SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
พระนาม
แรกเริ่มแต่ประสูติ ในสมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงดำารงฐานันดรศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าชายทับ จนกระทั่งพระราชชนกได้
อุปราชาภิเษกขึ้นเป็นสมเด็จพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถาน
มงคล หม่อมเจ้าชายทับจึงได้เลื่อนฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าชั้นโท
ออกพระนามว่า พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าชายทับ
เมื่อพระบวรราชชนก กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้เสด็จขึ้นครอง
ราชย์เป็น รัชกาลที่ 2 ใน พ.ศ. 2352 พระองค์เจ้าชายทับ จึงได้เลื่อน
ฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าชั้นเอก ออกพระนามว่า พระเจ้าลูกยา
เธอ พระองค์เจ้าชายทับ จนปี พ.ศ. 2356 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ทรงกรม เป็น พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์
เมื่อกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์เสด็จเถลิงถวัลย์ครองราชสมบัติแล้ว ทรงออก
พระนามเต็ม ตามพระสุพรรณบัฏว่า "พระบาทสมเด็จพระบรม
ราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์
ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศร์ ตรีภูว
เนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวไสย สมุทัยดโรมน สากล
จักรวาลาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทร์ หริหรินทราธาธิบดี ศรีสุ
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เฉลิมพระ
ปรมาภิไธยใหม่ เป็น "พระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ
มหาเจษฎาบดินทร์ สยามินทรวิโรดม บรมธรรมิกมหา
ราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว"
ออกพระนามโดยย่อว่า "พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว"
ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัวมีประกาศให้เฉลิมพระปรมาภิไธย เป็น "พระบาท
สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร์ พระ
นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว" หรือ "พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดี
ที่ 3"
ในปี พ.ศ. 2541 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย
เดชได้ถวายพระราชสมัญญาว่า "พระมหาเจษฎาราชเจ้า"
และได้ใช้เป็นสร้อยพระนามสืบมาจนปัจจุบัน
เหตุการณ์สำาคัญ
การค้าขายกับต่างประเทศและการเก็บอากรต่างๆ
เกิดสุริยุปราคาถึง 5 ครั้ง
พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จสวรรคต ขณะมีพระ
ชนมายุได้ 57 พรรษาครองราชย์ได้ 15 ปี
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์
องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจัดพิธีให้อุปราชาภิเษกพระองค์เจ้าอรุโณทัย
ขึ้นเป็นที่ "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล"
โปรดเกล้าฯ ให้ส่งกองทัพไทยไปช่วยอังกฤษรบพม่า
พ.ศ. 2368 เฮนรี เบอร์นี ขอเข้ามาทำาสัญญาค้าขาย
พ.ศ. 2369 ลงนามในสัญญา เบอร์นี
เจ้าอนุวงศ์เป็นกบฏ โปรดเกล้าฯ ให้กรมพระราชวังบวรฯ เป็น
แม่ทัพใหญ่ยกไปปราบ กำาเนิดวีรกรรม ท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม) และ
โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) แม่ทัพหน้าเป็นเจ้าพระ
ราชสุภาวดี ว่าที่สมุหนายก
พ.ศ. 2370 เริ่มสร้างพระสมุทรเจดีย์
พ.ศ. 2371 ร้อยเอกเจมส์โลว์ จัดพิมพ์หนังสือภาษาไทยเป็นครั้งแรก มิชชัน
นารีอเมริกันเดินทางมาเผยแพร่ศาสนาในเมืองไทย
พ.ศ. 2372 เจ้าพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) จับเจ้าอนุวงศ์ จัดส่งลงมา
กรุงเทพฯ ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็น เจ้าพระยาบดินทรเดชา ที่
สมุหนายก
กำาเนิดสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย
โปรดเกล้าให้ทำาการสังคายนาเป็นภาษาไทย
ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามหลายแห่ง และสร้างวัดใหม่ คือวัดเทพธิดา
ราม วัดราชนัดดา วัดเฉลิมพระเกียรติ และวัดพระเชตุพนฯลฯได้ตั้งโรงเรียน
หลวง (วัดพระเชตุพน) ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อสอนหนังสือไทยแก่เด็กในสมัยนี้
และได้ถือกำาเนิดนิกายธรรมยุติขึ้น โดยพระวชิรญาณเถระ (เจ้าฟ้ามงกุฏ)
ขณะที่ผนวชอยู่ได้ทรงศรัทธาเลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญ ชื่อ ซาย
ฉายา พุทฺธวำโส จึงได้ทรงอุปสมบทใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2372 ได้ตั้งคณะธรรมยุติขึ้น
ในปี พ.ศ. 2376 แล้วเสด็จมาประทับที่วัดบวรนิเวศวิหาร และตั้งเป็นศูนย์กลาง
ของคณะธรรมยุติพ.ศ. 2373พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งให้
เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เป็นว่าที่สมุหกลาโหม
พ.ศ. 2374ทำาการบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ใช้เวลา 16 ปีในการ
สร้าง
เกิดนำ้าท่วมใหญ่ในพระราชอาณาจักร
พ.ศ. 2375 ประธานาธิบดีแจคสัน แห่งสหรัฐอเมริกา ส่งเอ็ดมันต์ โรเบิร์ต เข้า
มาขอเจริญพระราชไมตรีทำาการค้ากับไทย
พ.ศ. 2378 เกิดภาวะเงินฝืดเคือง
พ.ศ. 2380 หมอบรัดเลย์ คิดตัวพิมพ์อักษรไทยขึ้นใหม่ โปรดเกล้าฯ ให้หมอ
หลวงไปหัดปลูกฝีกับหมอบรัดเลย์
พ.ศ. 2381 เกิดกบฏหวันหมาดหลี ที่หัวเมืองไทรบุรี
พ.ศ. 2382 ทรงประกาศห้ามสูบฝิ่น เพื่อส่งเสริมศีลธรรมในบ้านเมือง และ มีการ
เผาฝิ่น และ โรงยา ฝิ่น พร้อม มีการปราบอั้งอั้งยี่ซึ่งค้าฝิ่น เหล่านั้น
พ.ศ. 2385 หมอบรัดเลย์ พิมพ์ปฏิทินภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก
พ.ศ. 2386 เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงขึ้นในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2386 แนวคราส
มืดพาดผ่านภาคใต้ตอนกลาง กรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 82%
พ.ศ. 2389 ญวนขอหย่าทัพกับเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) โปรด
เกล้าฯ ให้สร้างโลหะปราสาทวัดราชนัดดาราม
พ.ศ. 2390 ทรงอภิเษกให้นักองค์ด้วงเป็นพระบาทสมเด็จพระนโรดม หริรักษ์
รามาธิบดีครองกรุงกัมพูชา
พ.ศ. 2391 ญวนขอเจริญพระราชไมตรีดังเดิม กองทัพเจ้าพระยาบดินทรเดชา
(สิงห์ สิงหเสนี) กลับกรุงเทพฯ
พ.ศ. 2392 กองทัพเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และ เจ้าพระยาพระ
คลัง(ดิศ บุนนาค) ปราบอั้งยี่ ที่ ฉะเชิงเทรา
เกิดอหิวาตกโรคระบาด มีคนตายมากกว่า 30,000 คน ซึ่งรวมถึง เจ้าพระยา
พระราชกรณียกิจ
ด้านความมั่นคง
พระองค์ได้ทรงป้องกันราชอาณาจักรด้วยการส่งกองทัพไปสกัดทัพของเจ้าอนุวงศ์
แห่งเวียงจันทน์ไม่ให้ยกทัพเข้ามาถึงชานพระนครและขัดขวางไม่ให้เวียงจันทน์เข้า
ครอบครองหัวเมืองอีสานของสยาม นอกจากนี้พระองค์ทรงประสบความสำาเร็จใน
การทำาให้สยามกับญวนยุติการสู้รบระหว่างกันเกี่ยวกับเรื่องเขมรโดยที่สยามไม่ได้
เสียเปรียบญวนแต่อย่างใด
ด้านการคมนาคม
ในรัชสมัยของพระองค์ใช้ทางนำ้าเป็นสำาคัญ ทั้งในการสงครามและการ
ค้าขาย คลองจึงมีความสำาคัญมากในการย่นระยะทางจากเมืองหนึ่งไปอีกเมืองหนึ่ง
จึงโปรดฯให้มีการขุดคลองขึ้น เช่น คลองบางขุนเทียน คลองบางขนาก และ คลอง
หมาหอน
ด้านการทำานุบำารุงพระพุทธศาสนา
พระองค์ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก และได้ทรงสร้างพระพุทธรูปมากมาย
เช่น พระประธานในอุโบสถวัดสุทัศน์ วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดปรินายกและวัด
นางนอง ทรงสร้างวัดใหม่ขึ้น 3 วัด คือ วัดบวรนิเวศวิหาร วัดเทพธิดารามและวัดราช
นัดดาราม ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ วัดเก่าอีก 35 วัด เช่นวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่ง
สร้างมาแต่รัชกาลที่ 1 วัดอรุณราชวราราม วัดราชโอรสาราม เป็นต้น
ด้านการศึกษา
ทรงทำานุบำารุง และ สนับสนุนการศึกษา โปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงวงศาธิราช
ด้านความเป็นอยู่
พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ดูแลทุกข์สุขของราษฎร ด้วยมีพระบรมราชวินิจฉัยว่า
ไม่ทรงสามารถจะบำาบัดทุกข์ให้ราษฎรได้ หากไม่เสด็จออกนอกพระราชวัง เพราะ
ราษฎรจะร้องถวายฏกาได้ต่อเมื่อพระคลังเวลาเสด็จออกนอกพระราชวังเท่านั้น
จึงโปรดให้นำากลองวินิจฉัยเภรีออกตั้ง ณ ทิมดาบกรมวังในพระบรมมหาราช
วัง เพื่อราษฎรผู้มีทุกข์จะได้ตีกลองร้องถวายฎีกาไปทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
เพื่อให้มีการชำาระความกันต่อไป โดยพระองค์จะคอยซักถามอยู่เนื่องๆ ทำาให้
ตุลาการ ผู้ทำาการพิพากษาไม่อาจพลิกแพลงคดีเป็นอื่นได้
ในรัชสมัยของพระองค์ได้มีศาสนาจารย์และนายแพทย์ชาวอเมริกันและอังกฤษ
เดินทางเข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนาเพิ่มมากขึ้น หนึ่งในจำานวนนี้คือศาสนาจารย์
แดน บีช บรัดเลย์ เอ็ม.ดี. หรือที่คนไทยรู้จักกันดีในนามของ หมอบรัดเลย์ ได้เป็น
ผู้ริเริ่มให้มีการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ และการฉีดวัคซีนป้องกันอหิวาตกโรคและ
การทำาผ่าตัดขึ้นเป็นครั้งแรกในกรุงรัตนโกสินทร์ นอกจากนี้หมอบรัดเลย์ยังได้คิด
ตัวพิมพ์อักษรไทยขึ้น (ปี พ.ศ. 2379) ทำาให้มีการพิมพ์หนังสือภาษาไทยเป็นครั้ง
แรกโดยพิมพ์คำาสอนศาสนาคริสต์เป็นภาษาไทย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.
