SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
โรคทางระบบประสาท
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน(acute otitis media)
เสนอครูผู้สอน
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
นาย ณรงค์ชัยเกตุนวม
ห้อง 78 เลขที่ 27
นาย กันธรณ์ จุลภาคี
ห้อง 78 เลขที่ 22
นาย มหิทธา สุทธิเสริม
ห้อง 78 เลขที่ 36
นาย ปริญญ์ ปงรังษี
ห้อง 78 เลขที่ 30
หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน
1.ประวัติความเป็นมาของโรค
2.สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
3.ลักษณะอาการสาคัญของโรค
4.แนวทางการป้องกันและรักษา
ประวัติความเป็นมาของโรคหูอักเสบ
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media) เป็นโรคที่มีการอักเสบของหูชั้นกลาง
ซึ่งอยู่ระหว่างหูชั้นนอก และหูชั้นใน โดยสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกอายุและทุกเพศ แต่จะพบได้
บ่อยในเด็ก เนื่องจากภูมิต้านทานของเด็กยังน้อยและยังเจริญไม่เต็มที่ ที่สาคัญโรคนี้ยังมักเกิด
ร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเด็กๆ มักมีอุบัติการณ์ของโรคเหล่านี้สูง ไม่ว่าจะ
เป็น โรคเยื่อบุจมูกอักเสบเฉียบพลัน (acute rhinitis) โรคหวัด (common cold) โรคไซนัส
อักเสบ (rhinosinusitis) โรคต่อมอดีนอยด์อักเสบ (adenoiditis)
สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
ส่วนใหญ่มักเกิดร่วมกับการติดเชื้อในบริเวณทางเดินหายใจส่วนต้น (คอ
และจมูก) ได้แก่ ไข้หวัด ทอนซิลอักเสบ และบางรายหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลันอาจ
เป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไข้หวัดใหญ่ ไอกรน หัด ทาให้เชื้อโรคบริเวณคอผ่าน
ท่อยูสเตเชียน/ท่อปรับความดันหูชั้นกลาง (Eustachain tube) เข้าไปในหูชั้นกลาง
ได้ และเกิดการอักเสบขึ้นมา ทาให้เยื่อบุผิวภายในหูชั้นกลางและท่อยูสเตเชียนบวม
และมีหนองขังอยู่ในหูชั้นกลาง เพราะไม่สามารถระบายผ่านท่อยูสเตเชียนที่บวมและ
อุดตันได้ ในที่สุดเยื่อแก้วหูซึ่งเป็นเยื่อบาง ๆ ที่กั้นอยู่ระหว่างหูชั้นกลางอักเสบกับหู
ชั้นนอกก็จะเกิดการทะลุเป็นรู หนองที่ขังอยู่ภายในก็จะไหลออกมากลายเป็นหู
น้าหนวก
สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
(www.healthtap.com/topics/otitis-media-vs-normal)
สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
เชื้อก่อโรคส่วนใหญ่มักเป็นเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งพบได้ประมาณ 55-75%
โดยเป็นเชื้อสเตรปโตค็อกคัส นิวโมเนียอี (Streptococcus pneumoniae), เชื้อฮี
โมฟิลัส อินฟลูเอ็นซาอี (Haemophilus influenzae) และเชื้อมอแรเซลลา
(Moraxella catarrhalis) ถึง 80% การมีการอักเสบอย่างเรื้อรังจะมีผลทาให้เยื่อ
แก้วหูทะลุได้
(www.newhealthadvisor.com/Streptococcus-Pneumoniae.htm)
สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
