SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
บทความสั้น ดูก ลุ่ม คำา ที่ส ำา คัญ ดัง นี้
1. ถามประโยคสำา คัญ ดูค ำา ต่อ ไปนี้ ทำา ให้ ปรากฏ เกิด ขึ้น เกิด จาก
บรรลุผ ล สำา เร็จ ตามเป้า หมาย แต่ หรือ คำา ที่ม ค วามหมายใกล้เ คีย งกับ
ี
คำา เหล่า นี้
(ทำา ให้ + ประโยคสำา คัญ ) กรณีท ี่บ ทความสั้น มีค ำา กริย า
สำา คัญ อยูห ลายคำา ทีซ ำ้า กัน ให้ด ก ริย าตัว สุด ท้า ย เช่น ถ้า มีค ำา ว่า ทำา ให้อ ยู่
่
่
ู
หลายตัว ให้ด ค ำา ว่า ทำา ให้ต ว สุด ท้า ย (ถ้า ในบทความมีค ำา ว่า “เพราะ”
ู
ั
มากกว่า หนึ่ง คำา ให้ด ูค ำา ว่า “เพราะ” ตัว แรก ถ้า มีค ำา ว่า “ทำา ให้” หรือ
กริย าสำา คัญ ตามข้อ 1 นี้ ให้ด ูค ำา ว่า ”ทำา ให้” หรือ กริย าสำา คัญ ตัว
สุด ท้า ย ถ้า มีค ำา ว่า ”เพราะ” และคำา ว่า “ทำา ให้” อยูใ นบทความเดีย วกัน
่
ให้ด ูค ำา ว่า “ทำา ให้” หลัง คำา พวกนี้ค ือ คำา ตอบ

2. ถามจุดประสงค์ของบทความดูคำาต่อไปนี้ เพื่อ สำา หรับ (เพื่อ + จุด
ประสงค์) คำา ว่า เพี่อ หรือ สำา หรับ ถ้า อยู่ท ้า ยประโยคจะ
สำา คัญ และสามารถนำา ประโยคที่อ ยู่ท ้า ยคำา ว่า เพื่อ มาตอบได้
3. เปลี่ย น เปลี่ย นเป็น แทน กลาย กลายเป็น แทนที่ ให้ความ
หมายถึงการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งหนึ่งสู่สิ่งหนึ่ง ถ้ากลุ่มคำานี้อยู่ใน
บทความ ในข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำากลุ่มนี้ด้วยและคำานามสำาคัญจะอยู่
หลังคำากลุ่มนี้ การตอบให้มีคำานามตัวนี้ด้วยเช่นกัน
4. ถ้า ในบทความมีค ำา ว่า จำา เป็น หรือ คำา ว่า ไม่จ ำา เป็น ข้อ ทีถ ก อาจ
่ ู
บอกว่า จำา เป็น หรือ ไม่จ ำา เป็น ก็ไ ด้ รวมทัง คำา ว่า
้
เห็น ด้ว ยหรือ ไม่เ ห็น ด้ว ย ข้อ ที่ถ ูก จะมีค ำา ว่า เห็น ด้ว ยหรือ ไม่
เห็น ด้ว ย
5. ถ้า หาก ให้ความหมายเป็นประโยคเงื่อนไข (ถ้า + ประโยคเงื่อนไข)
พิจารณาข้อเลือกมีคำากลุ่มนี้หรือไม่
- ไม่มีคำากลุ่มนี้ ถือว่าข้อความนั้นเป็นเพียงส่วนขยายให้ตัดออก
- มีคำากลุ่มนี้การตอบให้เน้นเงื่อนไขในบทความ
- ถ้ามีคำาว่า “ ถ้า “ “ หาก” อยู่ในบทความ ถ้าในข้อเลือกมีคำาพวกนี้
อยู่ด้วยให้ตอบข้อนั้นได้เลย แต่ถ้าไม่มีคำาว่า “ถ้า “
“หาก” อยู่
ในบทความแต่ในข้อเลือกมี ข้อเลือกนั้นผิดทันที
6. น้อ ยกว่า มากกว่า ตำ่า กว่า สูง กว่า (กลุ่มคำาแสดงการเปรียบ
เทียบขั้นกว่า) ถ้ากลุ่มคำานี้อยู่ในบทความ ในข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำา
กลุ่มนี้ด้วย หากมีคำาเปรียบเทียบมากกว่า 1 ข้อเลือก พิจารณาว่า
บทความเป็นการเปรียบเทียบเรื่องใด และจะต้องเป็นเรื่องเดียวกับข้อ
เลือกที่ถูกต้อง หากไม่มีในบทความแต่ในข้อเลือกมี ข้อนั้นผิดทันที
7. ทั้ง หมด ทั้ง สิ้น สิ่ง แรก สิ่ง เดีย ว อัน เดีย ว เท่า นั้น ที่ส ุด
ยกเว้น นอกจาก เว้น แต่ (กลุ่มคำาที่เพื่อต้องการเน้นปริมาณ
ทั้งหมด) หากบทความมีคำากลุ่มนี้ ในตัวเลือกที่ถูกต้องจะต้องมีคำากลุ่มนี้
เช่นเดียวกัน หากบทความไม่มีคำากลุ่มนี้ แต่ในข้อเลือกกลับมีคำากลุ่มนี้
ถือว่าข้อเลือกนั้นผิดทันที (อย่าตอบข้อเลือกที่เน้นเจาะจง ถ้าใน
บทความไม่มี เช่น ที่สด เฉพาะ เท่านั้น
ุ
8. เพราะ เนื่อ งจาก (เพราะ + ประโยคเหตุผล) เน้นการเปลี่ยน
ประโยคจากเพราะ เนื่องจาก เป็นประโยคทำาให้ ข้อสอบเน้นการตอบ
ประโยคสาเหตุ + นามสำาคัญ (ประธาน) ถ้าบทความมีความว่าเพราะ
อยู่หลายที่ ให้ดูคำาว่าเพราะตัวที่หนึ่ง ถ้าบทความมีคำาว่าเพราะและ
กริยาสำาคัญเช่นคำาว่าทำาให้ ให้ดูที่คำาว่าทำาให้
9. ตระหนัก คำา นึง (ตระหนัก + ถึง คำานึง + ถึง) นามที่อยู่ข้างหลัง
ตระหนัก + ถึง จะต้องเป็นนามสำาคัญรองจากประธาน และคำานามนี้จะ
ต้องอยู่ในข้อเลือกที่ถูกต้อง
10. แต่ ทั้ง ๆ ที่ อย่า งไรก็ต าม แม้…..แต่ ไม่…….แต่ (แต่ +
ประโยคขัดแย้ง) ถ้าเป็นบทความสั้น แต่ + ประโยคสำาคัญ ถ้าเป็น
บทความยาว แต่ + ใกล้ประโยคสำาคัญ
11. ถามหาทรรศนะผู้เขียน ดูคำาว่า ควร ควรจะ อาจ อาจจะ น่า
น่า จะ คิด คิด ว่า คาด คาดว่า
เชื่อ ว่า แนะ เสนอ ศัก ยภาพ เสนอแนะ แนะนำา ความ
สามารถ ใช้กับข้อสอบที่ถามว่า ผู้เขียนคิดอย่างไร จุดประสงค์ของผู้
เขียน เป้าหมายของผู้เขียน จุดประสงค์ของบทความ ความต้องการ
ของผู้เขียน กลุ่มคำาทรรศนะส่วนมากจะวางไว้ท้ายบทความ ท้ายคำา
กลุ่มนี้ + ประเด็นสำาคัญ
12. เปรีย บเสมือ น เปรีย บเหมือ น เสมือ น ดุจ ประดุจ ว่า (กลุ่ม
คำาแสดงการเปรียบ อุปมา อุปมัย) ข้อสอบจะเน้นบทความเชิงเปรียบ
เทียบอุปมา อุปมัย เช่นเปรียบเทียบเปลือกไม้กับชนบท ในการตอบให้
เอาส่วนท้ายของบทความมาเป็นจุดเน้น
13. ดัง นั้น เพราะฉะนั้น จึง ดังนั้น + นามสำาคัญ+จึง (ดันนั้น + ข้อ
สรุป จึง + ข้อสรุป) คำาที่อยู่หลังคำากลุ่ม 1 นี้จะต้องเป็นข้อสรุปของ
บทความ และสามาถนำาเอาคำาที่อยู่หลังกลุ่มนี้มาตอบ ส่วนมากจะใช้กับ
คำาถามประเภทสาระสำาคัญ ใจความสำาคัญ หรือสรุป
14. พบ พบว่า ต้อ งการ ปรารถนา (พบว่า + นามสำาคัญ) คำาทีอยู่
่
หลังกลุมนีจะเป็นสาระสำาคัญ ส่วนมากแล้วจะพบตอนต้นของบทความ
่ ้
15. ผลต่อ ผลกระทบ ส่ง ผลต่อ อิท ธิพ ลต่อ เอื้อ อำา นวยต่อ (ผล
ต่อ + นามสำาคัญ) คำานามที่อยู่หลังคำากลุ่มนี้จะเป็นนามสำาคัญรองจาก
ประธาน พิจารณาว่าในข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำานามนี้ พบมากตอน
ท้ายของบทความ(ถ้ามีคำาเหล่านี้อยู่ในคำาตอบข้อไหนข้อนั้นมีโอกาสถูก
60%
16. ทั้ง ……..และ และ
ระหว่า ง …….กับ กับ (กลุ่มคำาที่มีคำา
นามสำาคัญ 2 ตัว) การตอบข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำานามทั้ง 2 ตัว
ข้อสอบส่วนมากจะมีส่วนขยายที่ยาว ให้ตัดส่วนขยายออก และถือว่า
นามทั้ง 2 ตัวเป็นนามสำาคัญ
17. นับ ว่า ถือ ว่า เรีย กว่า อัน นับ ว่า เป็น ถือ ได้ว ่า เป็น (กลุ่มคำาที่
วางประธานไว้ท้ายบทความ) คำากลุ่มนี้ + ประธาน (นามสำาคัญ) จะวาง
ไว้ตอนท้ายบทความ ในการตอบให้เน้นประธาน หรือนามสำาคัญตัวนี้
18. นอกจาก ……แล้ว ยัง ……….., นอกจาก …..ยัง ต้อ ง …., ไม่
เพีย งแต่….แล้ว ยัง …., (กลุ่มคำาที่ให้ความหมายนอกเหนือจากที่
กล่าวมาหรือมีความหมายหลายอย่าง) การตอบให้ตอบในลักษณะไม่
ได้มีเพียงอย่างเดียว มีหลาย ๆ อย่าง มีทงสองอย่าง หรือ การตอบตาม
ั้
โครงสร้างไวยากรณ์ โดยเน้นประโยคหลังคำาว่า แล้วยัง ยังต้อง
19. บาง บางสิ่ง บางอย่า ง บางประการ ประการหนึ่ง
จำา นวนที่ไ ม่ใ ช่ท ั้ง หมด (กลุ่มคำาเพื่อต้องการเน้นปริมาณไม่ใช่
ทั้งหมด) หากคำาเหล่านี้อยู่ในตัวเลือกใด ส่วนมากจะถูกต้อง แต่หากมี
คำาเหล่านี้หลายตัวเลือกให้พิจารณาคำาเหล่านี้ทำาหน้าที่ขยายคำานามตัว
ใดในตัวเลือกต้องขยายคำานามตัวเดียวกัน
20. โดยเฉพาะ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง (กลุ่มคำาเพื่อใช้เน้น) หากคำา
กลุ่มนี้รวมกับคำานามตัวเดียว หมายถึงการเน้นเพื่อใช้ตอบคำาถาม แต่
ถ้ารวมกับคำานามหลายตัว หมายถึงยกตัวอย่างสามารถตัดออกได้
21. เช่น ได้แ ก่ อาทิ (กลุ่มคำาที่ยกตัวอย่าง) หากมีกลุ่มคำานี้ใน
บทความหมายถึงตัวอย่างให้ตัดออก แต่บางกรณีที่สามารถตอบ
ตัวอย่างได้ แต่ต้องกล่าวถึงตัวอย่างให้ครบทุกตัว
22. เป็น ที่น ่า สัง เกตว่า สัง เกตว่า อย่า งไรก็ต าม (กลุ่มคำาที่
ต้องการเน้นการขึ้นย่อหน้าใหม่(พิเศษ)) ข้อความหรือนามที่อยู่หลังกลุ่ม
นี้สามารถนำาไปตอบได้ ส่วนมากเน้นขึ้นต้นย่อหน้าซึ่งบอกความหมาย
ว่าย่อหน้านั้นเป็นย่อหน้าพิเศษ (มีคำาถามซ้อนอยู่)
23. ที่ ซึ่ง อัน เพื่อ ใน โดย ด้ว ย สำา หรับ ของ จาก ตาม
(กลุ่มคำานี้เป็นส่วนขยาย) หากกลุ่มคำานี้อยู่กลางประโยคถึงเป็นส่วน
ขยายสามารถตัดออกได้ แต่มีบางคำาเช่น เพื่อ สำาหรับ จะต้องพิจารณา
ตำาแหน่งของคำา (ดูขอ 2)
้
24. ประธาน +เป็น ,นับ เป็น , ถือ เป็น , (กลุ่มคำาที่ใช้หาประธาน) ใช้
เมื่อบทความให้หาประธานแบบง่าย หรือข้อสอบเรียงประโยค โดย
ส่วนมากแล้วการหาประธานในบทความจะหาได้จากคำานามในข้อเลือก
ที่ซำ้า ๆ หรือหาได้จากการกล่าวซำ้าคำานามตัวเดิมในประโยคที่สอง
25. ที่ส ำา คัญ อย่า งเอาตัว อย่า งในบทความมาตอบเด็ด ขาด
รูป แบบของข้อ สอบบทความสั้น
รูป แบบที่ 1 ประโยคสอดคล้อง ตีความประโยค ไม่สอดคล้อง ตีความ
ไม่ถูกต้อง มีประมาณ 5 ข้อ
รูปแบบนี้ไม่จำาเป็นต้องหาประธาน โดยสามารถตีความจากข้อ
ต่าง ๆ ตามข้างบนได้
รูป แบบที่ 2 สรุปใจความสำาคัญ หาประธาน ตัดตัวเลือกที่ไม่มีประธาน
เหลือไว้เฉพาะที่มีประธานเท่านั้น
อ่านและขีดเส้นใต้คำาที่สำาคัญข้างต้น ประธาน + คำาที่
สำาคัญ คือคำาตอบ
รูป แบบที่ 3 เรื่องย่อย ๆ
1. ข้อความข้างต้นกล่าวถึงเรื่องใด ทำาเช่นเดียวกับรูปแบบที่ 2
(ออกครั้งละ 1 ข้อ)
2. ข้อความข้างต้นผู้เขียนมีจุดประสงค์อย่างไร หรือจุด
ประสงค์ของบทความ ทำาโดยใช้กลุ่มคำาภาษาแสดง
ทรรศนะ (ข้อ 8) ส่วนมากภาษาแสดงทรรศนะจะแสดงไว้
ท้ายบทความ
3. ข้อความข้างต้นกล่าวไว้กี่ประเด็น (ข้อสอบจะตอบ 2
ประเด็นทุกครั้ง)
4. ข้อสอบให้แยกความแตกต่างของคำาในพจนานุกรม เช่น
เรื่องเม็ด กับเมล็ด
5. ความแตกต่างของคำาศัพท์ เช่นให้ความหมายของที่วัด ที่
กัลปนา แต่ถามความหมายของธรณีสงฆ์
6. ข้อสอบให้บริบทมาและศัพท์ที่ขีดเส้นใต้ แล้วถามความ
หมายของศัพท์โดยการแปลจากบริบทข้างเคียง
7. ข้อสอบให้ความหมายของศัพท์แต่ให้หาคำาจำากัดความ
8. การหาประโยคที่มีความหมายหรือโครงสร้างประโยคที่
เหมือนกัน
ทฤษฎีบ ทความยาว
อ่า นคำา ถามก่อ นที่จ ะอ่า นบทความ ในขณะที่อ ่า นให้ข ีด เส้น ใต้ค ำา
นาม คำา นามเฉพาะ ตัว เลข หรือ คำา ที่ส ามารถจดจำา ง่า ยแล้ว
1. ทำาการค้นหา
1.1 หากบทความยาวมาก 10 – 12 บรรทัด (3-4 ย่อ หน้า ) ให้
ค้น หาคำา ที่เ ราขีด เส้น ใต้ไ ว้
1.2 หากบทความยาวพอสมควร 5-6 บรรทัด ให้อ ่า นอย่า งคร่า ว ๆ
เมื่อ พบคำา ที่ข ีด เส้น ใต้แ ล้ว ให้อ ่า นอย่า งจริง จัง
2. ข้อ สอบให้ต ั้ง ชื่อ เรื่อ ง
2.1 หาประธานของบทความ โดยดูจากตัวเลือกว่าคำาใดที่ซำ้ากันมาก
ที่สุดและคำานามในประโยคแรกของย่อหน้าแรก
2.2 ดูประโยคแรกของแต่ละย่อหน้า รวมกับประโยคสุดท้ายของย่อหน้า
สุดท้ายเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่
2.3 นำาข้อ 2.1 และ 2.2 มาพิจารณารวมกันอีกครั้ง
3. ข้อ สอบถามสาระสำา คัญ ของบทความ
3.1 หาประธาน (ทำาเหมือนกับข้อ 2.1)
3.2 หาคำาที่สำาคัญ (ทำาเหมือนบทความสั้น)
4. ข้อ สอบถามจุด ประสงค์ข องผู้เ ขีย น (บทความจะกล่า วเชิง ลบ )
4.1 หาสาระสำาคัญของบทความ
4.2 เอาสาระสำาคัญมาเปลี่ยนแปลงจากเชิงลบให้เป็นเชิงบวก
4.3 บทความอาจจะมีคำาว่า เพื่อ สำาหรับ วางไว้ท้ายบทความ( เพื่อ
สำาหรับ ให้บอกจุดประสงค์ของบทความ)
5. ข้อ สอบถามความหมายของคำา ศัพ ท์
5.1 ดูบริบทที่มาขยายของศัพท์คำานั้น
5.2 ถ้าศัพท์เป็นคำากริยา ให้ดูคำานาม ถ้าศัพท์เป็นคำานามให้ดูกริยา
5.3 แปลรากศัพท์ของคำานั้น ๆ
6. ข้อสอบถามข้อใดถูกต้อง หรือ ไม่ถูกต้อง ให้ทำาเหมือนกับข้อ 1 คือขีด
เส้นใต้คำา นาม คำานามเฉพาะ ตัวเลข หรือคำา ที่สามารถจดจำา ง่าย แล้ว
ทำาการค้นหา
รูป แบบของข้อ สอบข้อ บกพร่อ งทางภาษา
รูปแบบที่ 1คำาหรือกลุมคำาทีฟมเฟือยหมายความว่ามีคำาหรือกลุมคำาทีมความ
่
่ ุ่
่
่ ี
หมายเดียวกันตัดออกไปแล้ว
1 ชุดยังให้ใจความเหมือนเดิม
รูปแบบที่ 2กำากวม หมายความว่า ประโยคหรือข้อความนั้นสามารถ
ตีความได้มากกว่า 1 ประเด็น
แบ่งเป็น 3 กรณี
1. กำากวมที่เกิดจากคำาประสม เช่นข้าวเย็น
2. กำากวมที่เกิดจากการวางวลีบอกจำานวน บอกเวลา ส่วน
ขยายไว้ท้ายประโยค
3. กำากวมเกิดจากการให้ความหมายของคำาที่ขัดแย้ง
รูปแบบที่ 3การใช้คำาศัพท์ผิดความหมาย
รูปแบบที่ 4การใช้คำาเชื่อมให้สอดคล้องกับรูปประโยค (ให้ดูทฤษฎี คำา
เชื่อมและบุพบท)
ทฤษฎีค ำา เชื่อ มบุพ บทและสัน ธาน
บุพ บท คือ คำาที่ใช้นำาหน้าคำาอื่นเช่นนำาหน้าคำานาม สรรพนาม
สัน ธาน คือ คำาที่ทำาหน้าที่เชื่อมคำา หรือเชื่อมข้อความให้ติดต่อกัน หรือ
เชื่อมประโยค
1. ต่อ (บุพบท) ใช้เน้นความเป็นเฉพาะ และการกระทำาต่อหน้า จะใช้ร่วม
กับคำากริยาบางคำา ตัวอย่างการใช้
ยื่นคำาร้องต่อศาล ให้การต่อเจ้าหน้าที่ เป็นกบฎต่อรัฐบาล ขัดต่อ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ ผลต่อ ผลกระทบ
ส่งผลต่อ สำำคัญต่อ เอื้ออำำนวยต่อ อิทธิพลต่อ ขึ้นตรงต่อ จำำเป็น