2379 ต่อมาปี พ.ศ. 2385 หมอบรัดเลย์พิมพ์ปฏิทินภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก
ในด้านการหนังสือพิมพ์ฉบับแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 หมอบรัดเลย์ได้ออก
หนังสือพิมพ์แถลงข่าวรายปักษ์เป็นภาษาไทย ชื่อ บางกอกรีคอร์เดอร์(Bangkok
Recorder) มีเรื่องสารคดี ข่าวราชการ ข่าวการค้า ข่าวเบ็ดเตล็ด ฉบับแรกออกเมื่อ
วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2387
ด้านการค้ากับต่างประเทศ
พระองค์ทรงสนับสนุนส่งเสริมการค้าขายกับต่างประเทศ ทั้งกับชาว
เอเชียและชาวยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้ากับจีนมาตั้งแต่เมื่อครั้ง
พระองค์ทรงดำารงพระอิสสริยศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ส่งผลให้
พระคลังสินค้ามีรายได้เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ มีการแต่งสำาเภาทั้งของ
ราชการ เจ้านาย ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ และพ่อค้าชาวจีนไปค้าขายยัง
เมืองจีนและประเทศใกล้เคียง รวมถึงการเปิดค้าขายกับมหาอำานาจจะ
วันตกจนมีการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างกันคือ สนธิสัญญาเบอร์
นี พ.ศ. 2369 และ 6 ปีต่อมาก็ได้เปิดสัมพันธไมตรีกับสหรัฐอเมริกาและ
มีการทำาสนธิสัญญาต่อกันใน พ.ศ. 2375 นับเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่
สหรัฐอเมริกาทำากับประเทศทางตะวันออก ส่งผลให้ไทยได้ผล
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างมาก
ด้านศิลปกรรม
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสงขรณ์
พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามจนแล้วเสร็จ และทรงมีรับสั่งให้สร้าง
เรือสำาเภาก่อด้วยอิฐในวัดยานนาวา เพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่าเรือ
สำาเภานั้นมีรูปร่างลักษณะอย่างไร เพราะทรงเล็งเห็นว่าภายหน้าจะ
ขณะทรงพระเยาว์
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็น
พระโอรสของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับ
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 3
คำ่า เดือน 11 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 ณ เมืองไฮเดลแบร์
ก สาธารณรัฐไวมาร์ (ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี) ขณะที่สมเด็จพระราชบิดา
ทรงศึกษาการแพทย์ที่ประเทศเยอรมัน โดยได้รับพระราชทานพระนามจาก
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า หม่อมเจ้าอานันทมหิดล
มหิดล หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้น
เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล  สมเด็จพระศรีนครินทราบ
รมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำาลองว่า นันท 
เมื่อทรงพระเยาว์ได้ตามเสด็จสมเด็จพระราชบิดาและสมเด็จพระราชชนนีไปยัง
ประเทศต่าง ๆ ได้แก่ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และ
สหรัฐอเมริกา ซึ่งสมเด็จพระราชบิดาทรงเข้าศึกษาวิชาแพทย์ ณ มหาวิทยาลัย
ฮาวาร์ด สหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี พ.ศ. 2469 - 2471 แล้วจึงเสด็จกลับ
ประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อพระชนมายุได้ 3 พรรษา ประทับ ณ วังสระ
ปทุม ในระหว่างนั้นสมเด็จพระราชบิดาทรงพระประชวรและสิ้นพระชนม์ ดังนั้น
พระองค์จึงอยู่ในความดูแลของสมเด็จพระราชชนนีเพียงพระองค์เดียว 
พระองค์ทรงเริ่มการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอี และเข้าศึกษาต่อที่
การขึ้นทรงราชย์
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเมื่อยังทรงพระเยาว์
วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราช
สมบัติ และมิได้ทรงสมมติเจ้านายพระองค์ใดพระองค์หนึ่งเป็นรัชทายาท ดังนั้น
คณะรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรจึงได้อัญเชิญเสด็จพระวรวงศ์
เธอ พระองค์เจ้าอานันมหิดลซึ่งเป็นเจ้านายเชื้อพระบรมวงศ์พระองค์ที่ 1 ในลำาดับ
พระราชสันตติวงศ์แห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467 
ขึ้นทรงราชย์สืบพระราชสันตติวงศ์ต่อไป ตั้งแต่วันที่ 2   มีนาคม พ.ศ. 2477 โดยได้
รับการเฉลิมพระนามเมื่อวันที่ 25   มีนาคม พ.ศ. 2477 ว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอา
นันทมหิดล
ในขณะนั้นพระองค์มีพระชนมายุ 8 พรรษา และยังคงประทับอยู่ ณ ประเทศสวิต
เซอร์แลนด์ จึงต้องมีผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์เพื่อบริหารราชการแผ่นดินแทน
จนกว่าจะทรงบรรลุนิติภาวะ ได้แก่พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ พระ
วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478 พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์
สิ้นพระชนม์ สภาผู้แทนราษฎรจึงได้แต่งตั้งให้นายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทร
โยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) เป็นผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์และเมื่อเจ้าพระยายมราช
(ปั้น สุขุม) ถึงแก่อสัญญกรรม จึงมีการแต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์เป็นผู้สำาเร็จ
ราชการแทนพระองค์แทนหลังจากนั้น เมื่อเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทร
โยธิน) ถึงแก่อสัญญกรรม รวมทั้ง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
การเสด็จนิวัติพระนคร
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล สมเด็จพระราชชนนี และพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
รัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติ
พระนคร เมื่อปลายปีพ.ศ. 2477 เพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่เนื่องจาก
พระพลานามัยของพระองค์ไม่สมบูรณ์จึงได้เลื่อนกำาหนดออกไปก่อน และได้กราบ
บังคมทูลอัญเชิญเสด็จฯ อีกครั้งในปี พ.ศ. 2478 แต่ก็ทรงติดขัดเรื่องพระพลานามัย
อีกเช่นกัน หลังจากนั้น รัฐบาลได้ส่งพลโท พระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกรไปเข้าเฝ้าสมเด็จ
พระราชชนนีที่โลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อานันทมหิดลเสด็จนิวัติพระนครอีกครั้งในปี พ.ศ. 2479 อย่างไรก็ตาม ในระหว่าง
เตรียมการเสด็จนิวัติพระนครนั้น ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลใหม่ คณะรัฐบาลใหม่
จึงขอเลื่อนการรับเสด็จออกไปอย่างไม่มีกำาหนด
หลังจากนั้น รัฐบาลได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จนิวัติพระนครอีกครั้ง ในครั้งนี้
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พร้อมด้วยสมเด็จพระราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่
นางเธอ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เสด็จพระราชดำาเนินจากเมืองโลซานที่ประทับ
โดยทางรถไฟมายังเมืองมาเชลล์ เพื่อประทับเรือเมโอเนีย ในการเสด็จ
พระราชดำาเนินกลับสู่ประเทศไทย และเมื่อวันที่ 15   พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 เรือ
พระที่นั่งได้เทียบจอดทอดสมอที่เกาะสีชัง รัฐบาลได้จัดเรือหลวงศรีอยุธยาออกไปรับ
เสด็จมายังจังหวัดสมุทรปราการ ณ ที่นั้น สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระ
พันวัสสาอัยยิกาเจ้า ได้เสด็จไปคอยรับพระราชนัดดาและพระสุนิสาด้วย ซึ่งนับ
เป็นการเสด็จนิวัติประเทศไทยเป็นครั้งแรกหลังจากเสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหา
การศึกษา
ในการเสด็จนิวัติพระนครในครั้งที่ 2 พระองค์ทรงได้ประกอบ
พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ โดย
เสด็จพระราชดำาเนินทอดพระเนตรกิจการของ
หอสมุดแห่งชาติ รวมทั้ง เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเยี่ยม
สถานศึกษาหลายแห่ง เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียน
เทพศิรินทร์ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ทรงศึกษาขณะทรงพระเยาว์
นอกจากนี้ พระองค์ยังได้เสด็จพระราชดำาเนินพระราชทาน
ปริญญาบัตรเป็นครั้งแรกของพระองค์ ณ หอประชุม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 13 เมษายน  พ.ศ. 2489 และ
อีกครั้งที่ หอประชุมราชแพทยาลัย ศิริราช
พยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์  เมื่อวันที่ 23
เมษายน พ.ศ. 2489 โดยในการพระราชทานปริญญาบัตรครั้งนี้
มีพระราชปรารภให้มีการผลิตแพทย์เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เพียง
พอที่จะช่วยเหลือประชาชน โรงเรียนแพทย์แห่งที่ 2 จึงได้ถือ
การปกครอง
พระองค์ได้เสด็จพระราชดำาเนินไปในพระราชพิธี
พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 9
พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และเปิดประชุมสภาผู้แทนในวันที่ 1
มิถุนายน พ.ศ. 2489 นอกจากนี้ ยังเสด็จพระราชดำาเนิน
ทรงเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่าง ๆ และทรงเยี่ยมชาวไทย
เชื้อสายจีนเป็นครั้งแรก ณ สำาเพ็งพระนคร พร้อม
ด้วย สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลย
เดช เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ซึ่งเป็นช่วงที่เกิด
ความขัดแย้งกันระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน
จนเกือบเกิดสงครามกลางเมือง เมื่อพระองค์ทรงทราบ
เรื่อง มีพระราชดำาริว่า หากปล่อยความขุ่นข้องบาดหมาง
ไว้เช่นนี้ จะเป็นผลร้ายตลอดไป จึงทรงตัดสินพระทัย
การสวรรคต
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงตั้งพระทัยจะทรงศึกษา
ปริญญาเอก สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยโลซาน ที่ประเทศ
สวิสเซอร์แลนด์จนเรียบร้อยแล้วจึงจะเสด็จนิวัติพระนครเป็นการ
ถาวรและทรงเข้ารับการบรมราชาภิเษกในภายหลัง แต่พระองค์ได้