สาเหตุที่พบโรคนี้ในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่ เป็นเพราะว่าในทารกและเด็กเล็กจะมีท่อยูสเต
เชียน (Eustachain tube) ที่เชื่อมต่อระหว่างหูชั้นกลางและโพรงหลังจมูกยังมีการพัฒนาไม่
สมบูรณ์เต็มที่จึงทาให้เชื้อโรคจากจมูกและโพรงหลังจมูกเข้าสู่หูชั้นกลางของเด็กได้ง่ายกว่า
ผู้ใหญ่ และประกอบกับการที่เด็กมักเกิดภาวะติดเชื้อเป็นไข้หวัดได้บ่อย ซึ่งถ้าโรคหวัดที่เป็นอยู่
เกิดลุกลามก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการอักเสบต่อเนื่องไปยังรูเปิดของท่อยูสเตเชียนได้ และมีผลทา
ให้เกิดภาวะหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน
(www.slideshare.net/ajusarma/anatomy-and-physiology-of-eustachian-tube)
สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
(www.pinterest.comstuff)
สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
(www.youtube.com/watch?v=iuZR4n1Z6Jo&app=desktop)
ลักษณะอาการสาคัญของโรค
หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน ผู้ป่วยมักมีอาการเกิดขึ้นอย่างฉับพลันหลังจากเป็น
ไข้หวัด เจ็บคอ หรือเป็นโรคติดเชื้อของทางเดินหายใจอื่น ๆ โดยจะมีอาการปวดใน
รูหู (แต่ดึงใบหูจะไม่เจ็บมากขึ้นเหมือนโรคหูชั้นนอกอักเสบ) หูอื้อ การได้ยินลดลง
มีไข้สูง หนาวสั่น และบางรายอาจมีอาการบ้านหมุน คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเดิน
ได้ด้วย ส่วนในทารกและเด็กเล็กจะมีอาการตื่นขึ้นร้องกวนเวลากลางดึกด้วยอาการ
เจ็บปวดหู และร้องไห้งอแงเกือบตลอดเวลา บางรายอาจเอามือดึงใบหูตัวเองข้าง
ที่ปวด เด็กมักจะมีไข้สูง บางรายอาจมีอาการชักเนื่องจากไข้สูง และเด็กมักมีอาการ
ของไข้หวัดหรือมีอาการไอร่วมด้วย
ลักษณะอาการสาคัญของโรค
หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ
1.ระยะบวมแดง ถ้าตรวจดูในหูด้วยเครื่องมือแพทย์จะพบแก้วหูบวมแดง ในระยะนี้ผู้ป่วยจะมี
อาการปวดหูหรือแน่น ๆ ในหู มีไข้ และการได้ยินผิดปกติ ส่วนในทารกและเด็กเล็กจะร้องไห้งอแงไม่ยอม
นอน และบางรายมักเอามือดึงใบหูตัวเอง
2.ระยะมีน้า ภายใน 1-2 วัน จะเริ่มมีซีรั่มซึมออกมาจากหลอดเลือดที่ขยายตัวเข้าไปในหูชั้น
กลางและในโพรงกระดูกมาสตอยด์ที่อยู่หลังหู ในระยะนี้ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการปวดหูมากขึ้น มีไข้สูง และการ
ได้ยินลดลง เมื่อตรวจดูในหูจะพบแก้วหูมีลักษณะบวมแดงโป่งนูน เพราะถูกน้าข้างในดันออกมา
3.ระยะทะลุ เป็นระยะที่แก้วหูไม่สามารถทนต่อแรงดันจากน้าข้างในหูชั้นกลางได้อีกจนเกิดการ
ทะลุ ทาให้มีหนองไหลออกมาในรูหูชั้นนอก ซึ่งผู้ป่วยจะรู้สึกว่ามีน้าปนหนองไหลออกมาจากหูอยู่พักหนึ่ง
แล้วอาการปวดหูและไข้จะลดลงอย่างมาก ส่วนใหญ่การอักเสบแบบเฉียบพลันจะหยุดแค่ในระยะนี้ เยื่อแก้วหู
จะซ่อมแซมปิดรูที่ทะลุได้เองภายใน 2 สัปดาห์ และการได้ยินของผู้ป่วยจะกลับมาเป็นปกติหรือเกือบปกติ