ต่อ
2. แก่ แด่ (บุพบท) แก่ ใช้นำำหน้ำผู้รับ ให้ มอบ แจก ส่ง
สงเครำะห์ คำำกลุ่มนี้ต้องใช้ แก่ + ผู้รับ ส่วนแด่
ใช้นำำหน้ำผู้รับที่มีศักดิ์ ฐำนะที่สูงกว่ำ เช่น ถวำยพระพรแด่องค์
พระประมุข ห้ำ มใช้ มอบสำำหรับ
3. กับ (บุพบท) ให้เมื่อประธำนที่ทำำกริยำเดียวกัน เวลำเดียวกัน
สังเกต ประธำน 1+ กับ+ ประธำน 2 หรือใช้
ร่วมกริยำบำงคำำและใช้กับวิเศษณ์บอกระยะทำง ใกล้กับ ตัวอย่ำง
เขำกับฉันไปดูหนัง เกี่ยวข้อกับ
สัมพันธ์กบ ผูกพันกับ ประสำนกับ ชี้ แจงกับ ต่อสูกบ ปรำศรัยกับ
ั
้ ั
ร่วมมือกับ ห้ำ มใช้เกียวข้องต่อ ผูกพันต่อ
่
4. จำก (บุพบท) ใช้บอกแหล่งที่มำ ให้นำำหน้ำวัสดุ ให้กับคำำกริยำใช้
บอกระยะทำง ไกลจำก ให้กับคำำกริยำ
บำงคำำ เช่น เดินทำง มำจำกจังหวัดเลย นำ้ำไหลมำจำกยอดดอย
ผลิตจำก ทำำมำจำก ทำำจำก ได้รับจำก
รับจำก ขอจำก ถอนจำก เบิกจำก เก็บจำก ห้ำ มใช้ นำ้ำไหล
มำแต่
5. ตำม (บุพบท) ใช้นำำหน้ำสิ่งที่ถูกต้อง ข้อบังคับ ข้อกำำหนด ใช้บอก
จำำนวนที่แน่ชัด ใช้นำำหน้ำสิ่งที่กำำหนดขึ้นล่วงหน้ำ เช่น ตำมกฎหมำย
ตำมกติกำ ตำมข้อบังคับ ตำมสัดส่วนที่ได้กำำหนด ตำมโครงกำร ตำม
นโยบำย ห้ำ มใช้ในกฎหมำย ด้วยกฎหมำย โดยกฎหมำย ใน
สัดส่วน ในเป้ำหมำย
6. เพื่อ สำำ หรับ เพื่อ ใช้บอกจุดประสงค์หรือจุดมุ่งหมำย สำำหรับ
ใช้บอกจุดประสงค์โดยเฉพำะเจำะจง
กลุ่มนี้ไม่ค่อยผิด
7. คือ ให้ควำมหมำยของคำำที่อยู่ด้ำนหน้ำ หำกบอกจำำนวนจะหมำยถึง
จำำนวนที่แน่ชัด เช่น เลย คือจังหวัดที่
ตั้งอยู่ภำค ตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็น ใช้อธิบำยเพิ่มเติมคำำที่อยู่ด้ำนหน้ำ หำกบอกจำำนวนจะหมำยถึง
จำำนวนที่ไม่แน่ชัด เลยเป็นจังหวัดที่มี
อำรยธรรมเก่ำแก่
8. โดย ด้ว ย ให้นำำหน้ำผู้กระทำำ หรือนำำหน้ำกำรกระทำำ ใช้นำำหน้ำ
เครื่องใช้ เช่น เจรจำโดยสันติ เดินทำงโดย
เครื่องบิน ถูกตีด้วยท่อนไม้ ห้ำ มใช้ เจรจำตำมสันติวิธี อังกะลุง
ทำำโดยไม้ไผ่
9. ถูก ได้ร ับ ถูก ใช้นำำหน้ำคำำกริยำที่ไม่ดี ได้รับ ใช้นำำหน้ำกริยำที่ดี
ตัวอย่ำง ถูกเตะ ถูกตี ได้รับเชิญ ได้รับ
กำรรอบรม
10. โดยเฉพำะ ใช้เน้นคำำข้ำงหน้ำให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น ภำษำโดย
เฉพำะภำษำพูด ภำคเหนือโดยเฉพำะ
เชียงใหม่
11. และ ให้แสดงถึงควำมคล้อยตำมของเหตุกำรณ์ ให้ควำมหมำยว่ำ
ทั้งหมดทั้งสิ้น เช่นกินข้ำวและอำบนำ้ำ
หรือ ใช้แสดงให้ทรำบว่ำเลือกเอำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ใช้คั่น
สิ่งของ 2 อย่ำงซึ่งเป็นอันเดียวกันแต่เรียกชื่อ
คนละอย่ำง เช่น แม่ฮ่องสอนหรือเมืองสำมหมอก เครื่องหมำย
อัญประกำศหรือเครื่องหมำยคำำพูด ข้อสอบ
จะวัดควำมเข้ำใจของคำำว่ำ และ กับคำำว่ำหรือ ใช้แตกต่ำงกัน
อย่ำงไร
12. เพรำะ เนื่อ งจำก
ใช้เชื่อมควำมเป็นเหตุและผลต่อกัน เพรำะ
ไม่สำมำรถขึ้นต้นประโยคได้ เช่น เขำ
เรียนเก่งเพรำะ(เนื่องจำก)เขำขยันอ่ำนหนังสือ เนื่องจำกเขำขยัน
อ่ำนหนังสือเขำจึงเรียนเก่ง ห้ำ มใช้ ก็
เพรำะ สืบเนื่องมำจำก เพรำะฟุ่มเฟือย
13. แต่ (สันธำน) ใช้เชือมควำมขัดแย้ง ส่วนมำกจะใช้กบกริยำปฏิเสธ
่
ั
เช่น เขำไม่สบำย แต่เขำก็ยงมำสอน ทัง ๆ ที่ไม่สบำย แต่เขำก็ยังมำ
ั
้
สอน ข้อสอบจะให้แยกควำมแตกต่ำงของคำำว่ำ และ แต่
14. ระหว่ำ ง จะใช้คูกับคำำว่ำ กัน ให้จำำว่ำ ระหว่ำง……กับ…… เช่น
ปัญหำข้อพิพำกรระหว่ำงอินเดียกับปำกีสถำนยังหำข้อสรุปไม่ได้ ห้ำม
ใช้ ระหว่ำง…….และ
15. ของ เป็นคำำที่แสดงควำมเป็นเจ้ำของ จะนำำหน้ำคำำนำม ประเทศ
คน หน่วยงำน เช่น นโยบำยเร่งด่วน
ของกระทรวงมหำดไทยคือ………… ข้อสอบจะให้แยกควำม
แตกต่ำงของคำำว่ำ ของ แห่ง
16.
แห่ง เป็นคำำที่แสดงควำมเป็นเจ้ำของในเรื่องหมวดหมู่ หรือส่วน
ย่อยและส่วนใหญ่ เช่น สมำคมวำงแผน
ครอบครัวแห่งประเทศไทย
17.
เมื่อ ใน เป็นคำำที่ใช้นำำหน้ำเวลำ คำำทั้งสองสำมำถนำำขึ้นต้น
ประโยคได้ เช่น เมื่อ ปี พ.ศ.
18. ที่ ใน เป็นคำำที่ใช้นำำหน้ำสถำนที่ เช่น เขำพบเธอที่บ้ำน ห้ำ ม
ใช้ ที่ ใน พร้อมกัน
19. ทั้ง ต้อ งใช้ค ู่ก ับ และ โครงสร้ำง ทั้ง…และ….รวมทั้ง (ตลอดจน)
เช่น ทั้งเขำและเธอต่ำงก็มีควำมสุข
ห้ำ มใช้ ทั้ง.หรือ
20. ได้แ ก่ เช่น อำทิ เป็น ต้น ว่ำ เป็นคำำที่ใช้ยกตัวอย่ำง คำำกลุ่มนี้จะ
ใช้กับจำำนวนที่ไม่แน่นอน คำำว่ำได้แก่ห้ำมตำมหลังประธำน เช่น
จังหวัดในภำคเหนือบำงจังหวัด เช่น……ห้ำ มใช้ อำทิเช่น ห้ำมใช้
จังหวัดในภำคเหนือมี 11 จังหวัด เช่น….
21. ดัง นั้น จึง เพรำะฉะนั้น ดัง นั้น ……จึง ….. เป็นคำำที่ใช้สรุป
ข้อควำม เนื่องจำก+สำเหตุ+จึง+ข้อสรุป
ดังนั้น+นำม+ จึง+ข้อสรุป เช่น เขำเป็นคนขยันจึงทำำให้เขำ
ประสบควำมสำำเร็จในชีวิต ข้อสอบจะเน้น
โครงสร้ำงที่ต่อเนื่องคือ ดังนั้น…จึง
เนื่องจำก….จึง
22. ถ้ำ ….แล้ว เป็นคำำทีแสดงเงือนไข อำจจะเกิดขึนหรือไม่กได้ เช่น
่
่
้
็
ถ้ำเขำขยัน แล้วเขำจะสอบได้ ห้ำ มใช้
ถ้ำ หำก พร้อมกันจะทำำให้ฟุ่มเฟือย
23. อย่ำ งไรก็ต ำม อย่ำ งไรก็ด ี ใช้ขึ้นต้นประโยค หรือขึ้นต้น
ย่อหน้ำใหม่ เป็นสันธำนที่แสดงถึงควำมขัดแย้ง ไม่สำมำรถเชื่อมคำำ
หรือวลีได้ เช่น อย่ำงไรก็ตำมรัฐบำลยังต้องแก้ไขข้อบกพร่องในกำร
ทำำงำนอีกมำก ห้ำมใช้ ก็อย่ำงไรก็ตำม
ทฤษฎีก ำรเรีย งประโยค
1. หำข้อขึ้นต้นประโยค โดยยึดหลักดังนี้
1.1
คำำนำม รวมทั้งคำำ “กำร+กริยำ” และ “ควำม+ วิเศษณ์”
1.2
ช่วงเวลำ รวมทั้งคำำ เมื่อ ใน (ช่วงเวลำถ้ำไม่ขึ้นต้นก็จะอยู่
ประโยคสุดท้ำย)
1.3
คำำเชื่อมบำงคำำ เนื่องจำก แม้ว่ำ ถ้ำ หำก คำำเหล่ำนี้จะขึ้น
ต้นได้ต้องรวมกับคำำนำม
1.4
หนังสือรำชกำร ขึ้นต้นด้วย ตำม ตำมที่ ด้วย
2. คำำเชื่อมที่เป็นคำำมำตรฐำนมี 11 คำำคือ ที่ ซึ่ง อัน เพื่อ ใน โดย ด้วย
สำำหรับ ของ จำก ตำม คำำเหล่ำนี้
ขึ้นต้นประโยคไม่ได้ ยกเว้นคำำว่ำ ใน+นำม จำก+นำม ตำม+ข้อ
บังคับ ตำม+หน่วยงำน และถ้ำคำำเหล่ำนี้
อยู่กลำงประโยคถือเป็นส่วนขยำยให้ตัดส่วนขยำยเหล่ำนั้นทิ้ง
3. คำำปิดประโยค อีกด้วย ก็ตำม นั้นเอง ต่อไป เท่ำนั้น ถ้ำคำำเหล่ำนี้
ลงท้ำยของข้อแล้วส่วนมำกข้อนั้น
จะเป็นข้อสุดท้ำย ช่วงเวลำ ประโยคคำำถำม
3. โครงสร้ำงประโยคที่ใช้บ่อย ทั้ง…และ….รวมทั้ง(ตลอดจน)
นอกจำก……แล้วยัง(ยังต้อง) ไม่………แต่
แม้…แต่ ดังนั้น+นำม+จึง ถ้ำ……แล้ว(ยัง)
5. คำำนำมที่เป็นชื่อเฉพำะจะต้องบวกคำำกริยำ เช่น ประเทศสมำชิก
อำเซียน กระทรวงมหำดไทย
6. หำกมีข้อใดขึ้นต้นด้วยคำำว่ำ และ หรือ ให้ใช้เทคนิคหำคำำที่มีควำม
หมำยใกล้เคียงกัน
7. หำกมีข้อใดขึ้นด้วยคำำว่ำ กับ ต่อ ให้หำคำำกริยำที่ใช้คู่กัน เช่น
ประสำนกับ ชี้แจงกับ ผลต่อ
8. ในกำรเรียงหำกเหลือ 2 ข้อ ให้พิจำรณำกริยำใดเกิดขึ้นก่อน หรือ
เกิดทีหลัง