เสด็จสวรรคตเสียก่อนในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489เวลาประมาณ 9
นาฬิกา ด้วยสาเหตุทรงต้องพระแสงปืน ณ ห้องพระบรรทม พระที่นั่ง
บรมพิมานภายในพระบรมมหาราชวัง ก่อนกำาหนดการเสด็จ
พระราชดำาเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์เพียง 4 วัน
หลังจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต ได้อัญเชิญ
พระบรมศพมาประดิษฐาน ณพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรม
มหาราชวัง และจัดให้มีพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพใน
ระหว่างวันที่ 28-29 มีนาคม พ.ศ. 2493 ณ พระเมรุมาศ ท้องสนาม
หลวง วันรุ่งขึ้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จ
พระราชดำาเนินเก็บพระบรมอัฐิ และอัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิ
ประดิษฐานที่บุษบงเหนือพระแท่นแว่นฟ้าทองภายในพระที่นั่งดุสิต
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระ
ปรมานุชิตชิโนรส
            สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงเป็นพระ
โอรสองค์ที่ ๒๘ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑ )
อันเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี พระมารดา คือ เจ้าจอมมารดาจุ้ย พระ
สนมโท ต่อมาได้เลื่อนเป็น “ท้าวทรงกันดาล” เป็น ตำาแหน่งผู้รักษาการคลัง
ใน เป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัย ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ ๓ ) ทรงประสูติเมื่อ วันเสาร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๕ คำ่า ปีจอ จุลศักราช
๑๑๕๒ ตรงกับวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๓๓ และมีพระนามเดิมว่า
พระองค์เจ้าชาย วาสุกรี
            สำาหรับพระราชบิดาของพระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้าจุฬาโลก นั้น ทรงมีพระนามเดิมว่า ทองด้วง ประสูติที่กรุงศรีอยุธยา
เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๒๗๙ ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อ
ทรงเจริญพระชันษาได้เข้ารับราชการ ทรงเป็นกำาลังสำาคัญของสมเด็จ
พระเจ้ากรุงธนบุรีในการกู้บ้านเมือง จนได้เลื่อนยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยา
มหากษัตริย์ศึก และต่อมาได้ทรงสถาปนาพระราชวงศ์ขึ้นใหม่และตั้ง
ราชธานีขึ้นที่กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ.๒๓๒๕ นับเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์
จักรี ทรงครองราชย์เป็นเวลา ๒๗ ปี และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๗
กันยายน พ.ศ.๒๓๕๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกนี้นอกจาก
จะทรงเป็นนักรบที่เก่งกล้าสามารถ แล้ว ยังทรงเป็นกวีและนักปราชญ์อีก
ด้วย
   สงฆ์วัดพระเชตุพนฯ ผู้เป็นนักปราชญ์ลำ้าลึกและมั่นคงเคร่งครัดในพระธรรมวินัย สมเด็จ
   พระพนรัตน์องค์นี้เกิดในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กรุงศรีอยุธยา เคยเป็นพระ
 ราชาคณะที่พระธรรมเจดีย์ในสมัยกรุงธนบุรี ได้รับมอบหมายให้ไปจัดการสังฆมณฑลฝ่าย
     เหนือที่พิษณุโลก และได้เลื่อนเป็นที่พระพิมลธรรม แต่ต้องโทษในปลายรัชกาล เนื่องจาก
       ยึดมั่นในพระธรรมวินัย ไม่โอนอ่อนผ่อนตามพระเจ้ากรุงธนบุรี ต่อมาในรัชกาลที่ ๑ แห่ง
     กรุงรัตนโกสินทร์ ได้โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนตำาแหน่งขึ้นเป็นสมเด็จพระพนรัตน์ ครองวัด
   พระเชตุพนฯ และได้เป็นพระอาจารย์ของสามเณรพระองค์เจ้าวาสุกรี ได้ถ่ายทอดพระ
         ธรรมวินัยและความรู้ทางด้านภาษาไทย และภาษามคธ บาลี โบราณคดี โหราศาสตร์ และ
     เวทมนตร์ ตลอดทั้งวิธีลงเลขยันต์ต่างๆ สมเด็จพระพนรัตน์องค์นี้เป็นผู้อ่านประกาศเทวดา
   และเป็นแม่กองชำาระพระอภิธรรมปิฎกในรัชกาลที่ ๑ นอกจากนี้ได้นิพนธ์หนังสือภาษา
     บาลีไว้หลายเรื่อง และมีชื่อเสียงโด่งดังในการเทศน์มหาชาติ กัณฑ์ “นครกัณฑ์” ซึ่ง
   บรรดาลูกศิษย์ของท่านก็ได้สืบทอดกันต่อๆ มาหลายรัชกาล
            สามเณรพระองค์วาสกรีได้ทรงศึกษาอย่างใกล้ชิดกับพระอาจารย์ ทรงได้รับการ
ถ่ายทอดวิทยาการไว้ทั้งหมด รวมทั้งได้รับมอบตำารับตำาราพิชัยสงคราม โหราศาสตร์
เวทมนตร์ และพระธรรมวินัยไว้ด้วยจึงทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญแตกฉาน นับได้ว่าเป็นนัก
ปราชญ์ที่ลำ้าลึกของยุคต้นรัตนโกสินทร์
            ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ได้ทรงโปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ และได้มีการเชิญ
อัฐิของสมเด็จพระพนรัตน์มาบรรจุไว้ในสถูปในบริเวณตำาหนักของ สมเด็จพระปรมานุชิต
ชิโนรส มีโคลงจารึกเป็นเกียรติไว้ว่า
             สถูปเสถียรธาตุไท้            ธิบดี สงฆ์แฮ
             วันรัตน์เจ้าจอมชี            ชื่ออ้าง
             ปรากฏเกียรติมุนี            เสนอโลกย ไว้เอย
             องค์อดิศวรสร้าง            สืบหล้าแหล่งเฉลิม
ผนวชเป็นสามเณร
              เมื่อปี พ.ศ.        ๒๓๔๕ ในรัชกาลที่ ๑ กรมพระราชวังหลัง (เจ้าฟ้ากรม
     พระอนุรักษ์เทเวศร์พระเจ้าหลานเธอ ในรัชกาลที่ ๑ ) ได้เสด็จออกผนวช
           เป็นพระภิกษุ เมื่อวันขึ้น ๘ คำ่า เดือน ๘ ได้มีเจ้านายตามเสด็จออกผนวชเป็น
         สามเณร เป็นหางนาคหลวง ๒ พระองค์ คือ พระองค์เจ้าชายวาสุกรีกับ
 พระองค์เจ้าชายฉัตร (กรมหมื่นสุรินทรรักษ์)
           พระเชตุพนฯ จนสิ้นรัชกาลที่ ๑ ขณะนั้นพระชนม์ได้ ๑๙ พรรษา ก็ไม่ทรง
   สึก เนื่องจากอายุยังไม่ครบผนวชเป็นพระภิกษุจึงทรงเป็นสามเณรต่อไป
 จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (    รัชกาลที่ ๒ ) จึงได้
 ทรงผนวชเป็นพระภิกษุเมื่อปีมะแม พ.ศ.    ๒๓๕๔ สมเด็จพระสังฆราช (สุก)
     เป็นพระอุปัชฌาย์ และสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพนฯ เป็นพระกรรมวา
   จาจารย์ ทรงได้รับพระสมณฉายาว่า “สุวัณณรังษี”เป็นพระราชาคณะและ
อธิบดีสงฆ์
            พระองค์เจ้าพระ “สุวัณณรังษี” ทรง ผนวชอยู่ได้ ๓ พรรษา
สมเด็จพระพนรัตน์อธิบดีสงฆ์วัดพระเชตุพนฯ ก็ถึงแก่มรณภาพ เมื่อ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒ ) เสด็จ
พระราชดำาเนินไปถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดพระเชตุพนฯ พระองค์โปรดแต่ง
ตั้งให้พระองค์เจ้าพระ “สุวัณณรังษี” เป็นพระราชาคณะและอธิบดีสงฆ์ วัด
พระเชตุพนฯ
 พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (    รัชกาลที่ ๒ )  เป็น “  กรมหมื่นนุชิตชิโนรส ศรีสุคต
ขัติยวงศ์” และดำารงพระยศนี้อยู่จนสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
 เจ้าอยู่หัว (    รัชกาลที่ ๓ )
            เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔ ) เสด็จ
ขึ้นเสวยราชสมบัติแล้ว ทรงมีพระบรมราชโอการประกาศเลื่อน”กรมหมื่นนุ
ชิตชิโนรส ศรีสุคตขัติวงศ์” ให้ดำารงตำาแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ณ วัน
ศุกร์ ขึ้น ๔ คำ่า เดือน ๙ ปีกุน จุลศักราช ๑๒๑๓ (พ.ศ.๒๓๙๔) และได้
เลื่อนเป็น
            “กรม สมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ศรีสุคตขัติยวงศ์ บรมพงศาธิ
บดี จักรีบรมนาถ ปฐมพันธุมหาราชวรังกูร ปรเมนทรนเรนทรสูรสัมมานาภิ
สักกาโรดมสถาน อริยสมศีลาจารพิเศษมหาวิมล มงคลธรรมเจดีย์ยุตมุต
วาที สุวีรมนุญ อดุลยคุณคุณาธาร มโหฬารเมตตยาภิธยาศรัย ไตรปิฎก
กลาโกศล เบญจปดลเศวตฉัตร สิริรัตโนปลักษณ มหาสมนุตตมาภิเศกาภิสิ
ต ปรมุกฤษฐสมณศักดิ์ธำารง มหาสงฆปริณายก พุทธสาสนดิลกโลกุตตม
มหาบัณฑิต สุนทรวิจิตรปฎิภาณ ไวยัติญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนตรัย
คุณารักษ์ เอกอรรคมหาอนาคาริยรัตน์ สยามาทิโลกยปฎิพันธ พุทธบริษัท
เนตร สมณคณินทราธิเบศร์ สกลพุทธจักโรปการกิจ สฤษดิศุภการ มหาปา
โมกขประธานวโรดม บรมนาถบพิตร”
              ในปี พ.ศ.  ๒๕๓๒ องค์การยูเนสโกได้มีมติรับข้อเสนอของคณะผู้
       แทนไทยในการประชุมสมัยสามัญครั้ง ที่ ๒๕ ที่สำานักงานใหญ่ในกรุงปารีส
   ประเทศฝรั่งเศส ประกาศยกย่องสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุ
   ชิตชิโนรส เป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมระดับโลก
            องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยู
เนสโก) ได้ประกาศรายชื่อบุคคลสำาคัญผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม
ระดับโลก ประจำาปีพุทธศักราช ๒๕๓๓ - ๒๕๓๔ และถวายพระเกียรติคุณ
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในฐานะ ปูชนียบุคคล
สำาคัญผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมระดับโลกประจำาปีพุทธศักราช
๒๕๓๓ ตามมติที่ประชุมสมัยสามัญ ครั้งที่ ๒๕ ณ สำานักงานใหญ่ยูเนสโก
กรุงปารีสประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ ๑๗ ตุลาคม – ๑๖ พฤศจิกายน
๒๕๓๒ และชักชวนให้ประเทศสมาชิกร่วมจัดกิจกรรมฉลองเนื่องในวัน
คล้ายวันประสูติครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๓๓
ผลงานด้านวรรณกรรม
                สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ได้ทรงพระ
   นิพนธ์หนังสือต่างๆ ไว้เป็นจำานวนมากทั้งบทร้อยกรองและร้อยแก้ว สมพระ
 เกียรติที่เป็น “รัตนกวี”     ของชาติ วรรณกรรมของพระองค์ นับว่าเป็นสมบัติ
     ที่ประมาณค่ามิได้ พระนิพนธ์ต่างๆ มีดังนี้
โคลง
(๑) โคลงดั้นเรื่องปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ
(๒) ลิลิตกระบวนแห่พระกฐินพยุหยาตราทางสถลมารคและชลมารค
(๓) ลิลิตตะเลงพ่าย
(๔) โคลงภาพฤาษีดัดตน
(๕) โคลงภาพคนต่างภาษา
(๖) โคลงกลบท
(๗) โคลงบาทกุญชร และวิวิธมาลี
(๘) โคลงจารึกศาลาหน้าพระมหาเจดีย์ ๒ หลัง
(๙) โคลงจารึกศาลาราย ๑๖ หลัง
(๑๐) ร่ายและโคลงบานแพนก
ฉันท์
(๑)           กฤษณาสอนน้องคำาฉันท์
(๒)    สมุทรโฆษคำาฉันท์ ตอนปลาย
