SlideShare a Scribd company logo
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง Multiple Sclerosis
ครูผู้สอน
อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิกในกลุ่มที่ 10
ห้อง 78
นายพัชรพล อมฤตธานนท์
เลขที่ 32
นายธนพล อาไพ
เลขที่ 29
นายภูมิภัทร วัฒนกุลจรัส
เลขที่35
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง หรือ MS
ประวัติความเป็นมาและอุบัติการของโรค
• โรคมัลติเพิล สเกลอโรซิส (อังกฤษ: multiple sclerosis, MS,
disseminated sclerosis, encephalomyelitis
disseminata) เป็นโรคซึ่งทาให้มีการทาลายปลอกไมอีลินซึ่งหุ้มใยประสาท
ของสมองและไขสันหลังเอาไว้ทาให้ใยประสาทไม่มีปลอกไมอีลินหุ้ม เกิดเป็น
เนื้อเยื่อแผลเป็น และมีอาการและอาการแสดงอื่นๆ ตามมา ส่วนใหญ่เริ่มมีอาการ
ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น และมักพบในเพศหญิง มีความชุกอยู่ระหว่าง 2 - 150 ต่อ
100,000 ประชากร โดยพบครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1868 โดยฌอง-มาร์ติน ชาร์โคต์
สาเหตุสาคัญของการเกิดโรค
• โรคเอมเอสเป็นโรคที่เกิดร่วมกันระหว่างการอักเสบ (Inflammation) และ
ความเสื่อม (Degeneration) โดยเริ่มจากกระบวนการผิดปกติของระบบ
ภูมิคุ้มกันต้านทานของร่างกาย (Immune system dysregulation) ซึ่ง
โดยปกติร่างกายจะมีกระบวนการจาว่า อะไรคือสิ่งที่เป็นของตนเอง อะไรคือสิ่ง
แปลกปลอม และมีกระบวนการป้องกันตนเอง
• ในโรคนี้เกิดความผิดปกติคือ ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานไม่สามารถจดจาและป้องกัน
ตนเองได้ดังนั้นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่เกี่ยวข้องจึงหลั่งสารที่ทาให้เกิดการทาลายปลอก
หุ้มเส้นประสาท หรือปลอกประสาท (Myelin sheath) และส่งผลให้เกิดปัญหา
ต่อเส้นประสาทตามมา (Axon/เส้นประสาทที่ต่อมาจากเซลล์ประสาทซึ่งจะนา
คาสั่งจากสมองไปยังส่วนที่เกี่ยวข้อง) ทาให้ระบบประสาทเหล่านี้สูญเสียหน้าที่และ
ตายไป ยังผลให้มีอาการต่างๆในบริเวณที่เส้นประสาทนั้นๆรับผิดชอบ
• เมื่อเกิดการอักเสบและการตายของระบบประสาทดังกล่าว ทาให้มีร่องรอยเหมือน
แผลเป็นที่เนื้อสมองและมักเกิดขึ้นในหลายๆตาแหน่งของเนื้อสมอง ซึ่งอาจตรวจ
พบได้จากการตรวจภาพสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กเอมอาร์ไอ (MRI)
• หากจะมองให้เห็นภาพ เปรียบเส้นประสาทกับเส้นลวดทองแดงของสายไฟ และ
ปลอกหุ้มเส้นประสาทคือปลอกสายไฟ หากปลอกหุ้มสายไฟผุกร่อนเสียหายไป
ย่อมเกิดปัญหาในการนากระแสไฟเช่นกัน
ลักษณะอาการสาคัญของโรค
• อาการของโรคเอมเอสแตกต่างกันได้มาก ขึ้นกับระบบประสาทที่ผิดปกติว่าเป็นส่วน
ใดและระบบประสาทส่วนนั้นเกี่ยวข้องกับอวัยวะใด เนื่องจากระบบประสาทเปรียบ
