SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
26 มีนาคม 2561
คาถามที่ 1 ถามว่า
 ในการให้คะแนน เราขอให้คุณกาหนดช่วงคะแนนที่ "อธิบายได้
ตรงกับความจริงมากที่สุด (most descriptive)" ของผลปฏิบัติงาน
 สาหรับการตัดสินใจเลือกคาว่า "แบบองค์รวม (holistic)" นี้
เจตนาคานึงถึงคาจากัดความตามพจนานุกรม คือความคิดที่ว่า
ทั้งหมดเป็นมากกว่าผลรวมของส่วนต่าง ๆ (the whole is more
than merely the sum of its parts)
 ความคล้ายคลึงกัน อาจเป็นเรื่องของชายตาบอดหลายคนคลา
ช้าง ซึ่งเป็นสัตว์ที่ซับซ้อน แต่ละคนจะบอกเล่า ขึ้นอยู่กับสิ่งที่เขา
คลาช้างแต่ละส่วน แล้วตั้งข้อสังเกตขึ้นมา พวกเขามีคาอธิบายที่
แตกต่างกัน และไม่มีคาอธิบายใดที่ถูกต้อง
 การให้คะแนนแบบองค์รวม ไม่ได้เป็นวิทยาศาสตร์ และไม่ได้
หมายความว่าจะให้เป็น เป็นเพียงคาแปล
 การให้คะแนนของผู้ตรวจประเมินแต่ละบุคคล ที่ทางานเป็น
อิสระ ให้มีความสอดคล้องเหมือนกัน ไม่ได้เป็นเป้ าประสงค์
 การให้คะแนนโดยผู้ตรวจประเมินจากการทา IR (Independent
Review) ที่หลากหลาย ทาให้เกิดการอภิปรายที่หลากหลาย
ระหว่าง การตรวจทานร่วมกัน (Consensus Review) ที่เป็นการ
อภิปรายในหมู่ผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะนาไปสู่ความเข้าใจผู้สมัครที่
สมบูรณ์มากขึ้น และให้คะแนนที่ถูกต้องมากขึ้น
 หากเกณฑ์การให้คะแนนมีความสอดคล้องกันอย่างสมบูรณ์ที่ IR
เราก็ไม่จาเป็นต้องทา CR (Consensus Review)
 มีบางโปรแกรมใช้ "เกณฑ์การสอบเทียบเกณฑ์ (scoring
calibration)" และ "ประตูกั้น (gates)" เพื่อป้ องกันการให้คะแนน
ที่สูงขึ้น แต่ในโปรแกรมระดับชาติ ไม่ใช้วิธีนี้ ในการให้คะแนน
คาถามที่ 2 ถามว่า
 คุณค่าที่เพิ่มขึ้นคือ ความถูกต้องของคะแนน ซึ่งสะท้อนถึง
ผู้สมัครโดยภาพรวม เป็นเรื่องของ การมุ่งความถูกต้อง ไม่ใช่แค่
ความน่าเชื่อถือ (validity, not just reliability)
 ในการให้คะแนนแบบองค์รวม ไม่ใช้ปัจจัยการประเมินตัวใดตัว
หนึ่ง เป็นประตูกีดกันคะแนนจากช่วงที่สูงขึ้น
 การใช้สูตรทางคณิตศาสตร์สาหรับการให้คะแนน ที่มีปัจจัยการ
พิจารณาหนึ่งใดเป็นประตูกั้น (gate) อาจส่งผลให้คะแนนที่ต่า
กว่า และไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง
 นอกจากนี้ ถ้าการใช้แนวทางการคานวณมีความเป็นไปได้ เราก็
ไม่จาเป็นต้องทา การตรวจทานข้อตกลงร่วมกัน (Consensus
Review)
คาถามที่ 3 ถามว่า
 นี่คือตัวอย่าง: การมีแนวทาง (approach) ที่ตอบสนองต่อความ
ต้องการโดยรวม (overall requirements = 50-65%) มีการนาไป
ปฏิบัติได้ดี ไม่มีช่องว่างอย่างมีนัยสาคัญ มีการประเมิน ปรับปรุง