(๓)  ตำาราฉันท์มาตรพฤติและวรรณพฤติ
(๔) สรรพสิทธิคำาฉันท์
(๕) ฉันท์สังเวยกล่อมวินิจฉัยเภรี
(๖) จักรทีปนีตำาราโหราศาสตร์
(๗) ฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างพัง
ร่ายยาว
(๑) มหาเวสสันดรชาดก (เว้นกัณฑ์ชูชกและมหาพน)
(๒) ปฐมสมโพธิกถา
(๓) ทำาขวัญนาคหลวง
(๔) ประกาศบรมราชาภิเศก รัชกาลที่ ๔
กลอน
(๑) เพลงยาวเจ้าพระความเรียง
(๑) พระธรรมเทศนาพระราชพงศาวดารสังเขป
(๒) พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับความสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
 เล่ม ๑–๒
ภาษาบาลี
(๑) ปฐมสมโพธิกถาฉบับภาษาบาลี มีต้นฉบับอยู่ในหอสมุดแห่งชาติ เป็นพระคัมภีร์
ใบลานจำานวน ๓๐ ผูก ผูกละประมาณ ๒๔ หน้า เมื่อปริวรรตเป็นอักษรไทยและแปลออก
มาแล้วจะเป็นหนังสือหนาประมาณ ๒,๑๖๐ หน้า หรือประมาณ ๒๗๐ ยก ซึ่งเป็นหนังสือ
           ชนมายุอยู่ในรัชกาลที่ ๔ เพียง ๒ พรรษา ก็ประชวรด้วยพระโรคชรา และ
               สิ้นพระชนม์เมื่อวันศุกร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๙ คำ่า ปีฉลู เบญจศก จุลศักราช
             ๑๒๑๕ เวลาบ่าย ๓ โมง ตรงกับวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.  ๒๓๙๖ สิริรวมพระ
     ชนมายุได้ ๖๔ พรรษา
            เมื่อพระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวงแล้ว
รัชกาลที่ ๔ โปรดให้มีตำาแหน่งพระครูฐานานุกรม ประจำาสำาหรับรักษา
พระอัฐิ ถึงเวลาเข้าพรรษาก็เสด็จพระราชดำาเนินไปถวายพุ่มบูชาพระอัฐิทุก
ปี และถึงวันเสด็จพระราชดำาเนินถวายผ้าพระกฐิน วัดพระเชตุพนฯ ก็โปรด
ให้อัญเชิญพระอัฐิไปประดิษฐานในอุโบสถ ทรงสักการบูชาแล้วทอดผ้า
ไตร ให้พระฐานานุกรมสดับปกรณ์พระอัฐิเป็นประเพณีตลอดมาตั้งแต่
รัชกาลที่ ๔ จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ในรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกาศสถาปนากรมสมเด็จพระปรมานุ ชิต
ชิโนรสขึ้นเป็น “สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส” เมื่อ
วันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔
สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ  กรม
พระยาเทววงศ์วโรปการ
                                                      
      
สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ  กรมพระยาเทวะวงศ์วโร
ปการ   ทรงพระนามเดิมว่า  พระองค์เทวัญอุไท
วงศ์  ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  และเจ้าจอมมารดาเปี่ยม 
ประสูติในพระบรมมหาราชวังเมื่อวันเสาร์ที่ 27
พฤศจิกายน พ.ศ. 2401
          สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโร
ปการ  ทรงมีพระปรีชาเฉลียวฉลาดและ
รอบรู้มาตั้งแต่ทรงพระเยาว์  เมื่อพระบาท
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  โปรดเกล้า
ฯ ให้ตั้งโรงเรียนภาษาอังกฤษขึ้นใน
พระบรมมหาราชวัง  สมเด็จ ฯ กรมพระยา
เทวะวงศ์วโรปการก็ได้ทรงเข้าเป็น
นักเรียนในชั้นแรก
          ต่อมาทรงเข้ารับราชการแผ่นดิน  ทรง
มีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนราชการสำาคัญ ๆ ของ
ประเทศมากมาย
          พระ บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
หัว  และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่
หัว  ทรงไว้วางพระราชหฤทัยให้สมเด็จ ฯ  กรม
พระยาเทวะวงศ์วโรปการ  ทรงมีหน้าที่รับ
ราชการเกี่ยวเนื่องในการต่างประเทศ  เพราะ
เหตุว่าทรงมีคุณวุฒิเหมาะสมแก่การนี้มาตั้งแต่
ทรงรับราชการแผ่นดิน
สมเด็จ ฯ พระยาเทวะวงศ์  ทรงริเริ่มก่อ
ตั้งที่ทำาการกระทรวงการต่างประเทศ 
โดยทรงขอพระราชทานพระราชวัง
สราญรมย์จากพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว  ให้ยืมใช้เป็น
ที่ทำาการของกระทรวง
ตั้งแต่แรกที่ทรงดำารง ตำาแหน่ง
เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ 
เมื่อ พ.ศ. 2428 นับเป็นกระทรวง
แรกที่มีสำานักงานแยกออกมาต่าง
หาก  ซึ่งแต่เดิมเสนาบดีเจ้ากระทรวง
จะบัญชาราชการที่บ้านของเสนาบดี
นั้น
          ใน ระหว่างที่ดำารงตำาแหน่ง
เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศตั้งแต่
พ.ศ. 2428 - 2466 ได้เป็นปรากฏชัดว่า 
สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์ ฯ ทรงพระ
ปรีชาสามารถดำาเนินนโยบายต่างประเทศ
และการทูต  นำาประเทศชาติให้พ้นภัย
พิบัติในยามคับขันได้  ทั้งได้ประทาน
รากฐานในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างยิ่ง 
ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางกระทรวงการต่างประเทศ
ได้ยึดถือเป็นแบบฉบับมาจนทุกวันนี้
นอก จากทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการใน
ด้านการต่างประเทศแล้ว  สมเด็จ ฯ
กรมพระยาเทวะวงศ์ ฯ  ยังทรงรับ
ราชการตำาแหน่งพิเศษ  ซึ่งทรงได้รับ
พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ทรงทำา
เฉพาะพระองค์อีกหลายอย่าง  เช่น 
เป็นผู้รักษาพระนครในเวลาที่พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ได้ทรงประทับ
อยู่ ในพระนคร
          ทรงเป็นนายกสภาการคลัง 
ทั้งเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดินและ
ราชการในพระองค์อยู่เสมอ  รวม
ความว่าสมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์
ฯ ได้ทรงดำารงตำาแหน่งเสนาบดี
กระทรวงการต่างประเทศสืบเนื่องมา
38 ปี  ทรงรับราชการประจำาตำาแหน่ง
สองพระเดชพระคุณสืบเนื่องมาใน 2
รัชการ  นานถึง 49 ปี
สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์ ฯ  ทรง
พระอุตสาหะรับราชการเรื่อยมาจน
กระทั่งสิ้นพระชนม์   เมื่อวันที่ 28
มิถุนายน พ.ศง 2466 รวมพระชนมายุ
ได้ 66 พรรษา
นับได้ว่า  สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะ
วงศ์ ฯ  ได้ทรงประกอบกิจการอัน
เป็นคุณประโยชน์แก่การต่าง
ประเทศและประเทศชาติเป็น อเนก
อนันต์
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ราชวรมหาวิหาร
มังคลาราม ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวง
ชั้นเอกและเป็นวัดประจำารัชกาลที่ ๑ แห่งราชวงศ์
จักรี เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา
โลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้
สถาปนาวัดโพธารามวัดเก่าที่เมืองบางกอกครั้งกรุง
ศรีอยุธยาเป็นวัดหลวงข้างพระบรมมหาราชวัง และที่
ใต้พระแท่นประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร พระ
ประธานในพระอุโบสถเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ
พระองค์ท่านไว้ด้วย
   พระอารามหลวงแห่งนี้มีเนื้อที่ ๕๐ ไร่ ๓๘ ตาราง
วาอยู่ด้านทิศใต้ของพระบรมมหาราชวัง ทิศเหนือจด
ถนนท้ายวัง ทิศตะวันออกจดถนนสนามไชย ทิศใต้
จดถนนเศรษฐการ ทิศตะวันตกจดถนนมหาราช มี
ถนนเชตุพน ขนาบด้วยกำาแพงสูงสีขาวแบ่งเขต
พุทธาวาสและสังฆาวาสชัดเจน
มีหลักฐานปรากฏในศิลาจารึกไว้ว่า หลังจากที่พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระบรมมหาราชวัง
แล้ว ทรงพระราชดำาริว่า มีวัดเก่าขนาบพระบรมมหาราชวัง ๒ วัด
ด้านเหนือ คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุฯ) ด้านใต้คือ วัดโพธาราม จึงทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุนนางเจ้าทรงกรม ช่างสิบหมู่อำานวยการ
บูรณะปฏิสังขรณ์ เริ่มเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๑
   ใช้เวลา ๗ ปี ๕ เดือน ๒๘ วัน จึงแล้วเสร็จ และโปรดฯ ให้มีการ
ฉลองเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๔ พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดพระเชตุพนวิมล
มังคลาวาศ” ต่อมารัชกาลที่ ๔ ได้โปรดฯ ให้เปลี่ยนท้ายนามวัดเป็น
"วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม"
   ครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ นานถึง
๑๖ ปี ๗ เดือน ขยายเขตพระอารามด้านใต้และตะวันตกคือ ส่วนที่
เป็นพระวิหารพระพุทธไสยาสสวนมิสกวัน สถาปนาขึ้นใหม่ พระ
มณฑป ศาลาการเปรียญ และสระจระเข้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็น
โบราณสถานในพระอารามหลวงที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้
กรุงเทพฯ ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นเพียงซ่อม
สร้างของเก่าให้ดีขึ้น มิได้สร้างเสริมสิ่งใดๆ
   เกร็ดประวัติศาสตร์ของการสถาปนาและการ
บูรณะปฏิสังขรณ์วัดโพธิ์แห่งนี้ บันทึกไว้ว่า
รัชกาลที่ ๑ และที่ ๓ ขุนนาง เจ้าทรงกรมช่างสิบ
หมู่ ได้ระดมช่างในราชสำานัก ช่างวังหลวง ช่าง
วังหน้า และช่างพระสงฆ์ที่อยู่ในวัดต่างๆ ผู้
เชี่ยวชาญงานศิลปกรรมสาขาต่างๆ ได้ทุ่มเทผล
งานสร้างสรรค์พุทธสถานและสรรพสิ่งที่ประดับ
อยู่ในวัดพระอารามหลวง ด้วยพลังศรัทธาตามพ
ระราชประสงค์ของพระองค์ท่านที่ให้เป็นแหล่ง
รวมสรรพศิลป์ สรรพศาสตร์ เปรียบเป็น
มหาวิทยาลัยแห่งสรรพวิชาไทย (มหาวิทยาลัย
เปิดแห่งแรก) ที่รวมเอาภูมิปัญญาไทยไว้เป็น
มรดกให้ลูกหลานไทยได้เรียนรู้กับอย่างไม่รู้จบ
สิ้น 
ประวิติศาสตร์3

More Related Content

What's hot

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชAmmie Sweetty
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sai Khunchanok
 

What's hot (19)

การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
81311
8131181311
81311
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 

Similar to ประวิติศาสตร์3

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารPRINTT
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารzubasa_potato
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9Varit Sanchalee
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 

Similar to ประวิติศาสตร์3 (18)

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 

ประวิติศาสตร์3

  • 1.