เหมือนศูนย์บัญชาการใหญ่ให้ร่างกายสามารถทางานประสานกันได้ตั้งแต่ระบบ
กล้ามเนื้อ ความรู้สึกต่างๆ การเจ็บปวด ร้อนหนาว ความคิด ความจา การมองเห็น การ
ได้ยิน ดังนั้นเมื่อเกิดโรคเอมเอสจึงเกิดความผิดปกติได้ทุกระบบของร่างกาย
• อาการที่พบได้บ่อยๆได้แก่ ความผิดปกติเกี่ยวกับการมองเห็น การเสียสมดุลในการ
ทรงตัว จึงพบปัญหาในการเดิน มีอาการอ่อนเพลีย เวียนศีรษะ เหนื่อย หมดแรง การ
ควบคุมกระ เพาะปัสสาวะผิดปกติ กล้ามเนื้อเกร็ง มีอาการสั่น มีความผิดปกติในการ
พูด การกลืน มีความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร (เช่น ท้องผูกท้องเสียเรื้อรัง) และ
ในระบบสืบพันธุ์ (เช่น มีบุตรยาก ความรู้สึกทางเพศลดลง)
• มีการสูญเสียความทรงจาจึงมีปัญหาด้านการเรียนและการจดจาสิ่งใหม่ๆ มี
ปัญหาด้านความคิด การวางแผนแก้ปัญหาต่างๆ และมีผลต่ออารมณ์ จึงทาให้
มีปัญหาในการทางานและในการประกอบอาชีพ
• บางคนต้องใช้เวลานานในการที่จะแสดงความคิดเห็นหรือการพูด เหมือนกับ
จะนึกออก แต่นึกไม่ออก คล้ายกับที่เรารู้สึกว่าสิ่งที่จะพูดนั้นติดอยู่ที่ริมฝีปาก
• อาการของโรคเอมเอสจะกระจายไปหลายอวัยวะได้พร้อมๆกัน ทาให้เกิด
อาการได้หลายๆ อาการในเวลาเดียวกันเช่น มีทั้งอาการทางดวงตาหรืออาการ
กับอวัยวะอื่นๆด้วยเช่น การพูดและ /หรืออาการทางการปัสสาวะ
• ในเด็ก ในเด็กอายุน้อยๆมักมีอาการเพียงกับอวัยวะเดียวเช่น มีการอักเสบที่
เส้นประสาทตา หรือที่ไขสันหลัง หรือที่ก้านสมอง ที่ใดที่หนึ่ง แต่อาการใน
เด็กวัยรุ่น 80% จะคล้ายกับอาการในผู้ใหญ่คือมักเป็นอาการจากหลายๆ
อวัยวะ
แนวทางในการป้องกัน และรักษาโรค
• การรักษาโรคใดๆทางการแพทย์จะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ
1.การรักษาจาเพาะโรค (Specific treatment)
2.การรักษาประคับประคองตามอาการ (Supportive treatment) คือ การ
รักษาอาการต่างๆเพื่อให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย หายจากอาการต่างๆหรือให้มี
อาการน้อยลง
เนื่องจากโรคนี้ไม่หายขาดและ
จากข้อมูลที่ว่าโรคเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของภูมิคุ้มกันต้านทาน การรักษาใน
ปัจจุบันจึงใช้ยาที่ไปจัดการไม่ให้ภูมิคุ้มกันต้านทานทาลายเนื้อเยื่อของตนเองโดยให้
ยา
• กลุ่มสเตียรอยด์
• กลุ่มอินเตอร์เฟอร์รอน-เบตา (Interferon-beta)
• กลุ่มยาซึ่งทาลายเซลล์ที่สร้างภูมิคุ้มกันต้านทานที่ทาให้เกิดโรคโดยตรง (กลุ่มโมโน
โคลนอลแอนติบอดี/Monoclonal antibody)
• หรือการกาจัดสารภูมิคุ้มกัน (Antibody) ที่ผิดปกติโดยการเปลี่ยนถ่ายพลาสมา
(Plasma exchange)
• ในปัจจุบันมีการวิจัยใหม่ๆที่พยายามรักษาโรคนี้แต่ยังไม่มีข้อสรุปผลชัดเจน