แต่ในผู้ป่วยบางรายที่รูทะลุไม่สามารถปิดได้เองก็จะเข้าสู่การอักเสบแบบเรื้อรังต่อไป (โดยทั่วไปจากระยะบวม
แดงถึงระยะทะลุจะกินเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ และหากรักษาได้ทันก็จะช่วยป้องกันการทะลุได้)
ลักษณะอาการสาคัญของโรค
(IMAGE SOURCE www.clinicaladvisor.com/diagnosing-acute-otitis-
media)
แนวทางการป้องกันและรักษาโรค
การรักษา แพทย์จะให้รับประทานยาแก้ปวดลดไข้ เช่น พาราเซตามอล (Paracetamol) เท่าที่
จาเป็น และให้รับประทานยาปฏิชีวนะถ้าพบว่าเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น อะม็อกซีซิลลิน (Amoxicillin), โค
ไตรม็อกซาโซล (Co-trimoxazole) หรืออิริโทรมัยซิน (Erythromycin) เพื่อกาจัดเชื้อแบคทีเรียที่เป็น
สาเหตุ ซึ่งมักจะให้รับประทานติดต่อกันเป็นเวลา 10-14 วัน (ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค และแพทย์
อาจให้ยาหยอดหูร่วมด้วยในรายที่มีหนองไหลออกจากหูหรือมีหูชั้นนอกอักเสบร่วมด้วย)
นอกจากนี้แพทย์อาจให้รับประทานยาแก้แพ้ (Antihistamine), ยาลดบวม, ยาหดหลอดเลือด
(Oral decongestant) และพ่นจมูกด้วยยาหดหลอดเลือด (Topical decongestant) เพื่อทาให้เยื่อบุ
บริเวณรูเปิดของท่อยูสเตเชียนยุบบวมและท่อยูสเตเชียนเปิดได้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้สารจากการอักเสบ
หรือหนองที่อยู่ในหูชั้นกลางสามารถระบายออกจากท่อนี้ได้สะดวกขึ้น
ถ้าอาการดีขึ้นใน 2-3 วันหลังจากรับประทานยาปฏิชีวนะ ให้รับประทานยาปฏิชีวนะต่อไปจน
ครบตามที่แพทย์สั่ง แต่ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้น ควรกลับไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล ซึ่งแพทย์อาจต้องใช้เข็ม
เจาะเพื่อระบายเอาหนองออกจากเยื่อแก้วหู ซึ่งเรียกว่า “การเจาะเยื่อแก้วหู” (Myringotomy) และหลังการ
รักษาด้วยวิธีนี้เยื่อแก้วหูจะปิดได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์
แนวทางการป้องกันและรักษาโรค
(IMAGE SOURCE : www.utmb.edu, www.entusa.com,
otitismedia.hawkelibrary.com)
แนวทางการป้องกันและรักษาโรค
วิธีป้องกันหูชั้นกลางอักเสบ
1.การป้องกันที่สาคัญคือการหลีกเลี่ยงหรือลดปัจจัยเสี่ยงที่พอทาได้ เช่น
ควรให้ทารกกินนมมารดาอย่างน้อย 6 เดือน เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหูชั้นกลางอักเสบ
2.หลีกเลี่ยงการใช้จุกนมปลอม เพราะจะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดหูชั้นกลางอักเสบประมาณ 1.6-3 เท่า
3..ระมัดระวังอย่าให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน เช่น โรคหวัด ไซนัสอักเสบ ฯลฯ โดยการ
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทาให้ร่างกายมีภูมิต้านทานต่าลง (เช่น ความเครียด การพักผ่อนไม่เพียงพอ) หลีกเลี่ยงการสัมผัสอากาศที่
เย็นมาก ๆ, การดื่มน้าหรืออาบน้าเย็น ๆ, การตากลม, การสัมผัสอากาศที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว, การสัมผัสใกล้ชิดกับ