อย่างเป็นระบบ และมีการเรียนรู้ขององค์กร ที่ใช้เป็นเครื่องมือ
ในการจัดการที่สาคัญ สอดคล้องกับความต้องการขององค์กรใน
ปัจจุบันและอนาคต (70-85%) องค์กรนี้ น่าจะให้คะแนนได้ถึง
70-85%
 สาหรับกรณีนี้ สถานการณ์นี้ อาจไม่เป็นที่พบบ่อย แต่มีความ
เป็นไปได้อย่างแน่นอน
 คะแนนควรเป็นผลจากการประเมินแบบองค์รวมทั้งสี่ปัจจัย เพื่อ
กาหนดช่วงที่เหมาะสมที่สุด ในการกาหนดระดับวุฒิภาวะของ
ผู้สมัคร
 องค์ประกอบของ การมีแนวทาง (A = 50-65%) ที่ข้อกาหนด
โดยรวม อาจเป็นประโยชน์ในการบ่งชี้ตาแหน่งที่จะเริ่มต้นการ
สนทนาของช่วงคะแนนที่จะเลือก แต่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการให้
คะแนนที่สูงขึ้น (not as a barrier to higher levels of scoring)
คาถามที่ 4 ถามว่า
 บ่อยครั้ง ที่ปัจจัยการประเมินผลที่ดูเหมือนว่า ดึงคะแนน (อย่าง
ผิดพลาด) คือ การนาไปปฏิบัติ และการเรียนรู้ (deployment and
learning)
 ตัวอย่างเช่น องค์กรอาจมี แนวทางที่เป็นระบบ (systematic
approach) ที่บูรณาการเข้ากับความต้องการขององค์กร แต่การ
นาไปปฏิบัติในบางตาแหน่งที่อยู่ระยะไกล หรือบางหน่วยที่พึ่งได้
รับมาเมื่อเร็วๆ นี้ อยู่ในระยะเริ่มต้น ผู้ตรวจประเมินบางรายอาจ
ให้ผู้สมัครออกจากช่วงคะแนนที่สูงกว่า เนื่องจากกรณีเล็กๆ
เหล่านี้ ที่ขาดการนาไปปฏิบัติ (minor cases of lack of deployment)
 ในทานองเดียวกัน แนวทางอาจมีประสิทธิผลและเป็นระบบ การ
นาไปปฏิบัติทาได้ดี และบูรณาการเข้ากับความต้องการของ
องค์กร แต่ไม่มีนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง การใช้ปัจจัยนี้ กดคะแนน
จึงเป็นการ ไม่ถูกต้อง
 ความคิดเห็น ต้องสอดคล้องกับคะแนนที่ได้ เพราะทั้งสอง
ประการนี้ เป็นการบอกผู้สมัครจุดที่พวกเขายืนอยู่
 โปรแกรม Baldrige ไม่ได้ขอให้คุณหา "โอกาสพัฒนาที่ใช้ปิ ดกั้น
(blocking OFIs)" เพื่อใช้ ควบคุม (capitate) คะแนน
คาถามที่ 5 ถามว่า
 เราไม่มีการทดสอบ แต่เราคาดหวังและต้องการความแตกต่าง
ระหว่างสมาชิกในทีมในระหว่าง การทบทวนอิสระ (Independent
Review) ขั้นตอนนี้ ต้องใช้การตัดสินและการตีความด้วยตนเอง
 และยังมี การตรวจสอบข้อตกลงร่วมกัน (Consensus Review) ซึ่ง
เป็นกระบวนการในการหาตาแหน่งที่องค์กรยืนอยู่ เมื่อเทียบกับ
การให้คะแนน
 ความห่วงใยอาจเกิดขึ้น เมื่อมีความแปรปรวนมากเกินไป และ
ได้มีการพยายามลดความแปรปรวนนี้ ด้วยการฝึกอบรม
คาถามที่ 6 ถามว่า
 เป็นความเข้าใจผิด ข้อกาหนดโดยรวมที่เป็นตัวหนาถือว่าเป็น
ข้อกาหนดย่อยด้วย (The bolded overall requirements ARE
multiple requirements.)
