไวนิลคลอไรด์ และโพลิสไต
รีน โดยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของประเทศ และเป็นผู้ผลิตชั้นนาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกด้วยคุณภาพผลิตภัณฑ์
ความสามารถในการบริหารจัดการ และการดาเนินธุรกิจซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ธุรกิจฯ ประสบ
ความสาเร็จในการร่วมทุนกับบริษัทชั้นนาระดับโลก อาทิ The Dow Chemical ประเทศสหรัฐอเมริกา Mitsui
Chemicals และ Mitsubishi Rayon ประเทศญี่ปุ่นเพื่อรับมือกับการแข่งขันที่สูงขึ้น ตลอดจนการผันผวนของ
ราคา ธุรกิจฯ พัฒนาสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูง และเพิ่มประเภทสินค้าให้หลากหลายยิ่งขึ้นธุรกิจฯ ให้ความสาคัญ
กับการบริหารคุณภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ทาให้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติหลายรางวัล
อาทิ รางวัล Deming Prize จาก สมาพันธ์นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น และรางวัล Prime
Minister's Industry Award for outstanding achievement in environmental conservation
ธุรกิจการลงทุน หรือ SCG Investment
เอสซีจี การลงทุน ดูแลด้านการลงทุนในกิจการต่างๆ ของเอสซีจี ซึ่งบริษัทส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้เป็น
บริษัทร่วมทุนกับบริษัทชั้นนาในต่างประเทศ อาทิ Kubota, Yamato Kogyo, Aisin Takaoka Group, Nippon
Steel, Toyota Motor, Michelin, Hayes Lemmerz International เป็นต้น นอกจากนี้ยังดูแลธุรกิจที่ดิน
อุตสาหกรรมร่วมกับ Hemaraj Development
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวพลอยไพลิน ชัยสิมมา เลขที่ 1
2. นางสาวดลนภา ตะกูลโกศล เลขที่ 2
3. นางสาวสุภัคสร ไขกันหา เลขที่ 3
4. นายวศิน ศรีวิไล เลขที่ 14

More Related Content

What's hot

โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาAom Sinlapawiwat
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)Maii's II
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันพัน พัน
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6nittaya cnp
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการสำเร็จ นางสีคุณ
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายphunbuppha jinawong
 

What's hot (20)

โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
การเขียนสารคดี ขนมจีน (แก้ไขอันใหม่)
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงานผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงาน
 
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการแบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
แบบฟอร์มการเขียนบทความวิชาการ
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่าย
 

บริษัทเครือซีเมนต์ไทย

  • 1. บริษัทเครือซีเมนต์ไทย SCG ประวัติบริษัทเครือซิเมนต์ไทย บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ เครือซิเมนต์ไทย (อังกฤษ: Siam Cement Group ชื่อย่อ: SCG) หรือที่นิยมเรียกว่า "ปูนใหญ่" ปัจจุบันใช้ชื่อเรียกทั้งกลุ่มธุรกิจว่า "เอสซีจี" เริ่มดาเนินการครั้ง แรกเป็นผู้ผลิตปูนซิเมนต์และต่อมาได้มีการขยายกิจการไปสู่ผลิตภัณฑ์อื่นๆอีกมากมาย อาทิเช่น ผลิตภัณฑ์ ก่อสร้าง กระดาษ โลหะ เครื่องจักรกล ปิโตรเคมี ธุจกิจจัดจาหน่าย เป็นต้น มีสานักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประมาณ 30% ที่เหลืออีก 70% ถือหุ้น โดยนักลงทุนทั่วไป และนัก ลงทุนสถาบัน ในปีพุทธศักราช 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้ง บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด ขึ้น ด้วยพระราชประสงค์ที่จะให้ประเทศไทยผลิต ปูนซีเมนต์ใช้เอง ลดการพึ่งพาการนาเข้าจากต่างประเทศ และเพื่อจัดสรรการใช้ทรัพยากรภายในประเทศ อย่างคุ้มค่า บริษัทปูนซิเมนต์ไทย ได้มีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องตลอดมา ตามสถานการณ์ และสภาพแวดล้อม ทางธุรกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป จนเป็น “เครือซิเมนต์ไทย”(SCG) กลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมที่มีประวัติ ยาวนานที่สุด และใหญ่ที่สุดในประเทศไทย 2456-2466 ทศวรรษแรก ของการตั้ง บริษัทปูนซิเมนต์ไทย เป็นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 1 บริษัทฯ เริ่มผลิตปูนซีเมนต์ขึ้นครั้งแรก ที่บางซื่อ กรุงเทพฯ ปูนซีเมนต์ ที่ผลิตได้บางส่วนส่ง ขาย ในประเทศ ใกล้เคียง เริ่มมีการค้นพบแหล่งดินขาวใหม่ นามาสู่การก่อตั้ง โรงงานแห่งที่สอง ในช่วง ต่อมา
  • 2. 2467-2477 ขยายกาลังผลิต โรงงานบางซื่อ โดยตั้งหม้อเผาที่ 3 ทาให้กาลังผลิตรวม เป็นปีละ 108,000 ตัน 2478-2488 ขยายสู่กิจการ ผลิตกระเบื้องมุงหลังคา และเหล็ก ขึ้นเป็นครั้งแรก ในประเทศ ช่วงปลาย ทศวรรษนี้เกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 หม้อเผาปูนซีเมนต์ 2 หม้อที่บางซื่อ ถูกระเบิดทาลาย 2489-2499 โรงงานปูนซีเมนต์ท่าหลวง เริ่มผลิตได้ในปี 2491 รวมทั้ง มีการขยาย สู่กิจการ เหล็กหล่อ รูปพรรณ และคอนกรีตขึ้น เป็นครั้งแรก 2500-2510 ปี 2507 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเฉลิมฉลอง บริษัทปูนซิเมนต์ไทยครบ 50 ปี และทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาให้บริษัทปูนซิเมนต์ไทย เป็นบริษัท ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ปี 2509 โรงงานปูนซีเมนต์ ที่ทุ่งสง จ. นครศรีธรรมราช แล้วเสร็จ และ เริ่มผลิตได้กาลังผลิตขั้นแรก ปีละ 460,000 ตัน 2511-2521 ในปี 2515 ปรับปรุงโครงสร้าง การบริหารงาน เป็นเครือซิเมนต์ไทย และใช้สัญลักษณ์ ใหม่ ร่วมกันคือ ช้างเผือกในรูปหกเหลี่ยม และในทศวรรษนี้ ได้แต่งตั้งคุณบุญมา วงศ์สวรรค์ นับเป็นคนไทย คนแรกที่ดารงตาแหน่งผู้จัดการใหญ่บริษัทฯ 2522-2532 ปี 2524 ตัดสินใจ หยุดการผลิตปูนซีเมนต์ที่โรงงานบางซื่อ เครือซิเมนต์ไทย ขยายธุรกิจ ทั้งต่อเนื่อง และต่างแขนงรวมทั้งร่วมทุนกับบริษัทชั้นนา ในต่างประเทศ อาทิ ธุรกิจปิโตรเคมี กระดาษและ บรรจุภัณฑ์รวมทั้งมีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สมัยใหม่เข้ามาช่วย ในงานด้านต่าง ๆ อย่างมาก 2533-2543 ปี 2535 โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ที่เขาวง จ. สระบุรีเริ่มผลิตซึ่งถือเป็นโรงงาน ที่มีหม้อเผา ที่ใหญ่ที่สุดในโลกเริ่มนาระบบการบริหารคุณภาพงานทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Commitment) มาเป็น นโยบายหนึ่งในการบริหารธุรกิจทาให้บริษัทในเครือฯ จานวนมาก ได้รับการรับรอง และยอมรับในระดับ สากล ช่วงปี 2540-2541 เกิดวิกฤติเศรษฐกิจเครือฯ ปรับโครงสร้าง การบริหารใหม่ เพื่อให้อยู่รอด และ เตรียมพร้อมสาหรับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด และเพื่อรองรับการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงขึ้น ทุกขณะ 2544-2545 ปรับโครงสร้างธุรกิจโดยแบ่งกลุ่มธุรกิจออกเป็น 6 กลุ่มธุรกิจและ 2 บริษัทโฮลดิ้ง นอกจากนี้ยังร่วมตั้งบริการจัดซื้อผ่านอินเตอร์เน็ตที่ใหญ่ที่สุด เพื่อเป็นการปูพื้นฐานสู่การทา พาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์และได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 10 บริษัทชั้นนาของประเทศไทย จาก Far Eastern Economic Review