ผู้ป่วยทั้งที่ในบ้านและในที่ทางาน, การไปยังสถานที่ที่มีคนมาก ซึ่งจะทาให้มีโอกาสติดเชื้อเพิ่มขึ้น เป็นต้น (แต่ถ้าเป็นแล้วก็ควรรีบ
รักษาให้หายโดยเร็ว และถ้าเป็นหวัดก็ไม่ควรสั่งน้ามูกแรงเกินไป ในเด็กโตและผู้ใหญ่ การป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าวก็เป็นการ
ป้องกันโรคนี้ไปในตัวด้วย)
4.หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่ที่มีควันบุหรี่ และให้งดการสูบบุหรี่ในครอบครัว โดยเฉพาะคุณพ่อคุณแม่ เพราะจะเป็นการ
เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดหูชั้นกลางอักเสบแก่บุตรของท่าน
5.ระมัดระวังอย่าให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุกับหู หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนบริเวณหูและบริเวณใกล้เคียง
เพราะอาจทาให้แก้วหูทะลุและฉีกขาดได้
แนวทางการป้องกันและรักษาโรค
6.ทาให้ร่างกายแข็งแรงเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่าง ๆ ด้วยการรับประทานอาหารที่มี
ประโยชน์ให้ครบถ้วนทั้ง 5 หมู่ และหมั่นออกกาลังกายแบบแอโรบิก อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง
7.ถ้าเจ็บป่วยเป็นโรคนี้ ควรดูแลรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ อย่าปล่อยให้เป็นเรื้อรัง ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อ
ตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างถูกต้อง
(www.dmthai.orgnews_and_knowledge/list/154)
สรุปโรคหูชั้นกลางอักเสบ
1.สาเหตุ-มักเกิดภายหลังจากการติดเชื้อทางเดินหายใจตอนบน เช่น ไข้หวัดใหญ่ หัด และคอตีบ
เชื้อส่วนใหญ่ที่พบในเด็ก คือ ฮีโมฟิลัสอินฟูเอนซา (Hemophilus Influenza) ส่วนในผู้ใหญ่ คือ นิวโม
คอคคัส (Pneumococci) การมีการอักเสบอย่างเรื้อรังจะมีผลทาให้เยื่อแก้วหูทะลุได้
2.อาการ-ผู้ป่วยจะมีหูอื้อเพียงเล็กน้อย มีเสียงในหู ปวดหู พบเยื่อแก้วหูมีลักษณะบวมแดงจาก
การที่มีเลือดมาเลี้ยงมากกว่าปกติ ต่อมามีปวดหูมากขึ้นมักปวดตอนกลางคืน มีกดเจ็บบริเวณรอบหู ในเด็ก
พบมีไข้สูง ปวดศีรษะ มีคลื่นไส้อาเจียนได้ เกิดจากการที่มี ของเหลวหรือหนองขังอยู่ทาให้เยื่อแก้วหูโป่ง
(Bulging) ต่อมาจะเกิดการทะลุของเยื่อแก้วหูได้
3.การรักษาและป้องกัน-ระมัดระวังอย่าให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุกับหู หลีกเลี่ยงการ
กระทบกระเทือนบริเวณหูและบริเวณใกล้เคียง เพราะอาจทาให้แก้วหูทะลุและฉีกขาดได้ ทาให้ร่างกายแข็งแรงเพื่อ
ลดความเสี่ยง ถ้าเจ็บป่วยเป็นโรคนี้ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรับการรักษา
บรรณานุกรม
• https://www.medthai.com/หูชั้นกลางอักเสบ/
• http://rcot.org/data_detail.php?op=knowledge&id=160
• https://www.doctor.or.th/article/detail/10762
• http://www.healthtoday.net/thailand/disease/diisease_126.html
• http://mutualselfcare.org/medicine/infectious/otitis_media.aspx
N sdis 78_60_9