  • 2.
  • 3. พระนาม แรกเริ่มแต่ประสูติ ในสมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำารงฐานันดรศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าชายทับ จนกระทั่งพระราชชนกได้ อุปราชาภิเษกขึ้นเป็นสมเด็จพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถาน มงคล หม่อมเจ้าชายทับจึงได้เลื่อนฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าชั้นโท ออกพระนามว่า พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าชายทับ เมื่อพระบวรราชชนก กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้เสด็จขึ้นครอง ราชย์เป็น รัชกาลที่ 2 ใน พ.ศ. 2352 พระองค์เจ้าชายทับ จึงได้เลื่อน ฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าชั้นเอก ออกพระนามว่า พระเจ้าลูกยา เธอ พระองค์เจ้าชายทับ จนปี พ.ศ. 2356 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงกรม เป็น พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เมื่อกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์เสด็จเถลิงถวัลย์ครองราชสมบัติแล้ว ทรงออก พระนามเต็ม ตามพระสุพรรณบัฏว่า "พระบาทสมเด็จพระบรม ราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศร์ ตรีภูว เนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวไสย สมุทัยดโรมน สากล จักรวาลาธิเบนทร์ สุริเยนทราธิบดินทร์ หริหรินทราธาธิบดี ศรีสุ
  • 4. ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เฉลิมพระ ปรมาภิไธยใหม่ เป็น "พระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร์ สยามินทรวิโรดม บรมธรรมิกมหา ราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว" ออกพระนามโดยย่อว่า "พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว" ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวมีประกาศให้เฉลิมพระปรมาภิไธย เป็น "พระบาท สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร์ พระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว" หรือ "พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 3" ในปี พ.ศ. 2541 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดชได้ถวายพระราชสมัญญาว่า "พระมหาเจษฎาราชเจ้า" และได้ใช้เป็นสร้อยพระนามสืบมาจนปัจจุบัน
  • 5. เหตุการณ์สำาคัญ การค้าขายกับต่างประเทศและการเก็บอากรต่างๆ เกิดสุริยุปราคาถึง 5 ครั้ง พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จสวรรคต ขณะมีพระ ชนมายุได้ 57 พรรษาครองราชย์ได้ 15 ปี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจัดพิธีให้อุปราชาภิเษกพระองค์เจ้าอรุโณทัย ขึ้นเป็นที่ "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" โปรดเกล้าฯ ให้ส่งกองทัพไทยไปช่วยอังกฤษรบพม่า พ.ศ. 2368 เฮนรี เบอร์นี ขอเข้ามาทำาสัญญาค้าขาย พ.ศ. 2369 ลงนามในสัญญา เบอร์นี เจ้าอนุวงศ์เป็นกบฏ โปรดเกล้าฯ ให้กรมพระราชวังบวรฯ เป็น แม่ทัพใหญ่ยกไปปราบ กำาเนิดวีรกรรม ท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม) และ โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) แม่ทัพหน้าเป็นเจ้าพระ ราชสุภาวดี ว่าที่สมุหนายก พ.ศ. 2370 เริ่มสร้างพระสมุทรเจดีย์ พ.ศ. 2371 ร้อยเอกเจมส์โลว์ จัดพิมพ์หนังสือภาษาไทยเป็นครั้งแรก มิชชัน นารีอเมริกันเดินทางมาเผยแพร่ศาสนาในเมืองไทย
  • 6. พ.ศ. 2372 เจ้าพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) จับเจ้าอนุวงศ์ จัดส่งลงมา กรุงเทพฯ ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็น เจ้าพระยาบดินทรเดชา ที่ สมุหนายก กำาเนิดสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย โปรดเกล้าให้ทำาการสังคายนาเป็นภาษาไทย ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามหลายแห่ง และสร้างวัดใหม่ คือวัดเทพธิดา ราม วัดราชนัดดา วัดเฉลิมพระเกียรติ และวัดพระเชตุพนฯลฯได้ตั้งโรงเรียน หลวง (วัดพระเชตุพน) ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อสอนหนังสือไทยแก่เด็กในสมัยนี้ และได้ถือกำาเนิดนิกายธรรมยุติขึ้น โดยพระวชิรญาณเถระ (เจ้าฟ้ามงกุฏ) ขณะที่ผนวชอยู่ได้ทรงศรัทธาเลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญ ชื่อ ซาย ฉายา พุทฺธวำโส จึงได้ทรงอุปสมบทใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2372 ได้ตั้งคณะธรรมยุติขึ้น ในปี พ.ศ. 2376 แล้วเสด็จมาประทับที่วัดบวรนิเวศวิหาร และตั้งเป็นศูนย์กลาง ของคณะธรรมยุติพ.ศ. 2373พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งให้ เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) เป็นว่าที่สมุหกลาโหม พ.ศ. 2374ทำาการบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ใช้เวลา 16 ปีในการ สร้าง เกิดนำ้าท่วมใหญ่ในพระราชอาณาจักร พ.ศ. 2375 ประธานาธิบดีแจคสัน แห่งสหรัฐอเมริกา ส่งเอ็ดมันต์ โรเบิร์ต เข้า มาขอเจริญพระราชไมตรีทำาการค้ากับไทย
  • 7. พ.ศ. 2378 เกิดภาวะเงินฝืดเคือง พ.ศ. 2380 หมอบรัดเลย์ คิดตัวพิมพ์อักษรไทยขึ้นใหม่ โปรดเกล้าฯ ให้หมอ หลวงไปหัดปลูกฝีกับหมอบรัดเลย์ พ.ศ. 2381 เกิดกบฏหวันหมาดหลี ที่หัวเมืองไทรบุรี พ.ศ. 2382 ทรงประกาศห้ามสูบฝิ่น เพื่อส่งเสริมศีลธรรมในบ้านเมือง และ มีการ เผาฝิ่น และ โรงยา ฝิ่น พร้อม มีการปราบอั้งอั้งยี่ซึ่งค้าฝิ่น เหล่านั้น พ.ศ. 2385 หมอบรัดเลย์ พิมพ์ปฏิทินภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2386 เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงขึ้นในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2386 แนวคราส มืดพาดผ่านภาคใต้ตอนกลาง กรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 82% พ.ศ. 2389 ญวนขอหย่าทัพกับเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) โปรด เกล้าฯ ให้สร้างโลหะปราสาทวัดราชนัดดาราม พ.ศ. 2390 ทรงอภิเษกให้นักองค์ด้วงเป็นพระบาทสมเด็จพระนโรดม หริรักษ์ รามาธิบดีครองกรุงกัมพูชา พ.ศ. 2391 ญวนขอเจริญพระราชไมตรีดังเดิม กองทัพเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กลับกรุงเทพฯ พ.ศ. 2392 กองทัพเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และ เจ้าพระยาพระ คลัง(ดิศ บุนนาค) ปราบอั้งยี่ ที่ ฉะเชิงเทรา เกิดอหิวาตกโรคระบาด มีคนตายมากกว่า 30,000 คน ซึ่งรวมถึง เจ้าพระยา
  • 8. พระราชกรณียกิจ ด้านความมั่นคง พระองค์ได้ทรงป้องกันราชอาณาจักรด้วยการส่งกองทัพไปสกัดทัพของเจ้าอนุวงศ์ แห่งเวียงจันทน์ไม่ให้ยกทัพเข้ามาถึงชานพระนครและขัดขวางไม่ให้เวียงจันทน์เข้า ครอบครองหัวเมืองอีสานของสยาม นอกจากนี้พระองค์ทรงประสบความสำาเร็จใน การทำาให้สยามกับญวนยุติการสู้รบระหว่างกันเกี่ยวกับเรื่องเขมรโดยที่สยามไม่ได้ เสียเปรียบญวนแต่อย่างใด ด้านการคมนาคม ในรัชสมัยของพระองค์ใช้ทางนำ้าเป็นสำาคัญ ทั้งในการสงครามและการ ค้าขาย คลองจึงมีความสำาคัญมากในการย่นระยะทางจากเมืองหนึ่งไปอีกเมืองหนึ่ง จึงโปรดฯให้มีการขุดคลองขึ้น เช่น คลองบางขุนเทียน คลองบางขนาก และ คลอง หมาหอน ด้านการทำานุบำารุงพระพุทธศาสนา พระองค์ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก และได้ทรงสร้างพระพุทธรูปมากมาย เช่น พระประธานในอุโบสถวัดสุทัศน์ วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดปรินายกและวัด นางนอง ทรงสร้างวัดใหม่ขึ้น 3 วัด คือ วัดบวรนิเวศวิหาร วัดเทพธิดารามและวัดราช นัดดาราม ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ วัดเก่าอีก 35 วัด เช่นวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่ง สร้างมาแต่รัชกาลที่ 1 วัดอรุณราชวราราม วัดราชโอรสาราม เป็นต้น ด้านการศึกษา ทรงทำานุบำารุง และ สนับสนุนการศึกษา โปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงวงศาธิราช
  • 9. ด้านความเป็นอยู่ พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ดูแลทุกข์สุขของราษฎร ด้วยมีพระบรมราชวินิจฉัยว่า ไม่ทรงสามารถจะบำาบัดทุกข์ให้ราษฎรได้ หากไม่เสด็จออกนอกพระราชวัง เพราะ ราษฎรจะร้องถวายฏกาได้ต่อเมื่อพระคลังเวลาเสด็จออกนอกพระราชวังเท่านั้น จึงโปรดให้นำากลองวินิจฉัยเภรีออกตั้ง ณ ทิมดาบกรมวังในพระบรมมหาราช วัง เพื่อราษฎรผู้มีทุกข์จะได้ตีกลองร้องถวายฎีกาไปทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย เพื่อให้มีการชำาระความกันต่อไป โดยพระองค์จะคอยซักถามอยู่เนื่องๆ ทำาให้ ตุลาการ ผู้ทำาการพิพากษาไม่อาจพลิกแพลงคดีเป็นอื่นได้ ในรัชสมัยของพระองค์ได้มีศาสนาจารย์และนายแพทย์ชาวอเมริกันและอังกฤษ เดินทางเข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนาเพิ่มมากขึ้น หนึ่งในจำานวนนี้คือศาสนาจารย์ แดน บีช บรัดเลย์ เอ็ม.ดี. หรือที่คนไทยรู้จักกันดีในนามของ หมอบรัดเลย์ ได้เป็น ผู้ริเริ่มให้มีการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ และการฉีดวัคซีนป้องกันอหิวาตกโรคและ การทำาผ่าตัดขึ้นเป็นครั้งแรกในกรุงรัตนโกสินทร์ นอกจากนี้หมอบรัดเลย์ยังได้คิด ตัวพิมพ์อักษรไทยขึ้น (ปี พ.ศ. 2379) ทำาให้มีการพิมพ์หนังสือภาษาไทยเป็นครั้ง แรกโดยพิมพ์คำาสอนศาสนาคริสต์เป็นภาษาไทย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2379 ต่อมาปี พ.ศ. 2385 หมอบรัดเลย์พิมพ์ปฏิทินภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรก ในด้านการหนังสือพิมพ์ฉบับแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 หมอบรัดเลย์ได้ออก หนังสือพิมพ์แถลงข่าวรายปักษ์เป็นภาษาไทย ชื่อ บางกอกรีคอร์เดอร์(Bangkok Recorder) มีเรื่องสารคดี ข่าวราชการ ข่าวการค้า ข่าวเบ็ดเตล็ด ฉบับแรกออกเมื่อ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2387
  • 10. ด้านการค้ากับต่างประเทศ พระองค์ทรงสนับสนุนส่งเสริมการค้าขายกับต่างประเทศ ทั้งกับชาว เอเชียและชาวยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้ากับจีนมาตั้งแต่เมื่อครั้ง พระองค์ทรงดำารงพระอิสสริยศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ส่งผลให้ พระคลังสินค้ามีรายได้เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ มีการแต่งสำาเภาทั้งของ ราชการ เจ้านาย ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ และพ่อค้าชาวจีนไปค้าขายยัง เมืองจีนและประเทศใกล้เคียง รวมถึงการเปิดค้าขายกับมหาอำานาจจะ วันตกจนมีการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างกันคือ สนธิสัญญาเบอร์ นี พ.ศ. 2369 และ 6 ปีต่อมาก็ได้เปิดสัมพันธไมตรีกับสหรัฐอเมริกาและ มีการทำาสนธิสัญญาต่อกันใน พ.ศ. 2375 นับเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ สหรัฐอเมริกาทำากับประเทศทางตะวันออก ส่งผลให้ไทยได้ผล ประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างมาก ด้านศิลปกรรม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสงขรณ์ พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามจนแล้วเสร็จ และทรงมีรับสั่งให้สร้าง เรือสำาเภาก่อด้วยอิฐในวัดยานนาวา เพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่าเรือ สำาเภานั้นมีรูปร่างลักษณะอย่างไร เพราะทรงเล็งเห็นว่าภายหน้าจะ
  • 11.