จงอ่ำ นข้อ ควำมที่ก ำำ หนดให้ แล้ว ตอบคำำ ถำมโดยพิจ ำรณำเลือ ก
ตัว เลือ ก 1,2,3 หรือ 4 ที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด

1. กำรที่มนุษย์มีสมองใหญ่จึงรับรู้ได้มำก คิดได้มำก และเกิดกิเลสมำกกว่ำสัตว์
เมื่อมนุษย์ถ่ำยทอดประสบกำรณ์มำกขึ้นก็จะแยกกันประกอบงำนต่ำง ๆ ทำำให้เกิด
อำชีพต่ำง ๆ แต่ละคนกลำยเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์ทำำให้ต้องพึ่งพำผู้อื่น จึงต้อง
รวมกันอยู่เป็นสังคมใหญ่เกิดชั้นวรรณะต่ำง ๆ ต้องมีกำรแลกเปลี่ยนสิ่งของกัน
เมื่อเกิดระบบเงินตรำทำำให้มนุษย์เกิดควำมโลภมำกขึ้นไม่มีที่สิ้นสุด จำกบทควำม
ข้ำงต้นใจควำมสำำคัญคือข้อใด
1. สำเหตุของกำรเกิดระบบเงินตรำ
2. สำเหตุกำรเกิดควำม
โลภของมนุษย์
3. สำเหตุของกำรแบ่งชั้นวรรณะ
4. สำเหตุที่มนุษย์
ประกอบอำชีพ
2. กำรที่สำรตะกั่วจะก่อให้เกิดอันตรรำยแก่มนุษย์เรำได้นั้นเมื่อเข้ำสู่ร่ำงกำยเำทำง
หนึ่งทำงใด ได้แก่กำรบริโภค กำรหำยใจ กำรสัมผัส ผู้ป่วยอำจได้รับจำกควัน
ของตะกั่ว เช่นกำรหลอมตะกั่ว ควันรถยนต์ ฯลฯ เมื่อมีปริมำณของตะกั่วมำกขึ้น
จะเกิดพิษแก่ระบบต่ำง ๆ ของร่ำงกำย ถ้ำไม่ได้รับกำรรักษำอย่ำงทันท่วงทีก็อำจ
ถึงแก่ชีวิตได้ บำงรำยก็ป่วยอย่ำงเรื้อรังอยู่เป็นเวลำนำน ๆ เหล่ำนี้เป็นต้น
บทควำมข้ำงต้นกล่ำวถึงเรื่อใด
1. อันตรำยจำกสำรตะกั่ว
2. ปริมำณของสำตะกั่วที่
จะเป็นพิษต่อร่ำงกำย
3. ทำงที่สำรตะกั่วจะเข้ำสู่ร่ำงกำย
4. ที่มำของสำพิษ
3. ไม่ว่ำทรรศนะของนักวิชำกำรในสถำบันกำรศึกษำที่มีต่อโหรำศำสตร์จะเป็นเช่น
ไร แต่ในโลกแห่งควำมจริงในสังคมไทยทุกวันนี้ โหรำศำสตร์ได้มีอิทธิพลอย่ำง
มำกมำยต่อกำรตัดสินใจกำรกระทำำหรือไม่กระทำำกำรของบุคคลในวงกำรต่ำง ๆ
ทั้งแวดวงธุรกิจ วงกำรทหำร และแม้ในวงรำชกำรเองซึ่งย่อมมีผลก่อกำรพัฒนำ
ประเทศอย่ำงมิต้องสงสัย
ข้อใดสอดคล้องกับบทควำมข้ำงต้น
1. นักวิชำกำรในสถำบันศึกษำไม่น่ำจะสนใจในเรื่องโหรำศำสตร์
2. ควำมเชื่อเรื่องโหรำศำสตร์มักเป็นไปตำมระดับกำรศึกษำของแต่ละบุคคล
3. โหรำศำสตร์มีส่วนเกี่ยวข้องอย่ำงมำกกับกำรดำำเนินงำนในวงกำรต่ำง ๆ
4. โหรำศำสตร์เป็นสิ่งที่ไม่สำมำรถพิสูจน์ได้
4.
ผู้เขียนตำำรำต้องเป็นผู้รู้ภำษำดี ถ้ำผู้รู้ภำษำไม่ดีคนอ่ำนไม่เข้ำใจก็ไม่มี
ประโยชน์
ข้อ ควำมข้ำ งต้น ตีค วำมได้อ ย่ำ งไร
1. ผู้เขียนตำำรำต้องเป็นผู้สื่อสำรที่ดี
2. ภำษำเป็นสื่อสำำคัญในกำรทำำควำมเข้ำใจระหว่ำงมนุษย์
3. คนอ่ำนจะได้รับประโยชน์ในด้ำนกำรใช้ภำษำนอกเหนือจำกควำมรู้ใน
ตำำรำ
4. ผู้อ่ำนจะไม่ได้รับประโยชน์จำกกำรอ่ำนตำำรำ ถ้ำผู้เขียนไม่มีควำมสำมำรถ
ในกำรใช้ภำษำ
5.
ปรัชญำกำรศึกษำแผนใหม่มวำในระดับอุดมศึกษำไม่จำำเป็นต้องแยกระหว่ำงชีวต
ี ่
ิ
กำรศึกษำกับกำรประกอบอำชีพ
ข้อ ควำมข้ำ งต้น ตีค วำมได้อ ย่ำ งไร
1. ชีวิตกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำจะสอดคล้องกับกำรประกอบอำชีพ
2. ผู้ที่มีควำมจำำเป็นต้องประกอบอำชีพสำมำรถจะศึกษำระดับอุดมศึกษำใน
เวลำเดียวกันได้
3. กำรศึกษำระดับอุดมศึกษำควรเน้นวิชำชีพ
4. ผู้ที่สำำเร็จกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำจะประกอบอำชีพอื่น ๆ ได้มำกขึ้น
6.
คำำศัพท์ต่ำง ๆ ที่ปรำกฏในจำรึกส่วนใหญ่เป็นโบรำณิกศัพท์ ดังนั้นกำรแปล
ภำษำไทยโบรำณเป็นภำษำไทยปัจจุบนจะต้องศึกษำคำำศัพท์จำกวรรณกรรม
ั
โบรำณ วรรณกรรมท้องถิน รวมทังภำษำท้องถินทียงปรำกฎใช้อยู่
่
้
่ ่ ั
ข้อ ใดตีค วำมไม่ถ ูก ต้อ ง
1. คำำที่ใช้ในจำรึกส่วนใหญ่เป็นภำษำไทยโบรำณ
2. วรรณกรรมโบรำณก็เป็นแหล่งสำำหรับศึกษำควำมหมำยของคำำศัพท์ได้
3. ศัพท์ในภำษำท้องถินจะไม่มกำรเปลียนแปลงควำมหมำย เคยใช้ในสมัย
่
ี
่
โบรำณอย่ำงไรก็คงใช้ในปัจจุบนเช่นนัน
ั
้
4. กำรที่ต้องศึกษำวรรณกรรมโบรำณ วรรณกรรมท้องถิ่น และภำษำถิ่น ก็
เพื่อให้รู้ควำมหมำยของศัพท์โบรำณใดถูกต้อง
7.
ควำมคิดเรื่องสหกรณ์เป็นควำมคิดแบบสังคมนิยมโดยแท้ แต่กำรสหกรณ์ก็มี
ผู้ นำำ ไ ป ใ ช้ ไ ด้ ผ ล ดี ใ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ
นำยทุนนั้นหลำยแห่ง
ข้อ ความนี้ม ค วามหมายเหมือ นกับ ข้อ ใด
ี
1. สหกรณ์เป็นอุดมคติของสังคมนิยม และใช้ได้ไม่เหมาะกับประเทศ
ทุนนิยม
1. สหกรณ์เป็นอุดมคติทางเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม แต่บางประเทศแบบ
ทุนนิยมก็ใช้ได้ผลดี
2. สหกรณ์เป็นเครืองมือในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสังคมนิยม แต่ขด
่
ั
กับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
3. สหกรณ์เป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจทุนนิยมและสังคมนิยมด้วย
8.
ในปี พ.ศ. 2463 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของรัชการที่ 6 ได้เกิดปัญหาเศรษฐกิจ
ตกตำ่า อันเนื่องมาจากภาวะฝนแล้งและ
นำ้าท่วมติดต่อกันเป็นเวลาถึง 3 ปี มีผลทำาให้การทำานาไม่ได้ผลประกอบกับเกิด
สงครางโลกครั้งที่ 1 ทำาให้การค้ากับ

ต่างประเทศต้องหยุดชะงัก งบประมาณของไทยได้เกิดขาดดุลเป็น
จำานวนมาก และขาดดุลติดต่อกันเป็นเวลานานหลายปี
ข้อใด
ไม่สอดคล้องกับข้อความข้างต้น