 ข้อกาหนดโดยรวม เป็นข้อกาหนดที่สาคัญที่สุดและหรือเป็น
พื้นฐานของข้อกาหนดย่อยด้วย ดังนั้นเราจึงระบุว่า "โดยรวม
(overall)" แต่ก็ยังคงถือว่าเป็นข้อกาหนดย่อย
 ใน ประเด็นพิจารณา (areas to address) ที่มีแต่ ความต้องการ
โดยรวม (overall requirements) องค์กรที่มีการปฏิบัติตรงตาม
ความต้องการโดยรวม ยังถือได้ว่าปฏิบัติตรงตามข้อกาหนดย่อย
ด้วย
 อาจได้คะแนนเพิ่มด้วยซ้า (ยกเว้นกรณีผู้ตรวจประเมินที่ให้
คะแนนแบบทีละความต้องการ) ซึ่งโดยมากพวกเขามองไปที่
ภาพรวมและปัจจัยการให้คะแนนทั้งหมด ไม่ใช่แค่ปัจจัย
"แนวทาง (approach)" เท่านั้น
คาถามที่ 7 ถามว่า
 ข้อกาหนดย่อยของผลลัพธ์ ที่ต้องมีการเปรียบเทียบใช้เฉพาะ
ต่อเมื่อมีความสาคัญสาหรับองค์กรเท่านั้น (เช่น ผลลัพธ์ของ
ลูกค้าใน 7.2ก[1], ผลิตภัณฑ์และบริการใน 7.1ก และ
ประสิทธิผล/ประสิทธิภาพของกระบวนการใน 7.1ข[1])
นอกจากนี้ ยังเป็นส่วนหนึ่งของ ผลลัพธ์ทางการตลาด 7.5ก(2)
 การเปรียบเทียบ (Comparisons) เป็นสัญญาณของวุฒิภาวะ ที่มี
การอ้างอิงถึงเกณฑ์การให้คะแนนตั้งแต่ช่วง 10-25% แต่จริงๆ
เริ่มชัดเจนที่ 50-65% ซึ่งเป็นความต้องการข้อกาหนดโดยรวม
 กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็นความ "ต้องการ (required)" หรือ
"คาดหวัง (expected)" ของการตอบสนองข้อกาหนดย่อย (70-
85%) แต่องค์กรก็สามารถแสดงได้ในช่วงคะแนน 50-65%
 เราไม่ได้คาดหวังว่าจะมีการเปรียบเทียบ จนกว่าองค์กรจะมีวุฒิ
ภาวะเพียงพอ (ตัวอย่างได้แก่ การกากับดูแลองค์กร และการ
พัฒนาบุคลากร)
 การมีเกณฑ์เหล่านี้ เป็นส่วนหนึ่งในเกณฑ์การให้คะแนน แทน
ข้อกาหนดในเกณฑ์ จะช่วยสื่อสารและให้ความยืดหยุ่นกับ
องค์กรว่า ควรจะติดตามและใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าว
คาถามที่ 8 ถามว่า
 เกณฑ์ให้มีการเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันในเรื่องที่มีความสาคัญ
เป็นพิเศษ ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นส่วนหนึ่งของประเด็น
เหล่านี้ ดังนั้นการใช้การเปรียบเทียบกับคู่แข่ง จึงเป็ นส่วนหนึ่ง
ของ ข้อกาหนดย่อย (multiple requirements) สาหรับข้อ 7.2ก(1)
 การเปรียบเทียบเป็นปัจจัยการประเมินในแนวทางการให้คะแนน
เป็นเรื่องของวุฒิภาวะ ดังนั้นช่วงคะแนนที่ 50-65% จึงเรียกร้อง
ให้มี การเปรียบเทียบที่เกี่ยวข้อง (relevant comparisons)
 ช่วงคะแนน 70-85% เรียกร้อง "ความเป็นผู้นา (leadership)"
ความหมายนี้ จึงรวมถึง การเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันด้วย
คาถามที่ 9 ถามว่า
 ไม่ต้อง "การตอบสนองความต้องการย่อยได้อย่างครบถ้วน"
สะท้อนถึงคาอธิบายแนวทางในช่วง 90-100% นั่นหมายความ
ว่า องค์กรที่ได้คะแนน 70-85% อาจมีช่องว่างบ้าง
 ความสาคัญของช่องว่างเหล่านี้ จะส่งผลต่อการที่อยู่ในช่วง
คะแนนที่ลดลง แต่คุณไม่ควรคาดหวังว่า องค์กรจะสามารถ