  • 12. ขณะทรงพระเยาว์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็น พระโอรสของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 3 คำ่า เดือน 11 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 ณ เมืองไฮเดลแบร์ ก สาธารณรัฐไวมาร์ (ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี) ขณะที่สมเด็จพระราชบิดา ทรงศึกษาการแพทย์ที่ประเทศเยอรมัน โดยได้รับพระราชทานพระนามจาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า หม่อมเจ้าอานันทมหิดล มหิดล หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้น เป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล  สมเด็จพระศรีนครินทราบ รมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลำาลองว่า นันท  เมื่อทรงพระเยาว์ได้ตามเสด็จสมเด็จพระราชบิดาและสมเด็จพระราชชนนีไปยัง ประเทศต่าง ๆ ได้แก่ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และ สหรัฐอเมริกา ซึ่งสมเด็จพระราชบิดาทรงเข้าศึกษาวิชาแพทย์ ณ มหาวิทยาลัย ฮาวาร์ด สหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี พ.ศ. 2469 - 2471 แล้วจึงเสด็จกลับ ประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อพระชนมายุได้ 3 พรรษา ประทับ ณ วังสระ ปทุม ในระหว่างนั้นสมเด็จพระราชบิดาทรงพระประชวรและสิ้นพระชนม์ ดังนั้น พระองค์จึงอยู่ในความดูแลของสมเด็จพระราชชนนีเพียงพระองค์เดียว  พระองค์ทรงเริ่มการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอี และเข้าศึกษาต่อที่
  • 13. การขึ้นทรงราชย์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเมื่อยังทรงพระเยาว์ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราช สมบัติ และมิได้ทรงสมมติเจ้านายพระองค์ใดพระองค์หนึ่งเป็นรัชทายาท ดังนั้น คณะรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรจึงได้อัญเชิญเสด็จพระวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้าอานันมหิดลซึ่งเป็นเจ้านายเชื้อพระบรมวงศ์พระองค์ที่ 1 ในลำาดับ พระราชสันตติวงศ์แห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. 2467  ขึ้นทรงราชย์สืบพระราชสันตติวงศ์ต่อไป ตั้งแต่วันที่ 2   มีนาคม พ.ศ. 2477 โดยได้ รับการเฉลิมพระนามเมื่อวันที่ 25   มีนาคม พ.ศ. 2477 ว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอา นันทมหิดล ในขณะนั้นพระองค์มีพระชนมายุ 8 พรรษา และยังคงประทับอยู่ ณ ประเทศสวิต เซอร์แลนด์ จึงต้องมีผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์เพื่อบริหารราชการแผ่นดินแทน จนกว่าจะทรงบรรลุนิติภาวะ ได้แก่พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ พระ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478 พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ สิ้นพระชนม์ สภาผู้แทนราษฎรจึงได้แต่งตั้งให้นายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทร โยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) เป็นผู้สำาเร็จราชการแทนพระองค์และเมื่อเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ถึงแก่อสัญญกรรม จึงมีการแต่งตั้งให้นายปรีดี พนมยงค์เป็นผู้สำาเร็จ ราชการแทนพระองค์แทนหลังจากนั้น เมื่อเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทร โยธิน) ถึงแก่อสัญญกรรม รวมทั้ง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
  • 14. การเสด็จนิวัติพระนคร สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล สมเด็จพระราชชนนี และพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัฐบาลได้กราบบังคมทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จนิวัติ พระนคร เมื่อปลายปีพ.ศ. 2477 เพื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่เนื่องจาก พระพลานามัยของพระองค์ไม่สมบูรณ์จึงได้เลื่อนกำาหนดออกไปก่อน และได้กราบ บังคมทูลอัญเชิญเสด็จฯ อีกครั้งในปี พ.ศ. 2478 แต่ก็ทรงติดขัดเรื่องพระพลานามัย อีกเช่นกัน หลังจากนั้น รัฐบาลได้ส่งพลโท พระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกรไปเข้าเฝ้าสมเด็จ พระราชชนนีที่โลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทูลอัญเชิญสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลเสด็จนิวัติพระนครอีกครั้งในปี พ.ศ. 2479 อย่างไรก็ตาม ในระหว่าง เตรียมการเสด็จนิวัติพระนครนั้น ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลใหม่ คณะรัฐบาลใหม่ จึงขอเลื่อนการรับเสด็จออกไปอย่างไม่มีกำาหนด หลังจากนั้น รัฐบาลได้กราบบังคมทูลเชิญเสด็จนิวัติพระนครอีกครั้ง ในครั้งนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พร้อมด้วยสมเด็จพระราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่ นางเธอ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เสด็จพระราชดำาเนินจากเมืองโลซานที่ประทับ โดยทางรถไฟมายังเมืองมาเชลล์ เพื่อประทับเรือเมโอเนีย ในการเสด็จ พระราชดำาเนินกลับสู่ประเทศไทย และเมื่อวันที่ 15   พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 เรือ พระที่นั่งได้เทียบจอดทอดสมอที่เกาะสีชัง รัฐบาลได้จัดเรือหลวงศรีอยุธยาออกไปรับ เสด็จมายังจังหวัดสมุทรปราการ ณ ที่นั้น สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระ พันวัสสาอัยยิกาเจ้า ได้เสด็จไปคอยรับพระราชนัดดาและพระสุนิสาด้วย ซึ่งนับ เป็นการเสด็จนิวัติประเทศไทยเป็นครั้งแรกหลังจากเสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหา
  • 15. การศึกษา ในการเสด็จนิวัติพระนครในครั้งที่ 2 พระองค์ทรงได้ประกอบ พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ โดย เสด็จพระราชดำาเนินทอดพระเนตรกิจการของ หอสมุดแห่งชาติ รวมทั้ง เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเยี่ยม สถานศึกษาหลายแห่ง เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียน เทพศิรินทร์ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ทรงศึกษาขณะทรงพระเยาว์ นอกจากนี้ พระองค์ยังได้เสด็จพระราชดำาเนินพระราชทาน ปริญญาบัตรเป็นครั้งแรกของพระองค์ ณ หอประชุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 13 เมษายน  พ.ศ. 2489 และ อีกครั้งที่ หอประชุมราชแพทยาลัย ศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์  เมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2489 โดยในการพระราชทานปริญญาบัตรครั้งนี้ มีพระราชปรารภให้มีการผลิตแพทย์เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เพียง พอที่จะช่วยเหลือประชาชน โรงเรียนแพทย์แห่งที่ 2 จึงได้ถือ
  • 16. การปกครอง พระองค์ได้เสด็จพระราชดำาเนินไปในพระราชพิธี พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และเปิดประชุมสภาผู้แทนในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2489 นอกจากนี้ ยังเสด็จพระราชดำาเนิน ทรงเยี่ยมราษฎรในจังหวัดต่าง ๆ และทรงเยี่ยมชาวไทย เชื้อสายจีนเป็นครั้งแรก ณ สำาเพ็งพระนคร พร้อม ด้วย สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลย เดช เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ซึ่งเป็นช่วงที่เกิด ความขัดแย้งกันระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน จนเกือบเกิดสงครามกลางเมือง เมื่อพระองค์ทรงทราบ เรื่อง มีพระราชดำาริว่า หากปล่อยความขุ่นข้องบาดหมาง ไว้เช่นนี้ จะเป็นผลร้ายตลอดไป จึงทรงตัดสินพระทัย
  • 17. การสวรรคต สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลทรงตั้งพระทัยจะทรงศึกษา ปริญญาเอก สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยโลซาน ที่ประเทศ สวิสเซอร์แลนด์จนเรียบร้อยแล้วจึงจะเสด็จนิวัติพระนครเป็นการ ถาวรและทรงเข้ารับการบรมราชาภิเษกในภายหลัง แต่พระองค์ได้ เสด็จสวรรคตเสียก่อนในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489เวลาประมาณ 9 นาฬิกา ด้วยสาเหตุทรงต้องพระแสงปืน ณ ห้องพระบรรทม พระที่นั่ง บรมพิมานภายในพระบรมมหาราชวัง ก่อนกำาหนดการเสด็จ พระราชดำาเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์เพียง 4 วัน หลังจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต ได้อัญเชิญ พระบรมศพมาประดิษฐาน ณพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรม มหาราชวัง และจัดให้มีพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพใน ระหว่างวันที่ 28-29 มีนาคม พ.ศ. 2493 ณ พระเมรุมาศ ท้องสนาม หลวง วันรุ่งขึ้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จ พระราชดำาเนินเก็บพระบรมอัฐิ และอัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิ ประดิษฐานที่บุษบงเหนือพระแท่นแว่นฟ้าทองภายในพระที่นั่งดุสิต