1. ในสมัยรัชการที่ 6 ปัญหาเศรษฐกิจตกตำ่าเป็นผลให้งบประมาณขาดดุล
2. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศไทยอยู่ในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจ
ตกตำ่า
3. งบประมาณขาดดุลเกิดขึ้นครั้งแรกในรัชการที่ 6
4. ในสมัยรัชกาลที่ 6 การค้าระหว่างไทยกับต่างประเทศได้หยุดชะงัก
9.
คอมพิวเตอร์หรือสมองกลเป็นเครื่องมื อที่มนุษ ย์สร้ างขึ้น มีความสามารถ
เ ห มื อ น ม นุ ษ ย์
มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ร ว บ
รวมข้อมูลต่าง ๆ ได้ดีและมากกว่า แต่มนุษย์ก็ยังเป็นผู้ควบคุมและสั่งการให้
เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทำา ง า น
ถ้ า ม นุ ษ ย์ ไ ม่
มี คุ ณ ภ า พ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ก็ ต้ อ ง ไ ม่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ช่ น กั น
ข้อ ความนี้ก ล่า วสรุป ได้อ ย่า งไร
1. คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นแต่เก่งกว่ามนุษย์
2 2. คอมพิวเตอร์ไม่สามารถและทำางานเองได้ต้องอาศัยมนุษย์
3 3. คอมพิวเตอร์จะไม่มีประสิทธิภาพถ้าผู้ควบคุมไม่มีคุณภาพ
4. คอมพิวเตอร์เป็นแค่เครื่องมือช่วยในการทำางานของมนุษย์
10. กระดาษที่ใช้ห่อหรือใส่อาหารโดยเฉพาะพวกกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้ง
นั้น ไม่ควรเป็นกระดาษที่มีตัวหนังสือ
ทั้งนี้เพราะหมึกพิมพ์นั้นจะมีโลหะหนักเช่น ตะกั่ว โคเมียม เป็นส่วนประกอบ
ถ้าหมึกพิมพ์ไปติดกับอาหารที่รับประทานจะทำาให้สารเคมีโลหะหนักเข้าไป
สะสมในร่างกายทำาให้เกิดเป็นโรคต่าง ๆ ได้ สำาคัญที่สุดก็คือ โรคมะเร็ง
ข้อ ความข้า งต้น สรุป ได้อ ย่า งไร
1. ไม่ควรรับประทานกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้งที่ใส่ถุงกระดาษที่มีนำ้า
หมึกติดอยู่
4 2. ไม่ควรรับประทานอาหารที่เปื้อนหมึกเพราะโลหะหนักจะเข้าไปสะสมใน
ร่างกาย
5
3. ไม่ควรใช้กระดาษทีมตวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะสารเคมีมโลหะหนัก
่ ี ั
ี
เป็นสาเหตุของการเกิดโรค
6
ต่าง ๆ
7 4. ไม่ควรใช้กระดาษที่มีตัวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะกระดาษเป็นต้น
เหตุของการเกิดโรคที่สำาคัญ
8
บทความยาว
หนังสือหรือข้อเขียนใด ๆ คือสิ่งที่มนุษย์เขียนขึ้น การเขียนจึงหมายถึง สิ่งที่
มนุษย์คิดออกมาเป็นตัวอักษรมนุษย์เขียนอะไร คำาตอบคือ มนุษย์เขียนสิ่งที่ตนเองรู้
หรือคิด ถ้าเช่นนั้น การอ่านคืออะไร การอ่านคือความพยายามที่จะถ่ายทอดสิ่งที่
มนุษย์เขียนไว้กลับออกมาเป็นความคิด เมื่อพิจารณาอย่างนี้แล้ว ย่อมเห็นว่า การ
อ่านกับการเขียนเป็นของคู่กัน มีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก
อย่างไรจึงจะเรียกว่า อ่านดี หรือ เขียนดี เรื่องนี้นักปราชญ์ทางภาษาได้ให้
ทรรศนะไว้ว่า “ผู้เขียนแสดงความคิดอย่างไร ผู้อ่านก็ได้ความคิดอย่างนั้น” อย่างนี้
เรียกว่าเขียนดี และ “ผู้เขียนแสดงความคิดอย่างไรผู้อ่านเข้าใจได้หมด รู้เท่าทันทุก
ความคิด แต่ผู้อ่านมีความคิดเป็นของตน รู้จักวิเคราะห์ วิจารณ์เลือกรับแต่ความคิด
ที่เป็นประโยชน์ ขจัดความคิดที่ไร้สาระออกไปเพราะอ่านอย่างมีวิจารณญาณ” อย่าง
นี้เรียกว่าอ่านดี
11. บทความนี้กล่าวถึงเรื่องอะไร
1. การเขียนหนังสือ
2. การเขียนกับการอ่าน
3. การเป็นนักอ่านที่ดี
4. การอ่านขั้นใช้
วิจารณญาณ
12. การเขียนดีจะต้องมีลักษณะอย่างไร
1. ผู้อ่านเข้าใจความหมายของข้อเขียนได้ตรงกับที่ผู้เขียนต้องการ
2. ผู้เขียนใช้เหตุผลและหลักฐานต่าง ๆ ประกอบการเขียน
3. ความคิดที่แสดงออกมาทันสมัยและเป็นจริง
4. ภาษาที่สละสลวยและเข้าใจง่าย
13. ที่กล่าวว่า “อ่านดี” หมายความว่าอย่างไร
1. อ่านเอาจริงเอาจริง
2. เลือกอ่านเฉพาะ
ตอนที่ดีและมีสาระ
3. อ่านแล้วมีความรู้สึกคล้อยตาม
4. อ่านแล้วได้
ความรู้และความคิด
14. ผู้เขียนมีความประสงค์จะเน้นสิ่งใด
1. การเขียนและการอ่านที่ดี
2. ความสัมพันธ์
ระหว่างการเขียนกับการอ่าน
3. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เขียนที่ดีกับผู้อ่านที่ดี
4. ความสามารถ
ในการเขียนและการอ่าน
จงอ่า นข้อ ความที่ก ำา หนดให้ แล้ว พิจ ารณาเลือ กตัว เลือ ก 1, 2, 3, หรือ 4
เติม ในช่อ งว่า งให้ถ ูก ต้อ งตามหลัก ภาษา และให้ม ีค วามหมายสอดคล้อ งกับ
ข้อ ความที่ก ำา หนดให้น ั้น
15. ตบะในพุทธศาสนาหมายถึงความเป็นอยู่อย่างง่าย ๆ ตัดความกังวลในการ
แสวงหาสิ่งปรนเปรอความสุขให้…………เท่าที่จำาเป็นในการดำารงชีวิต
1. เหมาะสม
2. เพียงพอ
3. เหลือเพียง
4. พอ
ประมาณ
16. ข้อเรียกร้องทั้ง 8 ข้อนี้ สามารถตกลงกันได้ 7 ข้อเท่านั้น………….ข้อเรียก
ร้องที่ให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงกำาหนดราคาข้าวขั้นตำ่าขึ้นใหม่
1. ยกเว้น
2. นอกจาก
3. กล่าวคือ
4.
โดยเฉพาะ
17. …………….ให้เป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์นั้น ให้ออกให้เฉพาะแก่บุคคล
ผู้มีภูมิรู้สอบได้ประโยคมัธยม 6 หรือมีภูมิความรู้รอบตัวเป็นที่พอใจของเจ้า
พนักงานผู้ออก
1. ใบรับรอง 2. ใบอนุมัติ
3. ใบอนุญาติ
4. ใบ
ประกาศนียบัตร
18. คำาว่า”ประสิทธิภาพ” ในวงราชการมีความหมายกว้างไม่เหมือนกับ
ประสิทธิภาพของธุรกิจเอกชน ซึ่ง…………….เฉพาะผลที่ได้รับจากการบริการ
หรือการจัดการที่ได้กำาไรหรือขาดทุน
1. คิดถึง
2. พิจารณา
3. มุ่งหวัง
4. ตระหนัก
20.
ประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนเริ่มจะมีความเห็นขัดแย้งกัน เวียดนามจึง
พยายามใช้จุดนี้เพื่อสร้าง
ความ……….…….ในกลุ่มประเทศอาเซียนมากยิ่งขึ้น
1. แตกแยก 2. แตกร้าว
3. ขัดแย้ง
4. แตกต่าง
19. ข้าราชการต้อง……………การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา
กษัตริย์เป็นประมุขตามรัฐ
ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจ
1. เลื่อมใส
2. ยอมรับ
3. ส่งเสริม
4. ยึดมั่น
22.
……………ทางสังคมทำาให้ทุกคนดิ้นรนที่จะมุ่งศึกษาให้สูงถึงขั้นระดับ
ปริญญาโท
1. ความเจริญ
2. ค่านิยม
3. ความเปลี่ยนแปลง
4.
ความก้าวหน้า
20. ระบบหมายถึงระเบียบที่เกี่ยวกับการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะที่ซับซ้อน
ให้เข้าลำาดับ……….กัน
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวิธีการ
1. ผูกพัน
2. ประสาน
3. ผสม
4. ประสม
24.
ความสำาเร็จของการพัฒนาประเทศต้องขึ้นอยู่กับ………….ระหว่าง
ประชาชน รัฐบาล และเอกชน
1. ความสามารถ
2. ความร่วมมือ
3. การประสานงาน
4.
ความเข้าใจ
25. การกระทำาทุกอย่างในพุทธศาสนาสอนให้มีความฉลาดในวิธีการที่เรียกว่า
“อุบายโกสลา” ด้วยไม่ใช่นึก
จะทำาอะไรก็ทำาไปโดยไม่พิจารณาหรือเตรียมการให้……..……
1. ถ่องแท้
2. รอบคอบ
3. ครบถ้วน
4. เรียบร้อย
26.
พระไตรปิฎกคือตำาราหรือหนังสือซึ่ง……….……คำาสั่งสอนของพระพุทธ
ศาสนาไว้เป็นหลักฐาน
1. แสดง
2. จัดทำา
3. บันทึก
4. เรียบร้อย
27.
เท่าตัวมีความหมายว่า……..………จำานวน……….….ขนาดเพิ่มขึ้นอีกเท่า
ตัว
1. ให้ กับ 2. มี หรือ
3. ใช้ และ
4. ยก ตาม
28. พุทธจริยธรรมบ่งถึงความประพฤติที่เรียกว่า “จาริตตะ” อันกลายมาเป็นจารีต
ในภาษาไทย………การ
ควรเว้นที่เรียกว่า “วาริตตะ” ……………….”วิรัติ”
1. และ
และ
2. และ
หรือ
3. หรือ
หรือ
4. หรือ
และ
29. การช่างของไทยได้………….มาตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ดังจะเห็นได้จาก
การช่างในสมัยรัชกาลที่ 5
นัน ได้รับเอารูปแบบของศิลปะและการช่างอย่างตะวันตกเข้ามา…………กับ
้
การช่างไทย
1. ก้าวหน้า
ปะปน
2. เจริญ
คลุกคลี
3. พัฒนา
ผสมผสาน
4. รุ่งเรือง เกี่ยวข้อง
30. พุทธบริษททัวไปทังฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ เมือเห็นว่าวัดเป็นสถานทีมคณดัง
ั ่
้
่
่ ี ุ
กล่าวแล้วนัน ควรช่วย
้
กัน………บำารุงหาทางช่วยกัน……….ความเจริญมาสู่วัด
1. รักษา
สร้างสรรค์ 2. อนุรักษ์
สร้างเสริม 3. สนับสนุน
พัฒนา
4. อุปถัมภ์
นำา
จงพิจ ารณาข้อ ความในตัว เลือ กว่า ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 1, ที่ 2, ที่ 3
หรือ ที่ 4 แล้ว จึง ตอบคำา ถามของแต่ล ะข้อ
31.
ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 3
1. โดยยึดข่าวสาร ข้อมูลที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมประกอบการนั้น ๆ
2. ถ้าหากไม่กระทำาสิ่งเหล่านั้นก็เพราะไม่ทราบวัตถุประสงค์
3. ทฤษฎีสมองกลถือว่าคนเป็นสิ่งมีชีวิตซึ่งมักทำาอะไรอย่างมีจุดหมาย
4. หรือไม่ทราบผลร้ายที่จะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง
32.
ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 4
1. ก็มักจะเป็นเวลาที่เราใกล้จะเสียหรือสูญสิ่งนั้นไปแล้ว
2. พยายามที่จะเรียกร้องป้องกันต่อสู้เพื่อให้ได้สิ่งนั้นกลับคืนมา
3. คนเรากว่าจะค้นพบว่าสิ่งใดมีคุณค่าต่อชีวิตของเรา
4. ความกลัวที่จะต้องสูญเสียมักจะเป็นตัวผลักดันให้คนเรา
33.
ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 3
1. ในปัจจุบันคำาว่า”สัญลักษณ์”เข้ามามีบทบาทในสังคมเป็นอย่างมาก
2. ตลอดจนยากต่อการปลอมแปลงของคู่แข่งทางการค้าอีกด้วย
3. ทั้งนี้เพื่อความสะดวก ง่ายต่อการจดจำา และการนำาไปใช้
4. เพราะเป็นเครื่องหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่กำาหนดขึ้นมาแทนสิ่งนั้น ๆ
34.
ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 4
1. ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง
2. เช่น ยากลุ่มเพนนิชิลิน เดตาชัยคลีน
3. ยาปฏิชีวนะ เป็นสารประกอบทางเคมีใด ๆ ที่ผลิตหรือสร้างขึ้นโดยจุลชีพ
4. หรือไปขัดขวางหรือไปทำาลายจุลชีพกลุ่มนั้น ๆ
35.
ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 1
1. ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผู้นำาคอยชี้นำา
2. ซึ่งทำาให้ประชาชนไม่มีโอกาสในการคิดและตัดสินใจ นอกจากการทำาตาม
คำาสั่ง
3. แต่การปกครองแบบประชาธิปไตยถือว่าประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการ
ปกครอง
4. ทำาให้ต้องใช้เวลาอีกหลายปีที่กว่าประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศจะเข้าใจ
36.
ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3
1. เพื่อเป็นที่เสด็จประพาส
2. วังพญาไทยสร้างในรัชกาลที่ 5
3. ตลอดจนประกอบพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
4. และให้ที่ในบริเวณวังเป็นเพาะปลูกทดลองธัญพืชต่าง ๆ
37.
ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 2
1. การใช้สิ่งของ เครื่องมือ เครื่องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริการ
2. ทั้งนี้เพื่อให้สิ่งของ เครื่องใช้ เหล่านั้นเป็นประโยชน์แก่เรามากที่สุด
3. และให้ประโยชน์แก่เรานั้น
4. จำาเป็นที่ผู้ใช้จะต้องเข้าใจและรู้จักใช้ให้เป็น
38.
ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3
1. ผู้มีอำานาจแต่งตั้งซึ่งรู้อยู่แล้วว่า
2. ไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ก็ตาม
3. ตนจะต้องพ้นจากตำาแหน่งหน้าที่ราชการไป
4. ไม่พึงออกคำาสั่งแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนไว้ล่วงหน้า
39.
ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 4
1. และเงินที่ได้รับนั้นก็จะต้องไม่เกินกว่าความเสียหายที่ตนได้รับ
2. มิฉะนั้นก็จะเป็นช่องทางให้คนแสวงหากำาไรจากการเอาประกันภัย
3. ตนมีประโยชน์ส่วนได้เสียในเหตุที่ประกันภัย
4. บุคคลจะเอาประกันภัยได้ต่อเมื่อ
40.
ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3
1. เป็นการพิจารณาในแนวกว้างและในระยะยาว
2. ซึ่งมีวิธีการและทางเลือกหลายทาง
3. เพราะต้องพิสูจน์ถึงความจำาเป็นในการใช้จ่ายเงินในโครงการ
4. การทำางบประมาณแบบโครงการเป็นวิธีการที่ยึดถือโครงการเป็นหลัก
41.
ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3
1. เอื้ออำานวยต่อการทำาธุรกิจ
2. เมื่อ 4 – 5 ปีก่อน อุตสาหกรรมรองเท้ากีฬาจัดเป็นอุตสาหกรรม
3. เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
4. ที่นักลงทุนให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง
42.
ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 3
9 1. การปฐมพยาบาลคือการให้ความช่วยเหลือคนไข้ซึ่งเจ็บป่วยโดยกระทัน
หัน
102. โดยใช้เครื่องมือเท่าที่จะหาได้ในขณะนั้น เพื่อให้ผู้ป่วยหรือคนไข้พ้น
อันตราย
113. เป็นการช่วยลดอันตรายให้น้อยลงก่อนที่จะส่งไปให้แพทย์ในโรงพยาบาล
รักษาต่อไป
124. หรือได้รับอุบัติเหตุ ณ สถานที่เกิดเหตุนั้น
43.
ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 4
131. สะท้อนให้เห็นว่าโรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัญหาที่ทวีความสำาคัญ
142. แม้ว่าสถิติโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทยมิได้มีอัตราเพิ่มขึ้นมาก
153. และก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจมิใช่น้อย
164. แต่การเพิ่มปริมาณการใช้วัคซีนในช่วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมา
ให้พ ิจ ารณาข้อ ใดที่ถ ูก ต้อ งตามหลัก ภาษาและไวยากรณ์
44.
1. ข้อพิพาทระหว่างคูเวตและอิรักมีทั้งเรื่องปัญหานำ้ามันและปัญหา
พรมแดน
2. นายปรีดี พนมยงค์ถูกยกย่องเป็นวีรบุรุษของชาติ
3. วินัยข้าราชการกำาหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ข้าราชการถือปฏิบัติ
4. เทศนาโวหาร หมายถึงการเขียนข้อความหมายให้กว้างขวางออกไป
45.
1. การส่งออกของประเทศในไตรมาสแรกของปีมีนโยบายที่ดีขึ้นเมื่อ
เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
2. กรมศุลกากรเริ่มกวดขันในระเบียบการนำาสินค้าเข้าจากต่างประเทศ
3. เจ้าหน้าที่นำาเมล็ดพันธ์ข้าวจำานวนมากมาแจกให้เกษตรผู้ประสบภัย
4. รัฐบาลมีนโยบายเร่งด่วนที่จะส่งเสริมรายได้ของเกษตรในชนบท
46. 1. การกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ชนบทเป็นลู่ทางการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ
2. ตังแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ชายฉกรรจ์จะถูกเกณฑ์
้
แรงงานโดยทางราชการ
3. การใช้พลังงานนำ้ามันทำาให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์กระจัดกระจาย
มากกว่าการใช้ถ่านหิน
4. ชาวเขาส่วนใหญ่ยังคงดำารงชีวิตตามรอยบรรพบุรุษ
47. 1. กรมการค้าระหว่างประเทศได้ฉวยโอกาสเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศ
2. นักวิทยาศาสตร์ได้นำาส่วนต่าง ๆ ของสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ด้านการ
แพทย์
3. จากผลการวิจัยพบว่ากว่าที่เนยเหลวจะกลายเป็นเนยแข็งใช้เวลาเพียง
ชั่วโมงเดียวเท่านั้น
4. ทหารตามแนวชายแดนประเทศคูเวตได้รับคำาสั่งให้หยุดยิงจาก
สหประชาชาติ
ให้พ จ ารณาคำา หรือ กลุ่ม คำา ทีข ีด เส้น ใต้แ ล้ว ตอบคำา ถามตามเงื่อ นไขที่
ิ
่
กำา หนด
48. กาแฟคือ พืชชนิดหนึ่งที่อยู่ในโครงการลดพื้นที่เพาะปลูก ตามนโยบายการ
ปรับโครงสร้างการผลิตทางการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย
ได้เ ริ่ม ดำา เนิน การตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543
49. ลำาไย เป็นผลไม้ท ี่เ หมาะกับ อากาศทางภาคเหนือของประเทศ จังหวัดที่ปลูก
มากได้แ ก่ จังหวัดเชียงราย พันธ์ที่นิยมปลูกได้แ ก่เบี้ยวเขียว ชมพู อีดอ
เป็นต้น
50. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้เปิดเผยให้ท ราบว่า สินค้าส่งออกทั้งมัน
สำาปะหลังและผลิต ภัณ ฑ์มันสำาปะหลังมีปัญหาในการส่งออก เพราะคุณภาพ
ไม่ได้ม าตรฐาน
51. รูปเสมาธรรมจักรมีหน่วยราชการ 2 แห่ง ในประเทศไทยทีนำามาใช้เป็น
่
เครือ งหมาย คือ กระทรวงศึกษาธิการกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
่
52. ประเทศไทยสร้างป้อมหรือ หอสำาหรับรบขึ้นมาให้เป็นที่มั่นเพื่อต่อสู้ก ับ ข้าศึก
ศัตรู ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยเอาอย่างมาจากป้อมปืนไฟในโปตุเกส