  • 3. 2546-ปัจจุบัน ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้นาในการดาเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลทั้งระดับประเทศ และระดับสากล อาทิ จาก Reuters ร่วมกับ นิตยสาร Institutional Investor สหรัฐอเมริกา นิตยสาร Finance Asia และ SET Awards 2003นับเป็นสิ่งยืนยันถึงความมุ่งมั่น ดาเนินงานอย่างเปิดเผยโปร่งใสและตรวจสอบ ได้ การบริหารงานองค์กรเครือซีเมนต์ไทย บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ SCG เป็นบริษัทที่ได้รับการยกย่องในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นองค์กรที่มีระบบบริหารจัดการและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างดีเยี่ยม โดยวาง วิสัยทัศน์ว่า จะเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมด้วยบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยอุดมการณ์ 4 ประการ ได้แก่ ตั้งมั่นในความเป็นธรรม เชื่อมั่นในคุณค่าของคน มุ่งมั่นในความเป็นเลิศ ถือมั่นในความ รับผิดชอบต่อสังคม ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใช้ปรัชญาเชื่อมั่นในคุณค่าและศักยภาพของ พนักงาน ให้ทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ด้วยบรรยากาศที่เปี่ยมด้วยพลัง สิ่งเหล่านี้พิสูจน์ได้ด้วยความ เข้มแข็งของบริษัทที่เติบโตมาอย่างยาวนาน ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนได้แก่ เมื่อคราวที่เศรษฐกิจฟองสบู่แตก ยุค ต้มยากุ้ง ขณะที่องค์กรอื่นมีความสับสน โทษกันไปมาเพื่อหาคนผิด เครือปูนซิเมนต์ไทยกลับระดมพลังคน เก่งของตนเพื่อระดมความเห็นในการแก้วิกฤติการณ์ดังกล่าว ทาให้เครือปูนซิเมนต์ไทยกลับมามุ่งเน้นใน ธุรกิจที่ตัวเองชานาญ ได้แก่ ซิเมนต์ เคมีภัณฑ์ กระดาษ ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จัดจาหน่ายและร่วมทุน กรอบ ความคิดในการพัฒนาองค์กร คือการมุ่งสู่องค์กรที่เติบโตอย่างยั่งยืนด้วยความสามารถทางการแข่งขันที่โดด เด่น ด้วยการนาเสนอสินค้าและบริการที่มีคุณค่าสูง การจัดบรรลุเป้ าหมายได้ด้วยการสร้างองค์กรให้เป็น องค์กรแห่งนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการปรับกระบวนทัศน์ สร้างวัฒนธรรมองค์กรใหม่ สนับสนุนด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้เครือซิเมนต์ไทยมีเทคโนโลยีและ ทรัพย์สินทางปัญญาที่เป็นของตนเองให้มากที่สุด ด้วยการวางระบบพัฒนาบุคลากรเพื่อให้แสดงผลงานและ ความสามารถอย่างเต็มที่ ให้พนักงานเข้าใจทิศทางของบริษัท มีเส้นทางความก้าวหน้าและอนาคตการ ทางาน สร้างบรรยากาศและส่งเสริมคุณภาพชีวิตในการทางาน จัดระบบรางวัลและการยกย่องชมเชย เครื่องมือหนึ่งที่นามาใช้ได้แก่ การจัดการความรู้ โดยใช้เพื่อการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร โดยใช้หลัก แสวงหา แลกเปลี่ยน จัดเก็บ และใช้ จากบุคลากรในฝ่ายปฏิบัติการต่างๆ โดยแสวงหาและศึกษาบทเรียน ความสาเร็จต่างๆ ใช้ระบบจัดเก็บที่เรียกว่า Book Briefing ตลอดจนถ่ายเป็นวีดีโอเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ด้วย ระบบ E-learning เผยแพร่ให้พนักงานทุกฝ่ายเข้าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดเวลา จัดความเชื่อมโยงกับระบบ บริหารผลงานการเสริมสร้างแรงจูงใจและเส้นทางความก้าวหน้าอีกด้วย นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้บริษัท ในเครือใช้ KM ได้อย่างทั่วถึง ที่โดดเด่นแห่งหนึ่ง ได้แก่ บริษัทปูนซิเมนต์ไทยที่แก่งคอย โดยคุณทวีสิน ฉัตร เฉลิมวิทย์ผู้จัดการการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน ในขณะนั้น ได้ใช้ KM เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • 4. ด้วยการพัฒนาบุคลากรที่แก่งคอยได้อย่างดีเยี่ยม ปัจจัยความสาเร็จของเครือซิเมนต์ไทยได้แก่ ผู้นาที่มี นโยบายชัดเจน มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดี มีระบบการให้รางวัล ผลตอบแทนที่ชัดเจน เป็นระบบ ตลอดจนมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนที่ดี ลาดับที่ รายชื่อผู้ถือหุ้น จานวนหุ้นสามัญ สัดส่วนการถือหุ้น 1 สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 360,000,000 30.00% 2 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 128,231,197 10.69% 3 CHASE NOMINEES LIMITED 42 47,201,132 3.93% 4 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 34,903,181 2.91% 5 BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES LUXEMBOURG 31,345,736 2.61% โครงสร้างองค์กร
  • 5.
  • 6. ธุรกิจในเครือซีเมนต์ไทย กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง (SCG Building Materials) ธุรกิจซีเมนต์ถือเป็นธุรกิจแรกของ SCG เกิดขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จากัด ในปี พ.ศ. 2456 และถือเป็นผู้ผลิตปูนซีเมนต์รายแรกของประเทศไทย แรกเริ่มมีผลิตภัณฑ์ คือ ปูนตราช้าง ปูนตรา เสือ ปูนตราเสือ 2 ตัว และ ปูนตราเอราวัณ (ในอดีต) เป็นหลัก ในปัจจุบัน SCG Cement ได้มีการขยายธุรกิจ อย่างต่อเนื่องประกอบกับการวิจัยและพัฒนาทาให้มีผลิตภัณฑ์และบริการออกสู่ท้องตลาดอีกหลากหลาย อาทิเช่น ปูนซีเมนต์ คอนกรีตผสมเสร็จ ผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ขาว และ วัสดุทนไฟ รวมทั้งให้บริการ ด้านเทคนิคและการติดตั้งโรงงานแก่ลูกค้าทั้งในและนอก SCG โดยมีบริษัทหลักคือ บริษัทปูนซิเมนต์ไทย อุตสาหกรรม จากัด และมีธุรกิจปูนซีเมนต์และผลิตภัณฑ์หลังคา กระเบื้องเซรามิก สุขภัณฑ์ ก๊อกน้า บล็อกปู ถนน ฉนวนกันความร้อน โดยใช้เทคโนโลยีการผลิต การควบคุมคุณภาพ และการออกแบบที่ทันสมัยระดับ สากล รวมทั้งมีทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญสูง ทาให้ธุรกิจฯ เป็นผู้นาทั้งตลาดในประเทศและภูมิภาคอาเซียน ทั้งนี้ได้มีการจัดตั้งบริษัทเพื่อดาเนินธุรกิจในหลายประเทศ อาทิ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา ลาว และ เวียดนาม ขณะเดียวกันธุรกิจฯ ได้ขยายฐานการส่งออกอย่างต่อเนื่อง โดยมีตลาดส่งออกที่สาคัญได้แก่ กลุ่ม อาเซียน สหรัฐอเมริกา ยุโรป และออสเตรเลีย กลุ่มธุรกิจจัดจาหน่าย หรือ SCG Distribution SCG เริ่มเข้าสู่ธุรกิจจัดจาหน่าย ในปี พ.ศ. 2505 ปัจจุบันธุรกิจจัดจาหน่าย ดาเนินธุรกิจการค้า ภายในประเทศผ่านผู้แทนจาหน่าย การค้าระหว่างประเทศ รวมทั้ง บริการด้านการขนส่ง กระจายสินค้า และ คลังสินค้า ได้พัฒนาช่องทางการค้าปลีก และมีธุรกิจนาเข้า และส่งออกสินค้าในทุกทวีปทั่วโลกผ่าน บริษัท เอสซีจี ค้าสากล จากัด หรือ SCG Trading กลุ่มธุรกิจกระดาษ หรือ SCG Paper เอสซีจีเข้าสู่ธุรกิจกระดาษ ในปี พ.ศ. 2519 ปัจจุบัน ธุรกิจกระดาษ ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ กระดาษแบบครบวงจร รายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ประกอบด้วย เยื่อกระดาษ กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษอุตสาหกรรม และบรรจุภัณฑ์ ผลิตสินค้าคุณภาพมาตรฐานโลก เป็นที่ยอมรับของลูกค้าทั้งใน ประเทศ และต่างประเทศ สามารถดารงความเป็นผู้นาตลาดทั้งในประเทศ และภูมิภาคอาเซียนเพื่อรองรับการ