More Related Content

What's hot

การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementUtai Sukviwatsirikul
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014Utai Sukviwatsirikul
 
Management of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisManagement of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisHataitap Chonchep
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561Utai Sukviwatsirikul
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 

What's hot (16)

Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
Cpg Allergic Rhinitis 2011
Cpg  Allergic Rhinitis 2011Cpg  Allergic Rhinitis 2011
Cpg Allergic Rhinitis 2011
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
1409adr
1409adr1409adr
1409adr
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
Clinical practice guideline for atopic dermatitis 2014
 
Management of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisManagement of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitis
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Allergic rhinitis
Allergic rhinitisAllergic rhinitis
Allergic rhinitis
 

Similar to N sdis 78_60_9

พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
Dl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกDl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกChoo Sriya Sriya
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกChoo Sriya Sriya
 
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Choo Sriya Sriya
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2Or Chid
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
Management of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedManagement of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedMint Yasmine
 

Similar to N sdis 78_60_9 (20)

N sdis 77_60_9
N sdis 77_60_9N sdis 77_60_9
N sdis 77_60_9
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
Dl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายกDl 2012 asu_นครนายก
Dl 2012 asu_นครนายก
 
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Dl 2012 asu_นครนายก
 
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02Dl2012asu 130902234444-phpapp02
Dl2012asu 130902234444-phpapp02
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
Urticaria
UrticariaUrticaria
Urticaria
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
N sdis 143_60_6
N sdis 143_60_6N sdis 143_60_6
N sdis 143_60_6
 
Management of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedManagement of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewed
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