จงอ่า นข้อ ความที่ก ำา หนดให้ แล้ว ตอบคำา ถามโดยพิจ ารณาเลือ กตัว เลือ ก 1,2,3 หรือ 4
ที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด
1. เสีย งของคำา เพี้ย นและกลายได้ ความหมายก็เ พี้ย นและกลายได้ท ำา นองเดีย วกัน
เพราะเสีย งและความหมายเป็น ของคูก น ถ้า แยกกัน แต่ล ะส่ว นก็ไ ม่เ ป็น คำา พูด ในภาษา
่ ั
เพราะมีแ ต่เ สีย งอย่า งเดีย วก็เ ป็น เสีย งทีป ราศจากความหมาย ถ้า มีแ ต่ค วามหมายก็เ ป็น
่
แต่ค วามในใจ เมื่อ ไม่เ ปล่ง เสีย งออกมาก็ไ ม่ม ีใ ครทราบ ข้อ ความนี้ส รุป ว่า อย่า งไร
1. ทั้งเสียงและความหมายเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้
2. ความสัมพันธ์ของเสียง
และความหมายอยู่ที่การสื่อสาร
3. การสื่อสารด้วยเสียงทีมีความหมายเป็นการสื่อสารที่สมบูรณ์ที่สุด 4. ในการสื่อสารต้องใช้
่
เสียงและความหมายประกอบกันจึงจะเข้าใจกันได้
2. พิน ัย กรรมคือ คำา สัง แสดงความตัง ใจครั้ง สุด ท้า ยที่จ ะยกทรัพ ย์ส ิน หรือ วางข้อ กำา หนด
่
้
ใด ๆ เกี่ย วกับ ทรัพ ย์ส ิน ของตน อัน จะให้เ กิด เป็น ผลบัง คับ ได้ต ามกฎหมายเมื่อ ตนตาย
แล้ว ข้อ ความนี้ส รุป ว่า อย่า งไร
1. พินัยกรรมคือเอกสารแสดงเจตนาในเรื่องทรัพย์สินซึงถูกต้องตามกฎหมาย
่
2. พินัยกรรมคือเอกสารแสดงสิทธิและหน้าที่ของผู้รับทรัพย์สินของผู้ตายตามที่ระบุไว้
3. พินัยกรรมคือบรรดาทรัพย์สินทั้งปวงทีผู้ตายได้มอบไว้แก่ผู้รับตามที่กำาหนด
่
4. พินัยกรรมคือมรดกที่ผู้ตายได้มอบไว้ให้แก่ผู้รับตามเงื่อนไขที่ได้ระบุไว้ทุกประการ
3. ผงซัก ฟอกที่ใ ช้อ ยู่ใ นปัจ จุบ ัน มีผ ลทำา ให้พ ืช นำ้า เจริญ เติบ โตเร็ว เพราะว่า มีส ารอาหาร
ที่เ ป็น ปุ๋ย ของพืช แต่จ ะมีผ ลทำา ให้น ำ้า เสีย ในระยะหลัง เพราะว่า พืช จะดึง ออกซิเ จนใน
นำ้า มาใช้ใ นการหายใจ ข้อ ความนี้ต ีค วามว่า อย่า งไร
1. ผงซักฟอกมีส่วนทำาให้นำ้าเสีย
2. พืชนำ้าเจริญเติบโตได้ดีในที่ ๆ นำ้าเสีย
3. ผงซักฟอกให้ประโยชน์แก่มนุษย์ได้หลายอย่าง
4. พืชนำ้าจะไม่ใช้ออกซิเจนใน
อากาศมาปรุงอาหาร
4. นิก ายสงฆ์เ กิด จากการตีค วามพระพุท ธบัญ ญัต ิไ ม่ต รงกัน เลยเกิด การแตกแยกใน
ทางปฏิบ ัต ิข ้อ ความนี้ส รุป ว่า อย่า งไร
1. นิกายสงฆ์ที่ตางกันจะมีศีลต่างกัน
่
2. นิกายสงฆ์ที่ตางกันจะมีศาสดา
่
ต่างกัน
3. นิกายสงฆ์ที่ตางกันจะมีการปฏิบัติตางกัน
่
่
4. นิกายสงฆ์ทต่างกันจะมีพุทธ
ี่
บัญญัตต่างกัน
ิ
5. ผูเ ขีย นตำา ราต้อ งเป็น ผู้ร ู้ภ าษาดี ถ้า ผู้ร ู้ภ าษาไม่ด ีค นอ่า นไม่เ ข้า ใจก็ไ ม่ม ีป ระโยชน์
้
ข้อ ความข้า งต้น ตีค วามได้อ ย่า งไร
1. ผู้เขียนตำาราต้องเป็นผู้สื่อสารที่ดี
2. ผูอ่านจะไม่ได้รับประโยชน์จากการอ่านตำารา
้
ถ้าผู้เขียนไม่มีความสามารถในการใช้ภาษา
2. ภาษาเป็นสื่อสำาคัญในการทำาความเข้าใจระหว่างมนุษย์
3. คนอ่านจะได้รับประโยชน์
ในด้านการใช้ภาษานอกเหนือจากความรู้ในตำารา
6. อาหารนมจำา เป็น ต้อ งมีค ุณ ภาพสูง มีก ระบวนการผลิต แปรรูป และจำา หน่า ยที่ถ ูก
สุข ลัก ษณะ เพราะจุล ิน ทรีย ์ส ามารถทำา ให้ผ ลิต ภัณ ฑ์เ สื่อ มคุณ ภาพ หรือ นำา เชื้อ โรคมาสู่
คนได้ ทำา นองเดีย วกัน จุล ิน ทรีย ์บ างอย่า งก็ม ีป ระโยชน์ส ามารถแปรรูป ผลิต ภัณ ฑ์ใ ห้ไ ด้
สี กลิ่น และรสที่ต ลาดต้อ งการ และสร้า งคุณ ประโยชน์แ ก่ร ่า งกายมนุษ ย์ ข้อ ความ
ใดสรุป ได้ถ ูก ต้อ ง
1. อาหารนมทีมีคุณภาพสูงจะต้องไม่มีจุลินทรีย์ปะปนอยู่ 2. อาหารนมต่างจากอาหารประเภทอื่น
่
เนื่องจากต้องมีกระบวนการกำาจัดไม่ให้จุลินทรีย์ปะปน
3. จุลินทรีย์ในอาหารนมบางชนิดทำาลายคุณภาพของผลิตภัณฑ์ 4. จุลินทรีย์ทุกชนิดในอาหาร
มักจะสร้างคุณประโยชน์แก่ร่างกายมนุษย์
7. คอมพิว เตอร์ห รือ สมองกลเป็น เครื่อ งมือ ที่ม นุษ ย์ส ร้า งขึ้น มีค วามสามารถเหมือ น
มนุษ ย์ มีป ระสิท ธิภ าพในการรวบรวมข้อ มูล ต่า ง ๆ ได้ด ีแ ละมากกว่า แต่ม นุษ ย์ก ็ย ัง เป็น
ผู้ค วบคุม และสั่ง การให้เ ครื่อ งคอมพิว เตอร์ท ำา งาน ถ้า มนุษ ย์ไ ม่ม ีค ุณ ภาพ คอมพิว เตอร์
ก็ต ้อ งไม่ม ีป ระสิท ธิภ าพเช่น กัน ข้อ ความนี้ก ล่า วสรุป ได้อ ย่า งไร
1. คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นแต่เก่งกว่ามนุษย์
2. คอมพิวเตอร์ไม่
สามารถและทำางานเองได้ต้องอาศัยมนุษย์
3. คอมพิวเตอร์จะไม่มีประสิทธิภาพถ้าผู้ควบคุมไม่มีคุณภาพ
4. คอมพิวเตอร์เป็น
แค่เครื่องมือช่วยในการทำางานของมนุษย์
8. กระดาษที่ใ ช้ห ่อ หรือ ใส่อ าหารโดยเฉพาะพวกกล้ว ยทอด มัน ทอด กล้ว ยปิ้ง นั้น ไม่
ควรเป็น กระดาษที่ม ีต ัว หนัง สือ ทั้ง นี้เ พราะหมึก พิม พ์น ั้น จะมีโ ลหะหนัก เช่น ตะกั่ว โค
เมีย ม เป็น ส่ว นประกอบ ถ้า หมึก พิม พ์ไ ปติด กับ อาหารที่ร ับ ประทานจะทำา ให้ส ารเคมี
โลหะหนัก เข้า ไปสะสมในร่า งกายทำา ให้เ กิด เป็น โรคต่า ง ๆ ได้ สำา คัญ ที่ส ุด ก็ค ือ โรค
มะเร็ง
ข้อ ความข้า งต้น สรุป ได้อ ย่า งไร
1. ไม่ควรรับประทานกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้งที่ใส่ถุงกระดาษทีมีนำ้าหมึกติดอยู่
่
2. ไม่ควรรับประทานอาหารที่เปื้อนหมึกเพราะโลหะหนักจะเข้าไปสะสมในร่างกาย
3. ไม่ควรใช้กระดาษทีมตวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะสารเคมีมโลหะหนักเป็นสาเหตุของ
่ ี ั
ี
การเกิดโรคต่าง ๆ
4. ไม่ควรใช้กระดาษทีมีตัวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะกระดาษเป็นต้นเหตุของการเกิดโรค
่
ที่สำาคัญ
9. ตบะในพุทธศาสนาหมายถึงความเป็นอยู่อย่างง่าย ๆ ตัดความกังวลในการแสวงหาสิ่งปรนเปรอ
ความสุขให้…………เท่าที่จำาเป็นในการดำารงชีวิต
1. เหมาะสม
2. เพียงพอ
3. เหลือเพียง
4. พอประมาณ
10. การช่างของไทยได้………….มาตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ดังจะเห็นได้จากการช่างในสมัย
รัชกาลที่ 5 นัน ได้รับเอารูปแบบของศิลปะและการช่างอย่างตะวันตกเข้ามา…………กับการ
้
ช่างไทย
1. ก้าวหน้า
ปะปน
2. เจริญ
คลุกคลี
3. พัฒนา
ผสมผสาน
4. รุ่งเรือง เกี่ยวข้อง
11. พุทธจริยธรรมบ่งถึงความประพฤติที่เรียกว่า “จาริตตะ” อันกลายมาเป็นจารีตในภาษา
ไทย………การควรเว้นที่เรียกว่า “วาริตตะ” …….”วิรัติ”
1. และ และ
2. และ
หรือ
3. หรือ
หรือ
4.
หรือ
และ
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.
เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.