  • 19.             สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงเป็นพระ โอรสองค์ที่ ๒๘ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑ ) อันเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี พระมารดา คือ เจ้าจอมมารดาจุ้ย พระ สนมโท ต่อมาได้เลื่อนเป็น “ท้าวทรงกันดาล” เป็น ตำาแหน่งผู้รักษาการคลัง ใน เป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัย ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓ ) ทรงประสูติเมื่อ วันเสาร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๕ คำ่า ปีจอ จุลศักราช ๑๑๕๒ ตรงกับวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๓๓ และมีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชาย วาสุกรี             สำาหรับพระราชบิดาของพระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลก นั้น ทรงมีพระนามเดิมว่า ทองด้วง ประสูติที่กรุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๒๗๙ ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อ ทรงเจริญพระชันษาได้เข้ารับราชการ ทรงเป็นกำาลังสำาคัญของสมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีในการกู้บ้านเมือง จนได้เลื่อนยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยา มหากษัตริย์ศึก และต่อมาได้ทรงสถาปนาพระราชวงศ์ขึ้นใหม่และตั้ง ราชธานีขึ้นที่กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ.๒๓๒๕ นับเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ จักรี ทรงครองราชย์เป็นเวลา ๒๗ ปี และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ.๒๓๕๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกนี้นอกจาก จะทรงเป็นนักรบที่เก่งกล้าสามารถ แล้ว ยังทรงเป็นกวีและนักปราชญ์อีก ด้วย
  • 20.    สงฆ์วัดพระเชตุพนฯ ผู้เป็นนักปราชญ์ลำ้าลึกและมั่นคงเคร่งครัดในพระธรรมวินัย สมเด็จ    พระพนรัตน์องค์นี้เกิดในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กรุงศรีอยุธยา เคยเป็นพระ  ราชาคณะที่พระธรรมเจดีย์ในสมัยกรุงธนบุรี ได้รับมอบหมายให้ไปจัดการสังฆมณฑลฝ่าย      เหนือที่พิษณุโลก และได้เลื่อนเป็นที่พระพิมลธรรม แต่ต้องโทษในปลายรัชกาล เนื่องจาก        ยึดมั่นในพระธรรมวินัย ไม่โอนอ่อนผ่อนตามพระเจ้ากรุงธนบุรี ต่อมาในรัชกาลที่ ๑ แห่ง      กรุงรัตนโกสินทร์ ได้โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนตำาแหน่งขึ้นเป็นสมเด็จพระพนรัตน์ ครองวัด    พระเชตุพนฯ และได้เป็นพระอาจารย์ของสามเณรพระองค์เจ้าวาสุกรี ได้ถ่ายทอดพระ          ธรรมวินัยและความรู้ทางด้านภาษาไทย และภาษามคธ บาลี โบราณคดี โหราศาสตร์ และ      เวทมนตร์ ตลอดทั้งวิธีลงเลขยันต์ต่างๆ สมเด็จพระพนรัตน์องค์นี้เป็นผู้อ่านประกาศเทวดา    และเป็นแม่กองชำาระพระอภิธรรมปิฎกในรัชกาลที่ ๑ นอกจากนี้ได้นิพนธ์หนังสือภาษา      บาลีไว้หลายเรื่อง และมีชื่อเสียงโด่งดังในการเทศน์มหาชาติ กัณฑ์ “นครกัณฑ์” ซึ่ง    บรรดาลูกศิษย์ของท่านก็ได้สืบทอดกันต่อๆ มาหลายรัชกาล             สามเณรพระองค์วาสกรีได้ทรงศึกษาอย่างใกล้ชิดกับพระอาจารย์ ทรงได้รับการ ถ่ายทอดวิทยาการไว้ทั้งหมด รวมทั้งได้รับมอบตำารับตำาราพิชัยสงคราม โหราศาสตร์ เวทมนตร์ และพระธรรมวินัยไว้ด้วยจึงทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญแตกฉาน นับได้ว่าเป็นนัก ปราชญ์ที่ลำ้าลึกของยุคต้นรัตนโกสินทร์             ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ได้ทรงโปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ และได้มีการเชิญ อัฐิของสมเด็จพระพนรัตน์มาบรรจุไว้ในสถูปในบริเวณตำาหนักของ สมเด็จพระปรมานุชิต ชิโนรส มีโคลงจารึกเป็นเกียรติไว้ว่า              สถูปเสถียรธาตุไท้            ธิบดี สงฆ์แฮ              วันรัตน์เจ้าจอมชี            ชื่ออ้าง              ปรากฏเกียรติมุนี            เสนอโลกย ไว้เอย              องค์อดิศวรสร้าง            สืบหล้าแหล่งเฉลิม
  • 21. ผนวชเป็นสามเณร               เมื่อปี พ.ศ.        ๒๓๔๕ ในรัชกาลที่ ๑ กรมพระราชวังหลัง (เจ้าฟ้ากรม      พระอนุรักษ์เทเวศร์พระเจ้าหลานเธอ ในรัชกาลที่ ๑ ) ได้เสด็จออกผนวช            เป็นพระภิกษุ เมื่อวันขึ้น ๘ คำ่า เดือน ๘ ได้มีเจ้านายตามเสด็จออกผนวชเป็น          สามเณร เป็นหางนาคหลวง ๒ พระองค์ คือ พระองค์เจ้าชายวาสุกรีกับ  พระองค์เจ้าชายฉัตร (กรมหมื่นสุรินทรรักษ์)
  • 22.            พระเชตุพนฯ จนสิ้นรัชกาลที่ ๑ ขณะนั้นพระชนม์ได้ ๑๙ พรรษา ก็ไม่ทรง    สึก เนื่องจากอายุยังไม่ครบผนวชเป็นพระภิกษุจึงทรงเป็นสามเณรต่อไป  จนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (    รัชกาลที่ ๒ ) จึงได้  ทรงผนวชเป็นพระภิกษุเมื่อปีมะแม พ.ศ.    ๒๓๕๔ สมเด็จพระสังฆราช (สุก)      เป็นพระอุปัชฌาย์ และสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพนฯ เป็นพระกรรมวา    จาจารย์ ทรงได้รับพระสมณฉายาว่า “สุวัณณรังษี”เป็นพระราชาคณะและ อธิบดีสงฆ์             พระองค์เจ้าพระ “สุวัณณรังษี” ทรง ผนวชอยู่ได้ ๓ พรรษา สมเด็จพระพนรัตน์อธิบดีสงฆ์วัดพระเชตุพนฯ ก็ถึงแก่มรณภาพ เมื่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒ ) เสด็จ พระราชดำาเนินไปถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดพระเชตุพนฯ พระองค์โปรดแต่ง ตั้งให้พระองค์เจ้าพระ “สุวัณณรังษี” เป็นพระราชาคณะและอธิบดีสงฆ์ วัด พระเชตุพนฯ
  • 23.  พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (    รัชกาลที่ ๒ )  เป็น “  กรมหมื่นนุชิตชิโนรส ศรีสุคต ขัติยวงศ์” และดำารงพระยศนี้อยู่จนสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า  เจ้าอยู่หัว (    รัชกาลที่ ๓ )             เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔ ) เสด็จ ขึ้นเสวยราชสมบัติแล้ว ทรงมีพระบรมราชโอการประกาศเลื่อน”กรมหมื่นนุ ชิตชิโนรส ศรีสุคตขัติวงศ์” ให้ดำารงตำาแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ณ วัน ศุกร์ ขึ้น ๔ คำ่า เดือน ๙ ปีกุน จุลศักราช ๑๒๑๓ (พ.ศ.๒๓๙๔) และได้ เลื่อนเป็น             “กรม สมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส ศรีสุคตขัติยวงศ์ บรมพงศาธิ บดี จักรีบรมนาถ ปฐมพันธุมหาราชวรังกูร ปรเมนทรนเรนทรสูรสัมมานาภิ สักกาโรดมสถาน อริยสมศีลาจารพิเศษมหาวิมล มงคลธรรมเจดีย์ยุตมุต วาที สุวีรมนุญ อดุลยคุณคุณาธาร มโหฬารเมตตยาภิธยาศรัย ไตรปิฎก กลาโกศล เบญจปดลเศวตฉัตร สิริรัตโนปลักษณ มหาสมนุตตมาภิเศกาภิสิ ต ปรมุกฤษฐสมณศักดิ์ธำารง มหาสงฆปริณายก พุทธสาสนดิลกโลกุตตม มหาบัณฑิต สุนทรวิจิตรปฎิภาณ ไวยัติญาณมหากระวี พุทธาทิศรีรัตนตรัย คุณารักษ์ เอกอรรคมหาอนาคาริยรัตน์ สยามาทิโลกยปฎิพันธ พุทธบริษัท เนตร สมณคณินทราธิเบศร์ สกลพุทธจักโรปการกิจ สฤษดิศุภการ มหาปา โมกขประธานวโรดม บรมนาถบพิตร”
  • 24.               ในปี พ.ศ.  ๒๕๓๒ องค์การยูเนสโกได้มีมติรับข้อเสนอของคณะผู้        แทนไทยในการประชุมสมัยสามัญครั้ง ที่ ๒๕ ที่สำานักงานใหญ่ในกรุงปารีส    ประเทศฝรั่งเศส ประกาศยกย่องสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุ    ชิตชิโนรส เป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมระดับโลก             องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยู เนสโก) ได้ประกาศรายชื่อบุคคลสำาคัญผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ระดับโลก ประจำาปีพุทธศักราช ๒๕๓๓ - ๒๕๓๔ และถวายพระเกียรติคุณ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในฐานะ ปูชนียบุคคล สำาคัญผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมระดับโลกประจำาปีพุทธศักราช ๒๕๓๓ ตามมติที่ประชุมสมัยสามัญ ครั้งที่ ๒๕ ณ สำานักงานใหญ่ยูเนสโก กรุงปารีสประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันที่ ๑๗ ตุลาคม – ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ และชักชวนให้ประเทศสมาชิกร่วมจัดกิจกรรมฉลองเนื่องในวัน คล้ายวันประสูติครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๓๓
  • 25. ผลงานด้านวรรณกรรม                 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ได้ทรงพระ    นิพนธ์หนังสือต่างๆ ไว้เป็นจำานวนมากทั้งบทร้อยกรองและร้อยแก้ว สมพระ  เกียรติที่เป็น “รัตนกวี”     ของชาติ วรรณกรรมของพระองค์ นับว่าเป็นสมบัติ      ที่ประมาณค่ามิได้ พระนิพนธ์ต่างๆ มีดังนี้ โคลง (๑) โคลงดั้นเรื่องปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ (๒) ลิลิตกระบวนแห่พระกฐินพยุหยาตราทางสถลมารคและชลมารค (๓) ลิลิตตะเลงพ่าย (๔) โคลงภาพฤาษีดัดตน (๕) โคลงภาพคนต่างภาษา (๖) โคลงกลบท (๗) โคลงบาทกุญชร และวิวิธมาลี (๘) โคลงจารึกศาลาหน้าพระมหาเจดีย์ ๒ หลัง (๙) โคลงจารึกศาลาราย ๑๖ หลัง (๑๐) ร่ายและโคลงบานแพนก