ตอบสนองทุกความต้องการย่อยในช่วงคะแนน 70-85%
 แน่นอน คุณจะดูผลงานขององค์กรด้วยปัจจัยการประเมิน
ทั้งหมด และเลือกช่วงที่สื่อความหมายมากที่สุด คุณจะไม่เลือก
คะแนนตามปัจจัยของ แนวทาง (approach) เท่านั้น
คาถามที่ 10 ถามว่า
 หมายเหตุแรกใน 7.4 อธิบายว่า ระดับและแนวโน้ม (levels and
trends) อาจไม่จาเป็น เนื่องจากองค์กรอาจรายงานมาตรการหรือ
ตัวชี้วัดบางอย่างที่ไม่เป็นปริมาณ และหรือไม่มีแนวโน้ม
 ในกรณีนี้ คุณควรพิจารณาว่าผลลัพธ์/ตัวชี้วัดที่รายงาน มีความ
เหมาะสมและตอบสนองต่อความต้องการขั้นพื้นฐาน ขั้นโดยรวม
หรือขั้นย่อย และเป็นไปตามความต้องการขององค์กรและความ
คาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียหลัก (มี Integration) หรือไม่
 อย่างไรก็ตาม ถ้าผู้สมัครรายงานข้อมูลเชิงปริมาณ คุณควร
ประเมินระดับและแนวโน้ม (อยู่ในหมายเหตุ 1 ด้วย)
คาถามที่ 11 ถามว่า
 คุณอาจไม่ให้ โอกาสพัฒนา หรือ OFI (Opportunity for
Improvement) สาหรับการไม่มีการเปรียบเทียบ ในมาตรการที่มี
ประสิทธิภาพอย่างสม่าเสมอที่ 100%
 แต่การมีการเปรียบเทียบเหล่านี้ จะช่วยให้คุณทราบว่าคู่แข่งอยู่
ที่ 100% หรืออยู่ที่ประมาณ 75% หรือไม่?
 การบรรลุเป้ าหมาย 100% ดูเหมือนจะเป็นเรื่องไม่ใหญ่ ในขณะ
ที่ความเชื่อมั่นว่าเป็นไปได้อยู่แล้วอย่างแน่นอน
 และอาจไม่น่าประทับใจ เท่ากับสถานการณ์ส่วนใหญ่ขององค์กร
อื่นๆ พยายามที่จะบรรลุถึง 75%
คาถามที่ 12 ถามว่า
 เกณฑ์การให้คะแนน อ้างอิงถึงสารสนเทศการเปรียบเทียบเช่น
การเทียบเคียง (benchmark) ไม่ได้เฉพาะเจาะจงสาหรับ การ
เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน (competitive comparisons)
 อย่างไรก็ตาม รายการผลลัพธ์โดยเฉพาะที่เรียกร้องให้มีการ
เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน อยู่ในเรื่องที่มีความสาคัญสาหรับ
องค์กร (เช่น 7.1ก, 7.1ข[1], 7.2ก[1])
 ในบางครั้ง ข้อมูลคู่แข่งขันไม่สามารถหามาได้ ในกรณีเช่นนี้ เรา
ยังคาดหวังว่า องค์กรจะใช้ข้อมูลเปรียบเทียบที่ดีที่สุด
คาถามที่ 13 ถามว่า
 ขอบเขตของนวัตกรรม ("การเปลี่ยนแปลงที่มีความหมายเพื่อ
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์กระบวนการ ... และสร้างคุณค่าใหม่ ๆ
สาหรับผู้มีส่วนได้เสีย") อยู่ในมิติ การเรียนรู้ (Learning) โดยเริ่ม
จากช่วงคะแนนที่ 50-65%
 บางโปรแกรม แบ่งคานิยามของนวัตกรรมออกเป็นสองแบบและ
แยกเป็นสองช่วงคะแนน แต่โปรแกรมระดับชาติ ไม่ใช้วิธีนี้ ใน
การให้คะแนน
Lao-Tzu

More Related Content

What's hot

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้NU
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 

What's hot (7)

Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัดSpss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