• การจะรักษาด้วยยาชนิดใดนั้นขึ้นอยู่กับการพิจารณาของแพทย์ ซึ่งส่วนใหญ่แพทย์
จะให้ยาในช่วงที่มีอาการกาเริบและจะมีแบบแผนการใช้ยา โดยจะพิจารณาจาก
ปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน ซึ่งอาการและการตอบสนองต่อการรักษาในผู้ป่วยแต่
ละคนมักแตกต่างกัน
• เนื่องจากอาการที่มักมีปัญหาในโรคนี้มีหลากหลายอาการ การรักษาจึงเป็นการรักษา
ร่วมกันระหว่างยาและการดาเนินชีวิต (Life style) เช่น หากมีอาการสั่น อาการ
เกร็ง อาการปัสสาวะบ่อย อาการนอนไม่หลับ แพทย์จะให้ยารักษาหรือบรรเทาอาการ
ดังกล่าว
• การดาเนินชีวิตเป็นเรื่องสาคัญ เน้นการออกกาลังกายให้กล้ามเนื้อแข็งแรงอยู่เสมอ เน้น
เรื่องการกินอาหารให้เหมาะสม กินอาหารไขมันลดลง กินอาหารที่มีกากใยและกินผัก
ผลไม้มากขึ้น งดกาแฟ งดแอลกอฮอล์ งดบุหรี่ กินอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามินดีสูง
ด้วยเพื่อจะช่วยเรื่องโรคกระดูกพรุนหรือโรคกระดูกบางด้วย
• การออกกาลังกายช่วยให้ร่างกายมีการใช้กล้ามเนื้อต่างๆดีขึ้น ทาให้กล้ามเนื้อและ
กระดูกแข็งแรง ทาให้นอนหลับดีขึ้น ลดภาวะเครียดซึ่งมีผลดีต่อโรคด้วย
• ดังนั้นการรักษาผู้ป่วยเอมเอสจึงเป็นการรักษาแบบองค์รวมโดยสหสาขาวิชาชีพคือ
แพทย์ ทางอายุรกรรมทั่วไป แพทย์ทางระบบประสาท แพทย์ทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู นัก
กายภาพบาบัด นอกจากนี้หากมีปัญหาแพทย์ทางจิตเวชก็มีส่วนร่วมช่วยเหลือผู้ป่วยได้ดี
รวมทั้งพยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร นักโภชนาการ ล้วนมีบทบาทในการ
ช่วยเหลือผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้มาก
บทสรุปโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
• โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งนั้นเป็นโรคที่เกิดได้กับทุกวัย เราควรดูแลตัวเองดีๆ
ให้ไม่เกิดโรคนี้ โรคนี้เป็นแล้วปัจจุบันยังไม่วิธีการป้องกันไม่ให้มันเกิดได้ ถ้า
เป็นโรคปลอกประสาทเสื่อมแล้วการดารงชีวิตจะยากลาบากมาก เพราะฉะนั้น
ควรดูแลรักาตัวเองดีๆ โดยการออกกาลังกาย กินอาหารครบ5หมู่ ไม่สูบบุหรี่
บรรณานุกรม
• http://haamor.com/th
• https://th.wikipedia.org/wiki
• https://www.mssociety.org.uk/
• https://www.honestdocs.co/what-is-multiple-sclerosis
• http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/admin/article_files/1232_1.pdf
กล่าวขอบคุณ
• ขอขอบคุณ ครูวิชัย ที่ช่วยให้คาปรึกษาในการทางานนี้ให้สาเร็จลุล่วง
งานออกมาดี แม้อาจจะมีข้อผิดพลาดบ้าง ขอบคุณเพื่อนในกลุ่มที่
ช่วยกันทางานนี้ออกมาให้สาเร็จลุล่วงได้
N sdis 78_60_10
N sdis 78_60_10

More Related Content

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

N sdis 78_60_10