More Related Content

Similar to เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษnaaikawaii
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
เฉลยข้อสอบ O net
เฉลยข้อสอบ O netเฉลยข้อสอบ O net
เฉลยข้อสอบ O netNuttarika Kornkeaw
 
Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบFaq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบmaruay songtanin
 

Similar to เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ. (7)

ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษเอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
เอกสารประกอบวิชาอังกฤษ
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
เฉลยข้อสอบ O net
เฉลยข้อสอบ O netเฉลยข้อสอบ O net
เฉลยข้อสอบ O net
 
Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบFaq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
Faq of baldrige criteria part 1 of 3 ออเจ้าถาม Baldrige ตอบ
 

More from Garsiet Creus

โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...Garsiet Creus
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ Garsiet Creus
 
ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว Garsiet Creus
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อแนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อGarsiet Creus
 
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ  แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ Garsiet Creus
 
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ Garsiet Creus
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. Garsiet Creus
 
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) interB.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) interGarsiet Creus
 
ช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบGarsiet Creus
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์Garsiet Creus
 

More from Garsiet Creus (20)

โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10  เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
โครงการเรียนล่วงหน้า รุ่นที่ 10 เพื่อเข้าศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยเกษตร...
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
วศ.บ.(วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ) ฟีโบ้
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 30 ข้อ
 
ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว ข้อสอบความรู้รอบตัว
ข้อสอบความรู้รอบตัว
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.  ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ภาษาไทย
 
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อแนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา  อุปมัย 62 ข้อ
แนวข้อสอบความเข้าใจ อุปมา อุปมัย 62 ข้อ
 
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
แนวข้อสอบการอ่านคำ 106 ข้อ
 
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ  แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
แนวข้อสอบการรู้จักความหมายของคำและกลุ่มคำ 30 ข้อ
 
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
แนวข้อสอบการใช้คำศัพท์และหลักของภาษาไทย 198 ข้อ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก. ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
ข้อสอบพร้อมเฉลยข้อสอบภาค.ก.
 
B.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) interB.eng. (civil engineering) inter
B.eng. (civil engineering) inter
 
TEST Aptitude2
TEST Aptitude2TEST Aptitude2
TEST Aptitude2
 
TEST Aptitude
TEST AptitudeTEST Aptitude
TEST Aptitude
 
Biology Chapter10
Biology Chapter10 Biology Chapter10
Biology Chapter10
 
ช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบช่างเขียนแบบ
ช่างเขียนแบบ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
Ch9 wave exercises
Ch9 wave exercisesCh9 wave exercises
Ch9 wave exercises
 
Wave
WaveWave
Wave
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 

เทคนิคการทำข้อสอบ ก.พ.