2016 comment guidelines
2016 comment guidelines2016 comment guidelines
2016 comment guidelines
 
2016 key theme
2016 key theme2016 key theme
2016 key theme
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 

Similar to Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ

วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดSudaratJanthathep
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พrootssk_123456
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.Garsiet Creus
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.Lhin Za
 

Similar to Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ (10)

Award scoring
Award scoringAward scoring
Award scoring
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
 
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
 
Ch amp handout text
Ch amp handout textCh amp handout text
Ch amp handout text
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 26 มีนาคม 2561
  • 3.  ในการให้คะแนน เราขอให้คุณกาหนดช่วงคะแนนที่ "อธิบายได้ ตรงกับความจริงมากที่สุด (most descriptive)" ของผลปฏิบัติงาน  สาหรับการตัดสินใจเลือกคาว่า "แบบองค์รวม (holistic)" นี้ เจตนาคานึงถึงคาจากัดความตามพจนานุกรม คือความคิดที่ว่า ทั้งหมดเป็นมากกว่าผลรวมของส่วนต่าง ๆ (the whole is more than merely the sum of its parts)  ความคล้ายคลึงกัน อาจเป็นเรื่องของชายตาบอดหลายคนคลา ช้าง ซึ่งเป็นสัตว์ที่ซับซ้อน แต่ละคนจะบอกเล่า ขึ้นอยู่กับสิ่งที่เขา คลาช้างแต่ละส่วน แล้วตั้งข้อสังเกตขึ้นมา พวกเขามีคาอธิบายที่ แตกต่างกัน และไม่มีคาอธิบายใดที่ถูกต้อง
  • 4.  การให้คะแนนแบบองค์รวม ไม่ได้เป็นวิทยาศาสตร์ และไม่ได้ หมายความว่าจะให้เป็น เป็นเพียงคาแปล  การให้คะแนนของผู้ตรวจประเมินแต่ละบุคคล ที่ทางานเป็น อิสระ ให้มีความสอดคล้องเหมือนกัน ไม่ได้เป็นเป้ าประสงค์  การให้คะแนนโดยผู้ตรวจประเมินจากการทา IR (Independent Review) ที่หลากหลาย ทาให้เกิดการอภิปรายที่หลากหลาย ระหว่าง การตรวจทานร่วมกัน (Consensus Review) ที่เป็นการ อภิปรายในหมู่ผู้ตรวจประเมิน ซึ่งจะนาไปสู่ความเข้าใจผู้สมัครที่ สมบูรณ์มากขึ้น และให้คะแนนที่ถูกต้องมากขึ้น
  • 5.  หากเกณฑ์การให้คะแนนมีความสอดคล้องกันอย่างสมบูรณ์ที่ IR เราก็ไม่จาเป็นต้องทา CR (Consensus Review)  มีบางโปรแกรมใช้ "เกณฑ์การสอบเทียบเกณฑ์ (scoring calibration)" และ "ประตูกั้น (gates)" เพื่อป้ องกันการให้คะแนน ที่สูงขึ้น แต่ในโปรแกรมระดับชาติ ไม่ใช้วิธีนี้ ในการให้คะแนน