N sdis 78_60_9

  • 3. นาย ณรงค์ชัยเกตุนวม ห้อง 78 เลขที่ 27 นาย กันธรณ์ จุลภาคี ห้อง 78 เลขที่ 22 นาย มหิทธา สุทธิเสริม ห้อง 78 เลขที่ 36 นาย ปริญญ์ ปงรังษี ห้อง 78 เลขที่ 30
  • 5. ประวัติความเป็นมาของโรคหูอักเสบ โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media) เป็นโรคที่มีการอักเสบของหูชั้นกลาง ซึ่งอยู่ระหว่างหูชั้นนอก และหูชั้นใน โดยสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกอายุและทุกเพศ แต่จะพบได้ บ่อยในเด็ก เนื่องจากภูมิต้านทานของเด็กยังน้อยและยังเจริญไม่เต็มที่ ที่สาคัญโรคนี้ยังมักเกิด ร่วมกับการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเด็กๆ มักมีอุบัติการณ์ของโรคเหล่านี้สูง ไม่ว่าจะ เป็น โรคเยื่อบุจมูกอักเสบเฉียบพลัน (acute rhinitis) โรคหวัด (common cold) โรคไซนัส อักเสบ (rhinosinusitis) โรคต่อมอดีนอยด์อักเสบ (adenoiditis)
  • 6. สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค ส่วนใหญ่มักเกิดร่วมกับการติดเชื้อในบริเวณทางเดินหายใจส่วนต้น (คอ และจมูก) ได้แก่ ไข้หวัด ทอนซิลอักเสบ และบางรายหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลันอาจ เป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไข้หวัดใหญ่ ไอกรน หัด ทาให้เชื้อโรคบริเวณคอผ่าน ท่อยูสเตเชียน/ท่อปรับความดันหูชั้นกลาง (Eustachain tube) เข้าไปในหูชั้นกลาง ได้ และเกิดการอักเสบขึ้นมา ทาให้เยื่อบุผิวภายในหูชั้นกลางและท่อยูสเตเชียนบวม และมีหนองขังอยู่ในหูชั้นกลาง เพราะไม่สามารถระบายผ่านท่อยูสเตเชียนที่บวมและ อุดตันได้ ในที่สุดเยื่อแก้วหูซึ่งเป็นเยื่อบาง ๆ ที่กั้นอยู่ระหว่างหูชั้นกลางอักเสบกับหู ชั้นนอกก็จะเกิดการทะลุเป็นรู หนองที่ขังอยู่ภายในก็จะไหลออกมากลายเป็นหู น้าหนวก
  • 8. สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค เชื้อก่อโรคส่วนใหญ่มักเป็นเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งพบได้ประมาณ 55-75% โดยเป็นเชื้อสเตรปโตค็อกคัส นิวโมเนียอี (Streptococcus pneumoniae), เชื้อฮี โมฟิลัส อินฟลูเอ็นซาอี (Haemophilus influenzae) และเชื้อมอแรเซลลา (Moraxella catarrhalis) ถึง 80% การมีการอักเสบอย่างเรื้อรังจะมีผลทาให้เยื่อ แก้วหูทะลุได้ (www.newhealthadvisor.com/Streptococcus-Pneumoniae.htm)
  • 9. สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค สาเหตุที่พบโรคนี้ในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่ เป็นเพราะว่าในทารกและเด็กเล็กจะมีท่อยูสเต เชียน (Eustachain tube) ที่เชื่อมต่อระหว่างหูชั้นกลางและโพรงหลังจมูกยังมีการพัฒนาไม่ สมบูรณ์เต็มที่จึงทาให้เชื้อโรคจากจมูกและโพรงหลังจมูกเข้าสู่หูชั้นกลางของเด็กได้ง่ายกว่า ผู้ใหญ่ และประกอบกับการที่เด็กมักเกิดภาวะติดเชื้อเป็นไข้หวัดได้บ่อย ซึ่งถ้าโรคหวัดที่เป็นอยู่ เกิดลุกลามก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการอักเสบต่อเนื่องไปยังรูเปิดของท่อยูสเตเชียนได้ และมีผลทา ให้เกิดภาวะหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (www.slideshare.net/ajusarma/anatomy-and-physiology-of-eustachian-tube)
  • 12. ลักษณะอาการสาคัญของโรค หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน ผู้ป่วยมักมีอาการเกิดขึ้นอย่างฉับพลันหลังจากเป็น ไข้หวัด เจ็บคอ หรือเป็นโรคติดเชื้อของทางเดินหายใจอื่น ๆ โดยจะมีอาการปวดใน รูหู (แต่ดึงใบหูจะไม่เจ็บมากขึ้นเหมือนโรคหูชั้นนอกอักเสบ) หูอื้อ การได้ยินลดลง มีไข้สูง หนาวสั่น และบางรายอาจมีอาการบ้านหมุน คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเดิน ได้ด้วย ส่วนในทารกและเด็กเล็กจะมีอาการตื่นขึ้นร้องกวนเวลากลางดึกด้วยอาการ เจ็บปวดหู และร้องไห้งอแงเกือบตลอดเวลา บางรายอาจเอามือดึงใบหูตัวเองข้าง ที่ปวด เด็กมักจะมีไข้สูง บางรายอาจมีอาการชักเนื่องจากไข้สูง และเด็กมักมีอาการ ของไข้หวัดหรือมีอาการไอร่วมด้วย