  • 1. บทความสั้น ดูก ลุ่ม คำา ที่ส ำา คัญ ดัง นี้ 1. ถามประโยคสำา คัญ ดูค ำา ต่อ ไปนี้ ทำา ให้ ปรากฏ เกิด ขึ้น เกิด จาก บรรลุผ ล สำา เร็จ ตามเป้า หมาย แต่ หรือ คำา ที่ม ค วามหมายใกล้เ คีย งกับ ี คำา เหล่า นี้ (ทำา ให้ + ประโยคสำา คัญ ) กรณีท ี่บ ทความสั้น มีค ำา กริย า สำา คัญ อยูห ลายคำา ทีซ ำ้า กัน ให้ด ก ริย าตัว สุด ท้า ย เช่น ถ้า มีค ำา ว่า ทำา ให้อ ยู่ ่ ่ ู หลายตัว ให้ด ค ำา ว่า ทำา ให้ต ว สุด ท้า ย (ถ้า ในบทความมีค ำา ว่า “เพราะ” ู ั มากกว่า หนึ่ง คำา ให้ด ูค ำา ว่า “เพราะ” ตัว แรก ถ้า มีค ำา ว่า “ทำา ให้” หรือ กริย าสำา คัญ ตามข้อ 1 นี้ ให้ด ูค ำา ว่า ”ทำา ให้” หรือ กริย าสำา คัญ ตัว สุด ท้า ย ถ้า มีค ำา ว่า ”เพราะ” และคำา ว่า “ทำา ให้” อยูใ นบทความเดีย วกัน ่ ให้ด ูค ำา ว่า “ทำา ให้” หลัง คำา พวกนี้ค ือ คำา ตอบ 2. ถามจุดประสงค์ของบทความดูคำาต่อไปนี้ เพื่อ สำา หรับ (เพื่อ + จุด ประสงค์) คำา ว่า เพี่อ หรือ สำา หรับ ถ้า อยู่ท ้า ยประโยคจะ สำา คัญ และสามารถนำา ประโยคที่อ ยู่ท ้า ยคำา ว่า เพื่อ มาตอบได้ 3. เปลี่ย น เปลี่ย นเป็น แทน กลาย กลายเป็น แทนที่ ให้ความ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงจากสิ่งหนึ่งสู่สิ่งหนึ่ง ถ้ากลุ่มคำานี้อยู่ใน บทความ ในข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำากลุ่มนี้ด้วยและคำานามสำาคัญจะอยู่ หลังคำากลุ่มนี้ การตอบให้มีคำานามตัวนี้ด้วยเช่นกัน 4. ถ้า ในบทความมีค ำา ว่า จำา เป็น หรือ คำา ว่า ไม่จ ำา เป็น ข้อ ทีถ ก อาจ ่ ู บอกว่า จำา เป็น หรือ ไม่จ ำา เป็น ก็ไ ด้ รวมทัง คำา ว่า ้ เห็น ด้ว ยหรือ ไม่เ ห็น ด้ว ย ข้อ ที่ถ ูก จะมีค ำา ว่า เห็น ด้ว ยหรือ ไม่ เห็น ด้ว ย 5. ถ้า หาก ให้ความหมายเป็นประโยคเงื่อนไข (ถ้า + ประโยคเงื่อนไข) พิจารณาข้อเลือกมีคำากลุ่มนี้หรือไม่ - ไม่มีคำากลุ่มนี้ ถือว่าข้อความนั้นเป็นเพียงส่วนขยายให้ตัดออก - มีคำากลุ่มนี้การตอบให้เน้นเงื่อนไขในบทความ - ถ้ามีคำาว่า “ ถ้า “ “ หาก” อยู่ในบทความ ถ้าในข้อเลือกมีคำาพวกนี้ อยู่ด้วยให้ตอบข้อนั้นได้เลย แต่ถ้าไม่มีคำาว่า “ถ้า “ “หาก” อยู่ ในบทความแต่ในข้อเลือกมี ข้อเลือกนั้นผิดทันที 6. น้อ ยกว่า มากกว่า ตำ่า กว่า สูง กว่า (กลุ่มคำาแสดงการเปรียบ เทียบขั้นกว่า) ถ้ากลุ่มคำานี้อยู่ในบทความ ในข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำา กลุ่มนี้ด้วย หากมีคำาเปรียบเทียบมากกว่า 1 ข้อเลือก พิจารณาว่า บทความเป็นการเปรียบเทียบเรื่องใด และจะต้องเป็นเรื่องเดียวกับข้อ เลือกที่ถูกต้อง หากไม่มีในบทความแต่ในข้อเลือกมี ข้อนั้นผิดทันที 7. ทั้ง หมด ทั้ง สิ้น สิ่ง แรก สิ่ง เดีย ว อัน เดีย ว เท่า นั้น ที่ส ุด ยกเว้น นอกจาก เว้น แต่ (กลุ่มคำาที่เพื่อต้องการเน้นปริมาณ ทั้งหมด) หากบทความมีคำากลุ่มนี้ ในตัวเลือกที่ถูกต้องจะต้องมีคำากลุ่มนี้ เช่นเดียวกัน หากบทความไม่มีคำากลุ่มนี้ แต่ในข้อเลือกกลับมีคำากลุ่มนี้ ถือว่าข้อเลือกนั้นผิดทันที (อย่าตอบข้อเลือกที่เน้นเจาะจง ถ้าใน บทความไม่มี เช่น ที่สด เฉพาะ เท่านั้น ุ
  • 2. 8. เพราะ เนื่อ งจาก (เพราะ + ประโยคเหตุผล) เน้นการเปลี่ยน ประโยคจากเพราะ เนื่องจาก เป็นประโยคทำาให้ ข้อสอบเน้นการตอบ ประโยคสาเหตุ + นามสำาคัญ (ประธาน) ถ้าบทความมีความว่าเพราะ อยู่หลายที่ ให้ดูคำาว่าเพราะตัวที่หนึ่ง ถ้าบทความมีคำาว่าเพราะและ กริยาสำาคัญเช่นคำาว่าทำาให้ ให้ดูที่คำาว่าทำาให้ 9. ตระหนัก คำา นึง (ตระหนัก + ถึง คำานึง + ถึง) นามที่อยู่ข้างหลัง ตระหนัก + ถึง จะต้องเป็นนามสำาคัญรองจากประธาน และคำานามนี้จะ ต้องอยู่ในข้อเลือกที่ถูกต้อง 10. แต่ ทั้ง ๆ ที่ อย่า งไรก็ต าม แม้…..แต่ ไม่…….แต่ (แต่ + ประโยคขัดแย้ง) ถ้าเป็นบทความสั้น แต่ + ประโยคสำาคัญ ถ้าเป็น บทความยาว แต่ + ใกล้ประโยคสำาคัญ 11. ถามหาทรรศนะผู้เขียน ดูคำาว่า ควร ควรจะ อาจ อาจจะ น่า น่า จะ คิด คิด ว่า คาด คาดว่า เชื่อ ว่า แนะ เสนอ ศัก ยภาพ เสนอแนะ แนะนำา ความ สามารถ ใช้กับข้อสอบที่ถามว่า ผู้เขียนคิดอย่างไร จุดประสงค์ของผู้ เขียน เป้าหมายของผู้เขียน จุดประสงค์ของบทความ ความต้องการ ของผู้เขียน กลุ่มคำาทรรศนะส่วนมากจะวางไว้ท้ายบทความ ท้ายคำา กลุ่มนี้ + ประเด็นสำาคัญ 12. เปรีย บเสมือ น เปรีย บเหมือ น เสมือ น ดุจ ประดุจ ว่า (กลุ่ม คำาแสดงการเปรียบ อุปมา อุปมัย) ข้อสอบจะเน้นบทความเชิงเปรียบ เทียบอุปมา อุปมัย เช่นเปรียบเทียบเปลือกไม้กับชนบท ในการตอบให้ เอาส่วนท้ายของบทความมาเป็นจุดเน้น 13. ดัง นั้น เพราะฉะนั้น จึง ดังนั้น + นามสำาคัญ+จึง (ดันนั้น + ข้อ สรุป จึง + ข้อสรุป) คำาที่อยู่หลังคำากลุ่ม 1 นี้จะต้องเป็นข้อสรุปของ บทความ และสามาถนำาเอาคำาที่อยู่หลังกลุ่มนี้มาตอบ ส่วนมากจะใช้กับ คำาถามประเภทสาระสำาคัญ ใจความสำาคัญ หรือสรุป 14. พบ พบว่า ต้อ งการ ปรารถนา (พบว่า + นามสำาคัญ) คำาทีอยู่ ่ หลังกลุมนีจะเป็นสาระสำาคัญ ส่วนมากแล้วจะพบตอนต้นของบทความ ่ ้ 15. ผลต่อ ผลกระทบ ส่ง ผลต่อ อิท ธิพ ลต่อ เอื้อ อำา นวยต่อ (ผล ต่อ + นามสำาคัญ) คำานามที่อยู่หลังคำากลุ่มนี้จะเป็นนามสำาคัญรองจาก ประธาน พิจารณาว่าในข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำานามนี้ พบมากตอน ท้ายของบทความ(ถ้ามีคำาเหล่านี้อยู่ในคำาตอบข้อไหนข้อนั้นมีโอกาสถูก 60% 16. ทั้ง ……..และ และ ระหว่า ง …….กับ กับ (กลุ่มคำาที่มีคำา นามสำาคัญ 2 ตัว) การตอบข้อเลือกที่ถูกต้องจะมีคำานามทั้ง 2 ตัว ข้อสอบส่วนมากจะมีส่วนขยายที่ยาว ให้ตัดส่วนขยายออก และถือว่า นามทั้ง 2 ตัวเป็นนามสำาคัญ
  • 3. 17. นับ ว่า ถือ ว่า เรีย กว่า อัน นับ ว่า เป็น ถือ ได้ว ่า เป็น (กลุ่มคำาที่ วางประธานไว้ท้ายบทความ) คำากลุ่มนี้ + ประธาน (นามสำาคัญ) จะวาง ไว้ตอนท้ายบทความ ในการตอบให้เน้นประธาน หรือนามสำาคัญตัวนี้ 18. นอกจาก ……แล้ว ยัง ……….., นอกจาก …..ยัง ต้อ ง …., ไม่ เพีย งแต่….แล้ว ยัง …., (กลุ่มคำาที่ให้ความหมายนอกเหนือจากที่ กล่าวมาหรือมีความหมายหลายอย่าง) การตอบให้ตอบในลักษณะไม่ ได้มีเพียงอย่างเดียว มีหลาย ๆ อย่าง มีทงสองอย่าง หรือ การตอบตาม ั้ โครงสร้างไวยากรณ์ โดยเน้นประโยคหลังคำาว่า แล้วยัง ยังต้อง 19. บาง บางสิ่ง บางอย่า ง บางประการ ประการหนึ่ง จำา นวนที่ไ ม่ใ ช่ท ั้ง หมด (กลุ่มคำาเพื่อต้องการเน้นปริมาณไม่ใช่ ทั้งหมด) หากคำาเหล่านี้อยู่ในตัวเลือกใด ส่วนมากจะถูกต้อง แต่หากมี คำาเหล่านี้หลายตัวเลือกให้พิจารณาคำาเหล่านี้ทำาหน้าที่ขยายคำานามตัว ใดในตัวเลือกต้องขยายคำานามตัวเดียวกัน 20. โดยเฉพาะ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง (กลุ่มคำาเพื่อใช้เน้น) หากคำา กลุ่มนี้รวมกับคำานามตัวเดียว หมายถึงการเน้นเพื่อใช้ตอบคำาถาม แต่ ถ้ารวมกับคำานามหลายตัว หมายถึงยกตัวอย่างสามารถตัดออกได้ 21. เช่น ได้แ ก่ อาทิ (กลุ่มคำาที่ยกตัวอย่าง) หากมีกลุ่มคำานี้ใน บทความหมายถึงตัวอย่างให้ตัดออก แต่บางกรณีที่สามารถตอบ ตัวอย่างได้ แต่ต้องกล่าวถึงตัวอย่างให้ครบทุกตัว 22. เป็น ที่น ่า สัง เกตว่า สัง เกตว่า อย่า งไรก็ต าม (กลุ่มคำาที่ ต้องการเน้นการขึ้นย่อหน้าใหม่(พิเศษ)) ข้อความหรือนามที่อยู่หลังกลุ่ม นี้สามารถนำาไปตอบได้ ส่วนมากเน้นขึ้นต้นย่อหน้าซึ่งบอกความหมาย ว่าย่อหน้านั้นเป็นย่อหน้าพิเศษ (มีคำาถามซ้อนอยู่) 23. ที่ ซึ่ง อัน เพื่อ ใน โดย ด้ว ย สำา หรับ ของ จาก ตาม (กลุ่มคำานี้เป็นส่วนขยาย) หากกลุ่มคำานี้อยู่กลางประโยคถึงเป็นส่วน ขยายสามารถตัดออกได้ แต่มีบางคำาเช่น เพื่อ สำาหรับ จะต้องพิจารณา ตำาแหน่งของคำา (ดูขอ 2) ้ 24. ประธาน +เป็น ,นับ เป็น , ถือ เป็น , (กลุ่มคำาที่ใช้หาประธาน) ใช้ เมื่อบทความให้หาประธานแบบง่าย หรือข้อสอบเรียงประโยค โดย ส่วนมากแล้วการหาประธานในบทความจะหาได้จากคำานามในข้อเลือก ที่ซำ้า ๆ หรือหาได้จากการกล่าวซำ้าคำานามตัวเดิมในประโยคที่สอง 25. ที่ส ำา คัญ อย่า งเอาตัว อย่า งในบทความมาตอบเด็ด ขาด รูป แบบของข้อ สอบบทความสั้น รูป แบบที่ 1 ประโยคสอดคล้อง ตีความประโยค ไม่สอดคล้อง ตีความ ไม่ถูกต้อง มีประมาณ 5 ข้อ รูปแบบนี้ไม่จำาเป็นต้องหาประธาน โดยสามารถตีความจากข้อ ต่าง ๆ ตามข้างบนได้
  • 4. รูป แบบที่ 2 สรุปใจความสำาคัญ หาประธาน ตัดตัวเลือกที่ไม่มีประธาน เหลือไว้เฉพาะที่มีประธานเท่านั้น อ่านและขีดเส้นใต้คำาที่สำาคัญข้างต้น ประธาน + คำาที่ สำาคัญ คือคำาตอบ รูป แบบที่ 3 เรื่องย่อย ๆ 1. ข้อความข้างต้นกล่าวถึงเรื่องใด ทำาเช่นเดียวกับรูปแบบที่ 2 (ออกครั้งละ 1 ข้อ) 2. ข้อความข้างต้นผู้เขียนมีจุดประสงค์อย่างไร หรือจุด ประสงค์ของบทความ ทำาโดยใช้กลุ่มคำาภาษาแสดง ทรรศนะ (ข้อ 8) ส่วนมากภาษาแสดงทรรศนะจะแสดงไว้ ท้ายบทความ 3. ข้อความข้างต้นกล่าวไว้กี่ประเด็น (ข้อสอบจะตอบ 2 ประเด็นทุกครั้ง) 4. ข้อสอบให้แยกความแตกต่างของคำาในพจนานุกรม เช่น เรื่องเม็ด กับเมล็ด 5. ความแตกต่างของคำาศัพท์ เช่นให้ความหมายของที่วัด ที่ กัลปนา แต่ถามความหมายของธรณีสงฆ์ 6. ข้อสอบให้บริบทมาและศัพท์ที่ขีดเส้นใต้ แล้วถามความ หมายของศัพท์โดยการแปลจากบริบทข้างเคียง 7. ข้อสอบให้ความหมายของศัพท์แต่ให้หาคำาจำากัดความ 8. การหาประโยคที่มีความหมายหรือโครงสร้างประโยคที่ เหมือนกัน ทฤษฎีบ ทความยาว อ่า นคำา ถามก่อ นที่จ ะอ่า นบทความ ในขณะที่อ ่า นให้ข ีด เส้น ใต้ค ำา นาม คำา นามเฉพาะ ตัว เลข หรือ คำา ที่ส ามารถจดจำา ง่า ยแล้ว 1. ทำาการค้นหา 1.1 หากบทความยาวมาก 10 – 12 บรรทัด (3-4 ย่อ หน้า ) ให้ ค้น หาคำา ที่เ ราขีด เส้น ใต้ไ ว้ 1.2 หากบทความยาวพอสมควร 5-6 บรรทัด ให้อ ่า นอย่า งคร่า ว ๆ เมื่อ พบคำา ที่ข ีด เส้น ใต้แ ล้ว ให้อ ่า นอย่า งจริง จัง 2. ข้อ สอบให้ต ั้ง ชื่อ เรื่อ ง 2.1 หาประธานของบทความ โดยดูจากตัวเลือกว่าคำาใดที่ซำ้ากันมาก ที่สุดและคำานามในประโยคแรกของย่อหน้าแรก 2.2 ดูประโยคแรกของแต่ละย่อหน้า รวมกับประโยคสุดท้ายของย่อหน้า สุดท้ายเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่ 2.3 นำาข้อ 2.1 และ 2.2 มาพิจารณารวมกันอีกครั้ง 3. ข้อ สอบถามสาระสำา คัญ ของบทความ 3.1 หาประธาน (ทำาเหมือนกับข้อ 2.1)