  • 7.  คุณค่าที่เพิ่มขึ้นคือ ความถูกต้องของคะแนน ซึ่งสะท้อนถึง ผู้สมัครโดยภาพรวม เป็นเรื่องของ การมุ่งความถูกต้อง ไม่ใช่แค่ ความน่าเชื่อถือ (validity, not just reliability)  ในการให้คะแนนแบบองค์รวม ไม่ใช้ปัจจัยการประเมินตัวใดตัว หนึ่ง เป็นประตูกีดกันคะแนนจากช่วงที่สูงขึ้น  การใช้สูตรทางคณิตศาสตร์สาหรับการให้คะแนน ที่มีปัจจัยการ พิจารณาหนึ่งใดเป็นประตูกั้น (gate) อาจส่งผลให้คะแนนที่ต่า กว่า และไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง  นอกจากนี้ ถ้าการใช้แนวทางการคานวณมีความเป็นไปได้ เราก็ ไม่จาเป็นต้องทา การตรวจทานข้อตกลงร่วมกัน (Consensus Review)
  • 9.  นี่คือตัวอย่าง: การมีแนวทาง (approach) ที่ตอบสนองต่อความ ต้องการโดยรวม (overall requirements = 50-65%) มีการนาไป ปฏิบัติได้ดี ไม่มีช่องว่างอย่างมีนัยสาคัญ มีการประเมิน ปรับปรุง อย่างเป็นระบบ และมีการเรียนรู้ขององค์กร ที่ใช้เป็นเครื่องมือ ในการจัดการที่สาคัญ สอดคล้องกับความต้องการขององค์กรใน ปัจจุบันและอนาคต (70-85%) องค์กรนี้ น่าจะให้คะแนนได้ถึง 70-85%  สาหรับกรณีนี้ สถานการณ์นี้ อาจไม่เป็นที่พบบ่อย แต่มีความ เป็นไปได้อย่างแน่นอน
  • 10.  คะแนนควรเป็นผลจากการประเมินแบบองค์รวมทั้งสี่ปัจจัย เพื่อ กาหนดช่วงที่เหมาะสมที่สุด ในการกาหนดระดับวุฒิภาวะของ ผู้สมัคร  องค์ประกอบของ การมีแนวทาง (A = 50-65%) ที่ข้อกาหนด โดยรวม อาจเป็นประโยชน์ในการบ่งชี้ตาแหน่งที่จะเริ่มต้นการ สนทนาของช่วงคะแนนที่จะเลือก แต่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการให้ คะแนนที่สูงขึ้น (not as a barrier to higher levels of scoring)
  • 12.  บ่อยครั้ง ที่ปัจจัยการประเมินผลที่ดูเหมือนว่า ดึงคะแนน (อย่าง ผิดพลาด) คือ การนาไปปฏิบัติ และการเรียนรู้ (deployment and learning)  ตัวอย่างเช่น องค์กรอาจมี แนวทางที่เป็นระบบ (systematic approach) ที่บูรณาการเข้ากับความต้องการขององค์กร แต่การ นาไปปฏิบัติในบางตาแหน่งที่อยู่ระยะไกล หรือบางหน่วยที่พึ่งได้ รับมาเมื่อเร็วๆ นี้ อยู่ในระยะเริ่มต้น ผู้ตรวจประเมินบางรายอาจ ให้ผู้สมัครออกจากช่วงคะแนนที่สูงกว่า เนื่องจากกรณีเล็กๆ เหล่านี้ ที่ขาดการนาไปปฏิบัติ (minor cases of lack of deployment)
  • 13.  ในทานองเดียวกัน แนวทางอาจมีประสิทธิผลและเป็นระบบ การ นาไปปฏิบัติทาได้ดี และบูรณาการเข้ากับความต้องการของ องค์กร แต่ไม่มีนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง การใช้ปัจจัยนี้ กดคะแนน จึงเป็นการ ไม่ถูกต้อง  ความคิดเห็น ต้องสอดคล้องกับคะแนนที่ได้ เพราะทั้งสอง ประการนี้ เป็นการบอกผู้สมัครจุดที่พวกเขายืนอยู่  โปรแกรม Baldrige ไม่ได้ขอให้คุณหา "โอกาสพัฒนาที่ใช้ปิ ดกั้น (blocking OFIs)" เพื่อใช้ ควบคุม (capitate) คะแนน