  • 13. ลักษณะอาการสาคัญของโรค หูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ 1.ระยะบวมแดง ถ้าตรวจดูในหูด้วยเครื่องมือแพทย์จะพบแก้วหูบวมแดง ในระยะนี้ผู้ป่วยจะมี อาการปวดหูหรือแน่น ๆ ในหู มีไข้ และการได้ยินผิดปกติ ส่วนในทารกและเด็กเล็กจะร้องไห้งอแงไม่ยอม นอน และบางรายมักเอามือดึงใบหูตัวเอง 2.ระยะมีน้า ภายใน 1-2 วัน จะเริ่มมีซีรั่มซึมออกมาจากหลอดเลือดที่ขยายตัวเข้าไปในหูชั้น กลางและในโพรงกระดูกมาสตอยด์ที่อยู่หลังหู ในระยะนี้ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการปวดหูมากขึ้น มีไข้สูง และการ ได้ยินลดลง เมื่อตรวจดูในหูจะพบแก้วหูมีลักษณะบวมแดงโป่งนูน เพราะถูกน้าข้างในดันออกมา 3.ระยะทะลุ เป็นระยะที่แก้วหูไม่สามารถทนต่อแรงดันจากน้าข้างในหูชั้นกลางได้อีกจนเกิดการ ทะลุ ทาให้มีหนองไหลออกมาในรูหูชั้นนอก ซึ่งผู้ป่วยจะรู้สึกว่ามีน้าปนหนองไหลออกมาจากหูอยู่พักหนึ่ง แล้วอาการปวดหูและไข้จะลดลงอย่างมาก ส่วนใหญ่การอักเสบแบบเฉียบพลันจะหยุดแค่ในระยะนี้ เยื่อแก้วหู จะซ่อมแซมปิดรูที่ทะลุได้เองภายใน 2 สัปดาห์ และการได้ยินของผู้ป่วยจะกลับมาเป็นปกติหรือเกือบปกติ แต่ในผู้ป่วยบางรายที่รูทะลุไม่สามารถปิดได้เองก็จะเข้าสู่การอักเสบแบบเรื้อรังต่อไป (โดยทั่วไปจากระยะบวม แดงถึงระยะทะลุจะกินเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ และหากรักษาได้ทันก็จะช่วยป้องกันการทะลุได้)
  • 15. แนวทางการป้องกันและรักษาโรค การรักษา แพทย์จะให้รับประทานยาแก้ปวดลดไข้ เช่น พาราเซตามอล (Paracetamol) เท่าที่ จาเป็น และให้รับประทานยาปฏิชีวนะถ้าพบว่าเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น อะม็อกซีซิลลิน (Amoxicillin), โค ไตรม็อกซาโซล (Co-trimoxazole) หรืออิริโทรมัยซิน (Erythromycin) เพื่อกาจัดเชื้อแบคทีเรียที่เป็น สาเหตุ ซึ่งมักจะให้รับประทานติดต่อกันเป็นเวลา 10-14 วัน (ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค และแพทย์ อาจให้ยาหยอดหูร่วมด้วยในรายที่มีหนองไหลออกจากหูหรือมีหูชั้นนอกอักเสบร่วมด้วย) นอกจากนี้แพทย์อาจให้รับประทานยาแก้แพ้ (Antihistamine), ยาลดบวม, ยาหดหลอดเลือด (Oral decongestant) และพ่นจมูกด้วยยาหดหลอดเลือด (Topical decongestant) เพื่อทาให้เยื่อบุ บริเวณรูเปิดของท่อยูสเตเชียนยุบบวมและท่อยูสเตเชียนเปิดได้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้สารจากการอักเสบ หรือหนองที่อยู่ในหูชั้นกลางสามารถระบายออกจากท่อนี้ได้สะดวกขึ้น ถ้าอาการดีขึ้นใน 2-3 วันหลังจากรับประทานยาปฏิชีวนะ ให้รับประทานยาปฏิชีวนะต่อไปจน ครบตามที่แพทย์สั่ง แต่ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้น ควรกลับไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล ซึ่งแพทย์อาจต้องใช้เข็ม เจาะเพื่อระบายเอาหนองออกจากเยื่อแก้วหู ซึ่งเรียกว่า “การเจาะเยื่อแก้วหู” (Myringotomy) และหลังการ รักษาด้วยวิธีนี้เยื่อแก้วหูจะปิดได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์