  • 26. ฉันท์ (๑)           กฤษณาสอนน้องคำาฉันท์ (๒)    สมุทรโฆษคำาฉันท์ ตอนปลาย (๓)  ตำาราฉันท์มาตรพฤติและวรรณพฤติ (๔) สรรพสิทธิคำาฉันท์ (๕) ฉันท์สังเวยกล่อมวินิจฉัยเภรี (๖) จักรทีปนีตำาราโหราศาสตร์ (๗) ฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างพัง ร่ายยาว (๑) มหาเวสสันดรชาดก (เว้นกัณฑ์ชูชกและมหาพน) (๒) ปฐมสมโพธิกถา (๓) ทำาขวัญนาคหลวง (๔) ประกาศบรมราชาภิเศก รัชกาลที่ ๔ กลอน (๑) เพลงยาวเจ้าพระความเรียง (๑) พระธรรมเทศนาพระราชพงศาวดารสังเขป (๒) พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับความสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส  เล่ม ๑–๒ ภาษาบาลี (๑) ปฐมสมโพธิกถาฉบับภาษาบาลี มีต้นฉบับอยู่ในหอสมุดแห่งชาติ เป็นพระคัมภีร์ ใบลานจำานวน ๓๐ ผูก ผูกละประมาณ ๒๔ หน้า เมื่อปริวรรตเป็นอักษรไทยและแปลออก มาแล้วจะเป็นหนังสือหนาประมาณ ๒,๑๖๐ หน้า หรือประมาณ ๒๗๐ ยก ซึ่งเป็นหนังสือ
  • 27.            ชนมายุอยู่ในรัชกาลที่ ๔ เพียง ๒ พรรษา ก็ประชวรด้วยพระโรคชรา และ                สิ้นพระชนม์เมื่อวันศุกร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๙ คำ่า ปีฉลู เบญจศก จุลศักราช              ๑๒๑๕ เวลาบ่าย ๓ โมง ตรงกับวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.  ๒๓๙๖ สิริรวมพระ      ชนมายุได้ ๖๔ พรรษา             เมื่อพระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวงแล้ว รัชกาลที่ ๔ โปรดให้มีตำาแหน่งพระครูฐานานุกรม ประจำาสำาหรับรักษา พระอัฐิ ถึงเวลาเข้าพรรษาก็เสด็จพระราชดำาเนินไปถวายพุ่มบูชาพระอัฐิทุก ปี และถึงวันเสด็จพระราชดำาเนินถวายผ้าพระกฐิน วัดพระเชตุพนฯ ก็โปรด ให้อัญเชิญพระอัฐิไปประดิษฐานในอุโบสถ ทรงสักการบูชาแล้วทอดผ้า ไตร ให้พระฐานานุกรมสดับปกรณ์พระอัฐิเป็นประเพณีตลอดมาตั้งแต่ รัชกาลที่ ๔ จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ในรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกาศสถาปนากรมสมเด็จพระปรมานุ ชิต ชิโนรสขึ้นเป็น “สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส” เมื่อ วันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔
  • 29. สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ  กรมพระยาเทวะวงศ์วโร ปการ   ทรงพระนามเดิมว่า  พระองค์เทวัญอุไท วงศ์  ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  และเจ้าจอมมารดาเปี่ยม  ประสูติในพระบรมมหาราชวังเมื่อวันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401
  • 30.           สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์วโร ปการ  ทรงมีพระปรีชาเฉลียวฉลาดและ รอบรู้มาตั้งแต่ทรงพระเยาว์  เมื่อพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  โปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งโรงเรียนภาษาอังกฤษขึ้นใน พระบรมมหาราชวัง  สมเด็จ ฯ กรมพระยา เทวะวงศ์วโรปการก็ได้ทรงเข้าเป็น นักเรียนในชั้นแรก
  • 31.           ต่อมาทรงเข้ารับราชการแผ่นดิน  ทรง มีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนราชการสำาคัญ ๆ ของ ประเทศมากมาย           พระ บาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว  และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว  ทรงไว้วางพระราชหฤทัยให้สมเด็จ ฯ  กรม พระยาเทวะวงศ์วโรปการ  ทรงมีหน้าที่รับ ราชการเกี่ยวเนื่องในการต่างประเทศ  เพราะ เหตุว่าทรงมีคุณวุฒิเหมาะสมแก่การนี้มาตั้งแต่ ทรงรับราชการแผ่นดิน
  • 32. สมเด็จ ฯ พระยาเทวะวงศ์  ทรงริเริ่มก่อ ตั้งที่ทำาการกระทรวงการต่างประเทศ  โดยทรงขอพระราชทานพระราชวัง สราญรมย์จากพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว  ให้ยืมใช้เป็น ที่ทำาการของกระทรวง
  • 33. ตั้งแต่แรกที่ทรงดำารง ตำาแหน่ง เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ  เมื่อ พ.ศ. 2428 นับเป็นกระทรวง แรกที่มีสำานักงานแยกออกมาต่าง หาก  ซึ่งแต่เดิมเสนาบดีเจ้ากระทรวง จะบัญชาราชการที่บ้านของเสนาบดี นั้น
  • 34.           ใน ระหว่างที่ดำารงตำาแหน่ง เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2428 - 2466 ได้เป็นปรากฏชัดว่า  สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์ ฯ ทรงพระ ปรีชาสามารถดำาเนินนโยบายต่างประเทศ และการทูต  นำาประเทศชาติให้พ้นภัย พิบัติในยามคับขันได้  ทั้งได้ประทาน รากฐานในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างยิ่ง  ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางกระทรวงการต่างประเทศ ได้ยึดถือเป็นแบบฉบับมาจนทุกวันนี้
  • 35. นอก จากทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการใน ด้านการต่างประเทศแล้ว  สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์ ฯ  ยังทรงรับ ราชการตำาแหน่งพิเศษ  ซึ่งทรงได้รับ พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ทรงทำา เฉพาะพระองค์อีกหลายอย่าง  เช่น  เป็นผู้รักษาพระนครในเวลาที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ได้ทรงประทับ อยู่ ในพระนคร
  • 36.           ทรงเป็นนายกสภาการคลัง  ทั้งเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดินและ ราชการในพระองค์อยู่เสมอ  รวม ความว่าสมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์ ฯ ได้ทรงดำารงตำาแหน่งเสนาบดี กระทรวงการต่างประเทศสืบเนื่องมา 38 ปี  ทรงรับราชการประจำาตำาแหน่ง สองพระเดชพระคุณสืบเนื่องมาใน 2 รัชการ  นานถึง 49 ปี
  • 37. สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะวงศ์ ฯ  ทรง พระอุตสาหะรับราชการเรื่อยมาจน กระทั่งสิ้นพระชนม์   เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศง 2466 รวมพระชนมายุ ได้ 66 พรรษา
  • 38. นับได้ว่า  สมเด็จ ฯ กรมพระยาเทวะ วงศ์ ฯ  ได้ทรงประกอบกิจการอัน เป็นคุณประโยชน์แก่การต่าง ประเทศและประเทศชาติเป็น อเนก อนันต์
  • 40. มังคลาราม ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวง ชั้นเอกและเป็นวัดประจำารัชกาลที่ ๑ แห่งราชวงศ์ จักรี เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ สถาปนาวัดโพธารามวัดเก่าที่เมืองบางกอกครั้งกรุง ศรีอยุธยาเป็นวัดหลวงข้างพระบรมมหาราชวัง และที่ ใต้พระแท่นประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร พระ ประธานในพระอุโบสถเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ พระองค์ท่านไว้ด้วย    พระอารามหลวงแห่งนี้มีเนื้อที่ ๕๐ ไร่ ๓๘ ตาราง วาอยู่ด้านทิศใต้ของพระบรมมหาราชวัง ทิศเหนือจด ถนนท้ายวัง ทิศตะวันออกจดถนนสนามไชย ทิศใต้ จดถนนเศรษฐการ ทิศตะวันตกจดถนนมหาราช มี ถนนเชตุพน ขนาบด้วยกำาแพงสูงสีขาวแบ่งเขต พุทธาวาสและสังฆาวาสชัดเจน
  • 41. มีหลักฐานปรากฏในศิลาจารึกไว้ว่า หลังจากที่พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระบรมมหาราชวัง แล้ว ทรงพระราชดำาริว่า มีวัดเก่าขนาบพระบรมมหาราชวัง ๒ วัด ด้านเหนือ คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุฯ) ด้านใต้คือ วัดโพธาราม จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุนนางเจ้าทรงกรม ช่างสิบหมู่อำานวยการ บูรณะปฏิสังขรณ์ เริ่มเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๓๑    ใช้เวลา ๗ ปี ๕ เดือน ๒๘ วัน จึงแล้วเสร็จ และโปรดฯ ให้มีการ ฉลองเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๔ พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดพระเชตุพนวิมล มังคลาวาศ” ต่อมารัชกาลที่ ๔ ได้โปรดฯ ให้เปลี่ยนท้ายนามวัดเป็น "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม"
  • 42.    ครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ นานถึง ๑๖ ปี ๗ เดือน ขยายเขตพระอารามด้านใต้และตะวันตกคือ ส่วนที่ เป็นพระวิหารพระพุทธไสยาสสวนมิสกวัน สถาปนาขึ้นใหม่ พระ มณฑป ศาลาการเปรียญ และสระจระเข้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็น โบราณสถานในพระอารามหลวงที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้
  • 43. กรุงเทพฯ ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นเพียงซ่อม สร้างของเก่าให้ดีขึ้น มิได้สร้างเสริมสิ่งใดๆ    เกร็ดประวัติศาสตร์ของการสถาปนาและการ บูรณะปฏิสังขรณ์วัดโพธิ์แห่งนี้ บันทึกไว้ว่า รัชกาลที่ ๑ และที่ ๓ ขุนนาง เจ้าทรงกรมช่างสิบ หมู่ ได้ระดมช่างในราชสำานัก ช่างวังหลวง ช่าง วังหน้า และช่างพระสงฆ์ที่อยู่ในวัดต่างๆ ผู้ เชี่ยวชาญงานศิลปกรรมสาขาต่างๆ ได้ทุ่มเทผล งานสร้างสรรค์พุทธสถานและสรรพสิ่งที่ประดับ อยู่ในวัดพระอารามหลวง ด้วยพลังศรัทธาตามพ ระราชประสงค์ของพระองค์ท่านที่ให้เป็นแหล่ง รวมสรรพศิลป์ สรรพศาสตร์ เปรียบเป็น มหาวิทยาลัยแห่งสรรพวิชาไทย (มหาวิทยาลัย เปิดแห่งแรก) ที่รวมเอาภูมิปัญญาไทยไว้เป็น มรดกให้ลูกหลานไทยได้เรียนรู้กับอย่างไม่รู้จบ สิ้น