  • 15.  เราไม่มีการทดสอบ แต่เราคาดหวังและต้องการความแตกต่าง ระหว่างสมาชิกในทีมในระหว่าง การทบทวนอิสระ (Independent Review) ขั้นตอนนี้ ต้องใช้การตัดสินและการตีความด้วยตนเอง  และยังมี การตรวจสอบข้อตกลงร่วมกัน (Consensus Review) ซึ่ง เป็นกระบวนการในการหาตาแหน่งที่องค์กรยืนอยู่ เมื่อเทียบกับ การให้คะแนน  ความห่วงใยอาจเกิดขึ้น เมื่อมีความแปรปรวนมากเกินไป และ ได้มีการพยายามลดความแปรปรวนนี้ ด้วยการฝึกอบรม
  • 17.  เป็นความเข้าใจผิด ข้อกาหนดโดยรวมที่เป็นตัวหนาถือว่าเป็น ข้อกาหนดย่อยด้วย (The bolded overall requirements ARE multiple requirements.)  ข้อกาหนดโดยรวม เป็นข้อกาหนดที่สาคัญที่สุดและหรือเป็น พื้นฐานของข้อกาหนดย่อยด้วย ดังนั้นเราจึงระบุว่า "โดยรวม (overall)" แต่ก็ยังคงถือว่าเป็นข้อกาหนดย่อย
  • 18.  ใน ประเด็นพิจารณา (areas to address) ที่มีแต่ ความต้องการ โดยรวม (overall requirements) องค์กรที่มีการปฏิบัติตรงตาม ความต้องการโดยรวม ยังถือได้ว่าปฏิบัติตรงตามข้อกาหนดย่อย ด้วย  อาจได้คะแนนเพิ่มด้วยซ้า (ยกเว้นกรณีผู้ตรวจประเมินที่ให้ คะแนนแบบทีละความต้องการ) ซึ่งโดยมากพวกเขามองไปที่ ภาพรวมและปัจจัยการให้คะแนนทั้งหมด ไม่ใช่แค่ปัจจัย "แนวทาง (approach)" เท่านั้น
  • 20.  ข้อกาหนดย่อยของผลลัพธ์ ที่ต้องมีการเปรียบเทียบใช้เฉพาะ ต่อเมื่อมีความสาคัญสาหรับองค์กรเท่านั้น (เช่น ผลลัพธ์ของ ลูกค้าใน 7.2ก[1], ผลิตภัณฑ์และบริการใน 7.1ก และ ประสิทธิผล/ประสิทธิภาพของกระบวนการใน 7.1ข[1]) นอกจากนี้ ยังเป็นส่วนหนึ่งของ ผลลัพธ์ทางการตลาด 7.5ก(2)  การเปรียบเทียบ (Comparisons) เป็นสัญญาณของวุฒิภาวะ ที่มี การอ้างอิงถึงเกณฑ์การให้คะแนนตั้งแต่ช่วง 10-25% แต่จริงๆ เริ่มชัดเจนที่ 50-65% ซึ่งเป็นความต้องการข้อกาหนดโดยรวม
  • 21.  กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เป็นความ "ต้องการ (required)" หรือ "คาดหวัง (expected)" ของการตอบสนองข้อกาหนดย่อย (70- 85%) แต่องค์กรก็สามารถแสดงได้ในช่วงคะแนน 50-65%  เราไม่ได้คาดหวังว่าจะมีการเปรียบเทียบ จนกว่าองค์กรจะมีวุฒิ ภาวะเพียงพอ (ตัวอย่างได้แก่ การกากับดูแลองค์กร และการ พัฒนาบุคลากร)  การมีเกณฑ์เหล่านี้ เป็นส่วนหนึ่งในเกณฑ์การให้คะแนน แทน ข้อกาหนดในเกณฑ์ จะช่วยสื่อสารและให้ความยืดหยุ่นกับ องค์กรว่า ควรจะติดตามและใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าว
  • 23.  เกณฑ์ให้มีการเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันในเรื่องที่มีความสาคัญ เป็นพิเศษ ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นส่วนหนึ่งของประเด็น เหล่านี้ ดังนั้นการใช้การเปรียบเทียบกับคู่แข่ง จึงเป็ นส่วนหนึ่ง ของ ข้อกาหนดย่อย (multiple requirements) สาหรับข้อ 7.2ก(1)  การเปรียบเทียบเป็นปัจจัยการประเมินในแนวทางการให้คะแนน เป็นเรื่องของวุฒิภาวะ ดังนั้นช่วงคะแนนที่ 50-65% จึงเรียกร้อง ให้มี การเปรียบเทียบที่เกี่ยวข้อง (relevant comparisons)  ช่วงคะแนน 70-85% เรียกร้อง "ความเป็นผู้นา (leadership)" ความหมายนี้ จึงรวมถึง การเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันด้วย