  • 17. แนวทางการป้องกันและรักษาโรค วิธีป้องกันหูชั้นกลางอักเสบ 1.การป้องกันที่สาคัญคือการหลีกเลี่ยงหรือลดปัจจัยเสี่ยงที่พอทาได้ เช่น ควรให้ทารกกินนมมารดาอย่างน้อย 6 เดือน เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหูชั้นกลางอักเสบ 2.หลีกเลี่ยงการใช้จุกนมปลอม เพราะจะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดหูชั้นกลางอักเสบประมาณ 1.6-3 เท่า 3..ระมัดระวังอย่าให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน เช่น โรคหวัด ไซนัสอักเสบ ฯลฯ โดยการ หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทาให้ร่างกายมีภูมิต้านทานต่าลง (เช่น ความเครียด การพักผ่อนไม่เพียงพอ) หลีกเลี่ยงการสัมผัสอากาศที่ เย็นมาก ๆ, การดื่มน้าหรืออาบน้าเย็น ๆ, การตากลม, การสัมผัสอากาศที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว, การสัมผัสใกล้ชิดกับ ผู้ป่วยทั้งที่ในบ้านและในที่ทางาน, การไปยังสถานที่ที่มีคนมาก ซึ่งจะทาให้มีโอกาสติดเชื้อเพิ่มขึ้น เป็นต้น (แต่ถ้าเป็นแล้วก็ควรรีบ รักษาให้หายโดยเร็ว และถ้าเป็นหวัดก็ไม่ควรสั่งน้ามูกแรงเกินไป ในเด็กโตและผู้ใหญ่ การป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าวก็เป็นการ ป้องกันโรคนี้ไปในตัวด้วย) 4.หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่ที่มีควันบุหรี่ และให้งดการสูบบุหรี่ในครอบครัว โดยเฉพาะคุณพ่อคุณแม่ เพราะจะเป็นการ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดหูชั้นกลางอักเสบแก่บุตรของท่าน 5.ระมัดระวังอย่าให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุกับหู หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนบริเวณหูและบริเวณใกล้เคียง เพราะอาจทาให้แก้วหูทะลุและฉีกขาดได้
  • 18. แนวทางการป้องกันและรักษาโรค 6.ทาให้ร่างกายแข็งแรงเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่าง ๆ ด้วยการรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ให้ครบถ้วนทั้ง 5 หมู่ และหมั่นออกกาลังกายแบบแอโรบิก อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง 7.ถ้าเจ็บป่วยเป็นโรคนี้ ควรดูแลรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ อย่าปล่อยให้เป็นเรื้อรัง ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อ ตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างถูกต้อง (www.dmthai.orgnews_and_knowledge/list/154)
  • 19. สรุปโรคหูชั้นกลางอักเสบ 1.สาเหตุ-มักเกิดภายหลังจากการติดเชื้อทางเดินหายใจตอนบน เช่น ไข้หวัดใหญ่ หัด และคอตีบ เชื้อส่วนใหญ่ที่พบในเด็ก คือ ฮีโมฟิลัสอินฟูเอนซา (Hemophilus Influenza) ส่วนในผู้ใหญ่ คือ นิวโม คอคคัส (Pneumococci) การมีการอักเสบอย่างเรื้อรังจะมีผลทาให้เยื่อแก้วหูทะลุได้ 2.อาการ-ผู้ป่วยจะมีหูอื้อเพียงเล็กน้อย มีเสียงในหู ปวดหู พบเยื่อแก้วหูมีลักษณะบวมแดงจาก การที่มีเลือดมาเลี้ยงมากกว่าปกติ ต่อมามีปวดหูมากขึ้นมักปวดตอนกลางคืน มีกดเจ็บบริเวณรอบหู ในเด็ก พบมีไข้สูง ปวดศีรษะ มีคลื่นไส้อาเจียนได้ เกิดจากการที่มี ของเหลวหรือหนองขังอยู่ทาให้เยื่อแก้วหูโป่ง (Bulging) ต่อมาจะเกิดการทะลุของเยื่อแก้วหูได้ 3.การรักษาและป้องกัน-ระมัดระวังอย่าให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุกับหู หลีกเลี่ยงการ กระทบกระเทือนบริเวณหูและบริเวณใกล้เคียง เพราะอาจทาให้แก้วหูทะลุและฉีกขาดได้ ทาให้ร่างกายแข็งแรงเพื่อ ลดความเสี่ยง ถ้าเจ็บป่วยเป็นโรคนี้ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรับการรักษา
  • 20. บรรณานุกรม • https://www.medthai.com/หูชั้นกลางอักเสบ/ • http://rcot.org/data_detail.php?op=knowledge&id=160 • https://www.doctor.or.th/article/detail/10762 • http://www.healthtoday.net/thailand/disease/diisease_126.html • http://mutualselfcare.org/medicine/infectious/otitis_media.aspx