  • 7. แข่งขันที่รุนแรง ธุรกิจฯ มุ่งเน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ส่งผลให้มีสินค้าและบริการ ใหม่ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่ม เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าการปรับปรุงระบบการบริหารงานทั่วทั้งองค์กร ตลอดจนการเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการอย่างต่อเนื่อง ทาให้สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตให้กับประเทศ รวมทั้งเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน จนได้รับรางวัลอันทรงเกียรติหลายรางวัล เช่น รางวัล Deming Prize จาก สมาพันธ์นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) และรางวัล Award for TPM Excellence จาก Japan Institute of Plant Maintenance กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี หรือ SCG Chemicals เอสซีจีเข้าสู่ธุรกิจเคมีภัณฑ์ในปี พ.ศ. 2526 ปัจจุบัน ธุรกิจเคมีภัณฑ์ ผลิตและจาหน่าย เคมีภัณฑ์ครบ วงจร ตั้งแต่ขั้นต้น ได้แก่ โอเลฟินส์ ขั้นกลาง ได้แก่ สไตรีนโมโนเมอร์ พีทีเอ และเอ็มเอ็มเอ และขั้นปลาย ได้แก่ เม็ดพลาสติกหลักทั้ง 4 ประเภท ได้แก่ โพลิเอททีลีน โพลิโพรไพลีน โพลิไวนิลคลอไรด์ และโพลิสไต รีน โดยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของประเทศ และเป็นผู้ผลิตชั้นนาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกด้วยคุณภาพผลิตภัณฑ์ ความสามารถในการบริหารจัดการ และการดาเนินธุรกิจซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ธุรกิจฯ ประสบ ความสาเร็จในการร่วมทุนกับบริษัทชั้นนาระดับโลก อาทิ The Dow Chemical ประเทศสหรัฐอเมริกา Mitsui Chemicals และ Mitsubishi Rayon ประเทศญี่ปุ่นเพื่อรับมือกับการแข่งขันที่สูงขึ้น ตลอดจนการผันผวนของ ราคา ธุรกิจฯ พัฒนาสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูง และเพิ่มประเภทสินค้าให้หลากหลายยิ่งขึ้นธุรกิจฯ ให้ความสาคัญ กับการบริหารคุณภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ทาให้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติหลายรางวัล อาทิ รางวัล Deming Prize จาก สมาพันธ์นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น และรางวัล Prime Minister's Industry Award for outstanding achievement in environmental conservation ธุรกิจการลงทุน หรือ SCG Investment เอสซีจี การลงทุน ดูแลด้านการลงทุนในกิจการต่างๆ ของเอสซีจี ซึ่งบริษัทส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้เป็น บริษัทร่วมทุนกับบริษัทชั้นนาในต่างประเทศ อาทิ Kubota, Yamato Kogyo, Aisin Takaoka Group, Nippon Steel, Toyota Motor, Michelin, Hayes Lemmerz International เป็นต้น นอกจากนี้ยังดูแลธุรกิจที่ดิน อุตสาหกรรมร่วมกับ Hemaraj Development
  • 8. สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวพลอยไพลิน ชัยสิมมา เลขที่ 1 2. นางสาวดลนภา ตะกูลโกศล เลขที่ 2 3. นางสาวสุภัคสร ไขกันหา เลขที่ 3 4. นายวศิน ศรีวิไล เลขที่ 14