  • 25.  ไม่ต้อง "การตอบสนองความต้องการย่อยได้อย่างครบถ้วน" สะท้อนถึงคาอธิบายแนวทางในช่วง 90-100% นั่นหมายความ ว่า องค์กรที่ได้คะแนน 70-85% อาจมีช่องว่างบ้าง  ความสาคัญของช่องว่างเหล่านี้ จะส่งผลต่อการที่อยู่ในช่วง คะแนนที่ลดลง แต่คุณไม่ควรคาดหวังว่า องค์กรจะสามารถ ตอบสนองทุกความต้องการย่อยในช่วงคะแนน 70-85%  แน่นอน คุณจะดูผลงานขององค์กรด้วยปัจจัยการประเมิน ทั้งหมด และเลือกช่วงที่สื่อความหมายมากที่สุด คุณจะไม่เลือก คะแนนตามปัจจัยของ แนวทาง (approach) เท่านั้น
  • 27.  หมายเหตุแรกใน 7.4 อธิบายว่า ระดับและแนวโน้ม (levels and trends) อาจไม่จาเป็น เนื่องจากองค์กรอาจรายงานมาตรการหรือ ตัวชี้วัดบางอย่างที่ไม่เป็นปริมาณ และหรือไม่มีแนวโน้ม  ในกรณีนี้ คุณควรพิจารณาว่าผลลัพธ์/ตัวชี้วัดที่รายงาน มีความ เหมาะสมและตอบสนองต่อความต้องการขั้นพื้นฐาน ขั้นโดยรวม หรือขั้นย่อย และเป็นไปตามความต้องการขององค์กรและความ คาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียหลัก (มี Integration) หรือไม่  อย่างไรก็ตาม ถ้าผู้สมัครรายงานข้อมูลเชิงปริมาณ คุณควร ประเมินระดับและแนวโน้ม (อยู่ในหมายเหตุ 1 ด้วย)
  • 29.  คุณอาจไม่ให้ โอกาสพัฒนา หรือ OFI (Opportunity for Improvement) สาหรับการไม่มีการเปรียบเทียบ ในมาตรการที่มี ประสิทธิภาพอย่างสม่าเสมอที่ 100%  แต่การมีการเปรียบเทียบเหล่านี้ จะช่วยให้คุณทราบว่าคู่แข่งอยู่ ที่ 100% หรืออยู่ที่ประมาณ 75% หรือไม่?  การบรรลุเป้ าหมาย 100% ดูเหมือนจะเป็นเรื่องไม่ใหญ่ ในขณะ ที่ความเชื่อมั่นว่าเป็นไปได้อยู่แล้วอย่างแน่นอน  และอาจไม่น่าประทับใจ เท่ากับสถานการณ์ส่วนใหญ่ขององค์กร อื่นๆ พยายามที่จะบรรลุถึง 75%
  • 31.  เกณฑ์การให้คะแนน อ้างอิงถึงสารสนเทศการเปรียบเทียบเช่น การเทียบเคียง (benchmark) ไม่ได้เฉพาะเจาะจงสาหรับ การ เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน (competitive comparisons)  อย่างไรก็ตาม รายการผลลัพธ์โดยเฉพาะที่เรียกร้องให้มีการ เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน อยู่ในเรื่องที่มีความสาคัญสาหรับ องค์กร (เช่น 7.1ก, 7.1ข[1], 7.2ก[1])  ในบางครั้ง ข้อมูลคู่แข่งขันไม่สามารถหามาได้ ในกรณีเช่นนี้ เรา ยังคาดหวังว่า องค์กรจะใช้ข้อมูลเปรียบเทียบที่ดีที่สุด
  • 33.  ขอบเขตของนวัตกรรม ("การเปลี่ยนแปลงที่มีความหมายเพื่อ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์กระบวนการ ... และสร้างคุณค่าใหม่ ๆ สาหรับผู้มีส่วนได้เสีย") อยู่ในมิติ การเรียนรู้ (Learning) โดยเริ่ม จากช่วงคะแนนที่ 50-65%  บางโปรแกรม แบ่งคานิยามของนวัตกรรมออกเป็นสองแบบและ แยกเป็นสองช่วงคะแนน แต่โปรแกรมระดับชาติ ไม่ใช้วิธีนี้ ใน การให้คะแนน