  • 5. 3.2 หาคำาที่สำาคัญ (ทำาเหมือนบทความสั้น) 4. ข้อ สอบถามจุด ประสงค์ข องผู้เ ขีย น (บทความจะกล่า วเชิง ลบ ) 4.1 หาสาระสำาคัญของบทความ 4.2 เอาสาระสำาคัญมาเปลี่ยนแปลงจากเชิงลบให้เป็นเชิงบวก 4.3 บทความอาจจะมีคำาว่า เพื่อ สำาหรับ วางไว้ท้ายบทความ( เพื่อ สำาหรับ ให้บอกจุดประสงค์ของบทความ) 5. ข้อ สอบถามความหมายของคำา ศัพ ท์ 5.1 ดูบริบทที่มาขยายของศัพท์คำานั้น 5.2 ถ้าศัพท์เป็นคำากริยา ให้ดูคำานาม ถ้าศัพท์เป็นคำานามให้ดูกริยา 5.3 แปลรากศัพท์ของคำานั้น ๆ 6. ข้อสอบถามข้อใดถูกต้อง หรือ ไม่ถูกต้อง ให้ทำาเหมือนกับข้อ 1 คือขีด เส้นใต้คำา นาม คำานามเฉพาะ ตัวเลข หรือคำา ที่สามารถจดจำา ง่าย แล้ว ทำาการค้นหา รูป แบบของข้อ สอบข้อ บกพร่อ งทางภาษา รูปแบบที่ 1คำาหรือกลุมคำาทีฟมเฟือยหมายความว่ามีคำาหรือกลุมคำาทีมความ ่ ่ ุ่ ่ ่ ี หมายเดียวกันตัดออกไปแล้ว 1 ชุดยังให้ใจความเหมือนเดิม รูปแบบที่ 2กำากวม หมายความว่า ประโยคหรือข้อความนั้นสามารถ ตีความได้มากกว่า 1 ประเด็น แบ่งเป็น 3 กรณี 1. กำากวมที่เกิดจากคำาประสม เช่นข้าวเย็น 2. กำากวมที่เกิดจากการวางวลีบอกจำานวน บอกเวลา ส่วน ขยายไว้ท้ายประโยค 3. กำากวมเกิดจากการให้ความหมายของคำาที่ขัดแย้ง รูปแบบที่ 3การใช้คำาศัพท์ผิดความหมาย รูปแบบที่ 4การใช้คำาเชื่อมให้สอดคล้องกับรูปประโยค (ให้ดูทฤษฎี คำา เชื่อมและบุพบท) ทฤษฎีค ำา เชื่อ มบุพ บทและสัน ธาน บุพ บท คือ คำาที่ใช้นำาหน้าคำาอื่นเช่นนำาหน้าคำานาม สรรพนาม สัน ธาน คือ คำาที่ทำาหน้าที่เชื่อมคำา หรือเชื่อมข้อความให้ติดต่อกัน หรือ เชื่อมประโยค 1. ต่อ (บุพบท) ใช้เน้นความเป็นเฉพาะ และการกระทำาต่อหน้า จะใช้ร่วม กับคำากริยาบางคำา ตัวอย่างการใช้ ยื่นคำาร้องต่อศาล ให้การต่อเจ้าหน้าที่ เป็นกบฎต่อรัฐบาล ขัดต่อ กฎหมายรัฐธรรมนูญ ผลต่อ ผลกระทบ
  • 6. ส่งผลต่อ สำำคัญต่อ เอื้ออำำนวยต่อ อิทธิพลต่อ ขึ้นตรงต่อ จำำเป็น ต่อ 2. แก่ แด่ (บุพบท) แก่ ใช้นำำหน้ำผู้รับ ให้ มอบ แจก ส่ง สงเครำะห์ คำำกลุ่มนี้ต้องใช้ แก่ + ผู้รับ ส่วนแด่ ใช้นำำหน้ำผู้รับที่มีศักดิ์ ฐำนะที่สูงกว่ำ เช่น ถวำยพระพรแด่องค์ พระประมุข ห้ำ มใช้ มอบสำำหรับ 3. กับ (บุพบท) ให้เมื่อประธำนที่ทำำกริยำเดียวกัน เวลำเดียวกัน สังเกต ประธำน 1+ กับ+ ประธำน 2 หรือใช้ ร่วมกริยำบำงคำำและใช้กับวิเศษณ์บอกระยะทำง ใกล้กับ ตัวอย่ำง เขำกับฉันไปดูหนัง เกี่ยวข้อกับ สัมพันธ์กบ ผูกพันกับ ประสำนกับ ชี้ แจงกับ ต่อสูกบ ปรำศรัยกับ ั ้ ั ร่วมมือกับ ห้ำ มใช้เกียวข้องต่อ ผูกพันต่อ ่ 4. จำก (บุพบท) ใช้บอกแหล่งที่มำ ให้นำำหน้ำวัสดุ ให้กับคำำกริยำใช้ บอกระยะทำง ไกลจำก ให้กับคำำกริยำ บำงคำำ เช่น เดินทำง มำจำกจังหวัดเลย นำ้ำไหลมำจำกยอดดอย ผลิตจำก ทำำมำจำก ทำำจำก ได้รับจำก รับจำก ขอจำก ถอนจำก เบิกจำก เก็บจำก ห้ำ มใช้ นำ้ำไหล มำแต่ 5. ตำม (บุพบท) ใช้นำำหน้ำสิ่งที่ถูกต้อง ข้อบังคับ ข้อกำำหนด ใช้บอก จำำนวนที่แน่ชัด ใช้นำำหน้ำสิ่งที่กำำหนดขึ้นล่วงหน้ำ เช่น ตำมกฎหมำย ตำมกติกำ ตำมข้อบังคับ ตำมสัดส่วนที่ได้กำำหนด ตำมโครงกำร ตำม นโยบำย ห้ำ มใช้ในกฎหมำย ด้วยกฎหมำย โดยกฎหมำย ใน สัดส่วน ในเป้ำหมำย 6. เพื่อ สำำ หรับ เพื่อ ใช้บอกจุดประสงค์หรือจุดมุ่งหมำย สำำหรับ ใช้บอกจุดประสงค์โดยเฉพำะเจำะจง กลุ่มนี้ไม่ค่อยผิด 7. คือ ให้ควำมหมำยของคำำที่อยู่ด้ำนหน้ำ หำกบอกจำำนวนจะหมำยถึง จำำนวนที่แน่ชัด เช่น เลย คือจังหวัดที่ ตั้งอยู่ภำค ตะวันออกเฉียงเหนือ เป็น ใช้อธิบำยเพิ่มเติมคำำที่อยู่ด้ำนหน้ำ หำกบอกจำำนวนจะหมำยถึง จำำนวนที่ไม่แน่ชัด เลยเป็นจังหวัดที่มี อำรยธรรมเก่ำแก่ 8. โดย ด้ว ย ให้นำำหน้ำผู้กระทำำ หรือนำำหน้ำกำรกระทำำ ใช้นำำหน้ำ เครื่องใช้ เช่น เจรจำโดยสันติ เดินทำงโดย เครื่องบิน ถูกตีด้วยท่อนไม้ ห้ำ มใช้ เจรจำตำมสันติวิธี อังกะลุง ทำำโดยไม้ไผ่ 9. ถูก ได้ร ับ ถูก ใช้นำำหน้ำคำำกริยำที่ไม่ดี ได้รับ ใช้นำำหน้ำกริยำที่ดี ตัวอย่ำง ถูกเตะ ถูกตี ได้รับเชิญ ได้รับ
  • 7. กำรรอบรม 10. โดยเฉพำะ ใช้เน้นคำำข้ำงหน้ำให้หนักแน่นยิ่งขึ้น เช่น ภำษำโดย เฉพำะภำษำพูด ภำคเหนือโดยเฉพำะ เชียงใหม่ 11. และ ให้แสดงถึงควำมคล้อยตำมของเหตุกำรณ์ ให้ควำมหมำยว่ำ ทั้งหมดทั้งสิ้น เช่นกินข้ำวและอำบนำ้ำ หรือ ใช้แสดงให้ทรำบว่ำเลือกเอำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ใช้คั่น สิ่งของ 2 อย่ำงซึ่งเป็นอันเดียวกันแต่เรียกชื่อ คนละอย่ำง เช่น แม่ฮ่องสอนหรือเมืองสำมหมอก เครื่องหมำย อัญประกำศหรือเครื่องหมำยคำำพูด ข้อสอบ จะวัดควำมเข้ำใจของคำำว่ำ และ กับคำำว่ำหรือ ใช้แตกต่ำงกัน อย่ำงไร 12. เพรำะ เนื่อ งจำก ใช้เชื่อมควำมเป็นเหตุและผลต่อกัน เพรำะ ไม่สำมำรถขึ้นต้นประโยคได้ เช่น เขำ เรียนเก่งเพรำะ(เนื่องจำก)เขำขยันอ่ำนหนังสือ เนื่องจำกเขำขยัน อ่ำนหนังสือเขำจึงเรียนเก่ง ห้ำ มใช้ ก็ เพรำะ สืบเนื่องมำจำก เพรำะฟุ่มเฟือย 13. แต่ (สันธำน) ใช้เชือมควำมขัดแย้ง ส่วนมำกจะใช้กบกริยำปฏิเสธ ่ ั เช่น เขำไม่สบำย แต่เขำก็ยงมำสอน ทัง ๆ ที่ไม่สบำย แต่เขำก็ยังมำ ั ้ สอน ข้อสอบจะให้แยกควำมแตกต่ำงของคำำว่ำ และ แต่ 14. ระหว่ำ ง จะใช้คูกับคำำว่ำ กัน ให้จำำว่ำ ระหว่ำง……กับ…… เช่น ปัญหำข้อพิพำกรระหว่ำงอินเดียกับปำกีสถำนยังหำข้อสรุปไม่ได้ ห้ำม ใช้ ระหว่ำง…….และ 15. ของ เป็นคำำที่แสดงควำมเป็นเจ้ำของ จะนำำหน้ำคำำนำม ประเทศ คน หน่วยงำน เช่น นโยบำยเร่งด่วน ของกระทรวงมหำดไทยคือ………… ข้อสอบจะให้แยกควำม แตกต่ำงของคำำว่ำ ของ แห่ง 16. แห่ง เป็นคำำที่แสดงควำมเป็นเจ้ำของในเรื่องหมวดหมู่ หรือส่วน ย่อยและส่วนใหญ่ เช่น สมำคมวำงแผน ครอบครัวแห่งประเทศไทย 17. เมื่อ ใน เป็นคำำที่ใช้นำำหน้ำเวลำ คำำทั้งสองสำมำถนำำขึ้นต้น ประโยคได้ เช่น เมื่อ ปี พ.ศ. 18. ที่ ใน เป็นคำำที่ใช้นำำหน้ำสถำนที่ เช่น เขำพบเธอที่บ้ำน ห้ำ ม ใช้ ที่ ใน พร้อมกัน 19. ทั้ง ต้อ งใช้ค ู่ก ับ และ โครงสร้ำง ทั้ง…และ….รวมทั้ง (ตลอดจน) เช่น ทั้งเขำและเธอต่ำงก็มีควำมสุข ห้ำ มใช้ ทั้ง.หรือ
  • 8. 20. ได้แ ก่ เช่น อำทิ เป็น ต้น ว่ำ เป็นคำำที่ใช้ยกตัวอย่ำง คำำกลุ่มนี้จะ ใช้กับจำำนวนที่ไม่แน่นอน คำำว่ำได้แก่ห้ำมตำมหลังประธำน เช่น จังหวัดในภำคเหนือบำงจังหวัด เช่น……ห้ำ มใช้ อำทิเช่น ห้ำมใช้ จังหวัดในภำคเหนือมี 11 จังหวัด เช่น…. 21. ดัง นั้น จึง เพรำะฉะนั้น ดัง นั้น ……จึง ….. เป็นคำำที่ใช้สรุป ข้อควำม เนื่องจำก+สำเหตุ+จึง+ข้อสรุป ดังนั้น+นำม+ จึง+ข้อสรุป เช่น เขำเป็นคนขยันจึงทำำให้เขำ ประสบควำมสำำเร็จในชีวิต ข้อสอบจะเน้น โครงสร้ำงที่ต่อเนื่องคือ ดังนั้น…จึง เนื่องจำก….จึง 22. ถ้ำ ….แล้ว เป็นคำำทีแสดงเงือนไข อำจจะเกิดขึนหรือไม่กได้ เช่น ่ ่ ้ ็ ถ้ำเขำขยัน แล้วเขำจะสอบได้ ห้ำ มใช้ ถ้ำ หำก พร้อมกันจะทำำให้ฟุ่มเฟือย 23. อย่ำ งไรก็ต ำม อย่ำ งไรก็ด ี ใช้ขึ้นต้นประโยค หรือขึ้นต้น ย่อหน้ำใหม่ เป็นสันธำนที่แสดงถึงควำมขัดแย้ง ไม่สำมำรถเชื่อมคำำ หรือวลีได้ เช่น อย่ำงไรก็ตำมรัฐบำลยังต้องแก้ไขข้อบกพร่องในกำร ทำำงำนอีกมำก ห้ำมใช้ ก็อย่ำงไรก็ตำม ทฤษฎีก ำรเรีย งประโยค 1. หำข้อขึ้นต้นประโยค โดยยึดหลักดังนี้ 1.1 คำำนำม รวมทั้งคำำ “กำร+กริยำ” และ “ควำม+ วิเศษณ์” 1.2 ช่วงเวลำ รวมทั้งคำำ เมื่อ ใน (ช่วงเวลำถ้ำไม่ขึ้นต้นก็จะอยู่ ประโยคสุดท้ำย) 1.3 คำำเชื่อมบำงคำำ เนื่องจำก แม้ว่ำ ถ้ำ หำก คำำเหล่ำนี้จะขึ้น ต้นได้ต้องรวมกับคำำนำม 1.4 หนังสือรำชกำร ขึ้นต้นด้วย ตำม ตำมที่ ด้วย 2. คำำเชื่อมที่เป็นคำำมำตรฐำนมี 11 คำำคือ ที่ ซึ่ง อัน เพื่อ ใน โดย ด้วย สำำหรับ ของ จำก ตำม คำำเหล่ำนี้ ขึ้นต้นประโยคไม่ได้ ยกเว้นคำำว่ำ ใน+นำม จำก+นำม ตำม+ข้อ บังคับ ตำม+หน่วยงำน และถ้ำคำำเหล่ำนี้ อยู่กลำงประโยคถือเป็นส่วนขยำยให้ตัดส่วนขยำยเหล่ำนั้นทิ้ง 3. คำำปิดประโยค อีกด้วย ก็ตำม นั้นเอง ต่อไป เท่ำนั้น ถ้ำคำำเหล่ำนี้ ลงท้ำยของข้อแล้วส่วนมำกข้อนั้น จะเป็นข้อสุดท้ำย ช่วงเวลำ ประโยคคำำถำม 3. โครงสร้ำงประโยคที่ใช้บ่อย ทั้ง…และ….รวมทั้ง(ตลอดจน) นอกจำก……แล้วยัง(ยังต้อง) ไม่………แต่ แม้…แต่ ดังนั้น+นำม+จึง ถ้ำ……แล้ว(ยัง) 5. คำำนำมที่เป็นชื่อเฉพำะจะต้องบวกคำำกริยำ เช่น ประเทศสมำชิก อำเซียน กระทรวงมหำดไทย
  • 9. 6. หำกมีข้อใดขึ้นต้นด้วยคำำว่ำ และ หรือ ให้ใช้เทคนิคหำคำำที่มีควำม หมำยใกล้เคียงกัน 7. หำกมีข้อใดขึ้นด้วยคำำว่ำ กับ ต่อ ให้หำคำำกริยำที่ใช้คู่กัน เช่น ประสำนกับ ชี้แจงกับ ผลต่อ 8. ในกำรเรียงหำกเหลือ 2 ข้อ ให้พิจำรณำกริยำใดเกิดขึ้นก่อน หรือ เกิดทีหลัง จงอ่ำ นข้อ ควำมที่ก ำำ หนดให้ แล้ว ตอบคำำ ถำมโดยพิจ ำรณำเลือ ก ตัว เลือ ก 1,2,3 หรือ 4 ที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด 1. กำรที่มนุษย์มีสมองใหญ่จึงรับรู้ได้มำก คิดได้มำก และเกิดกิเลสมำกกว่ำสัตว์ เมื่อมนุษย์ถ่ำยทอดประสบกำรณ์มำกขึ้นก็จะแยกกันประกอบงำนต่ำง ๆ ทำำให้เกิด อำชีพต่ำง ๆ แต่ละคนกลำยเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์ทำำให้ต้องพึ่งพำผู้อื่น จึงต้อง รวมกันอยู่เป็นสังคมใหญ่เกิดชั้นวรรณะต่ำง ๆ ต้องมีกำรแลกเปลี่ยนสิ่งของกัน เมื่อเกิดระบบเงินตรำทำำให้มนุษย์เกิดควำมโลภมำกขึ้นไม่มีที่สิ้นสุด จำกบทควำม ข้ำงต้นใจควำมสำำคัญคือข้อใด 1. สำเหตุของกำรเกิดระบบเงินตรำ 2. สำเหตุกำรเกิดควำม โลภของมนุษย์ 3. สำเหตุของกำรแบ่งชั้นวรรณะ 4. สำเหตุที่มนุษย์ ประกอบอำชีพ 2. กำรที่สำรตะกั่วจะก่อให้เกิดอันตรรำยแก่มนุษย์เรำได้นั้นเมื่อเข้ำสู่ร่ำงกำยเำทำง หนึ่งทำงใด ได้แก่กำรบริโภค กำรหำยใจ กำรสัมผัส ผู้ป่วยอำจได้รับจำกควัน ของตะกั่ว เช่นกำรหลอมตะกั่ว ควันรถยนต์ ฯลฯ เมื่อมีปริมำณของตะกั่วมำกขึ้น จะเกิดพิษแก่ระบบต่ำง ๆ ของร่ำงกำย ถ้ำไม่ได้รับกำรรักษำอย่ำงทันท่วงทีก็อำจ ถึงแก่ชีวิตได้ บำงรำยก็ป่วยอย่ำงเรื้อรังอยู่เป็นเวลำนำน ๆ เหล่ำนี้เป็นต้น บทควำมข้ำงต้นกล่ำวถึงเรื่อใด
  • 10. 1. อันตรำยจำกสำรตะกั่ว 2. ปริมำณของสำตะกั่วที่ จะเป็นพิษต่อร่ำงกำย 3. ทำงที่สำรตะกั่วจะเข้ำสู่ร่ำงกำย 4. ที่มำของสำพิษ 3. ไม่ว่ำทรรศนะของนักวิชำกำรในสถำบันกำรศึกษำที่มีต่อโหรำศำสตร์จะเป็นเช่น ไร แต่ในโลกแห่งควำมจริงในสังคมไทยทุกวันนี้ โหรำศำสตร์ได้มีอิทธิพลอย่ำง มำกมำยต่อกำรตัดสินใจกำรกระทำำหรือไม่กระทำำกำรของบุคคลในวงกำรต่ำง ๆ ทั้งแวดวงธุรกิจ วงกำรทหำร และแม้ในวงรำชกำรเองซึ่งย่อมมีผลก่อกำรพัฒนำ ประเทศอย่ำงมิต้องสงสัย ข้อใดสอดคล้องกับบทควำมข้ำงต้น 1. นักวิชำกำรในสถำบันศึกษำไม่น่ำจะสนใจในเรื่องโหรำศำสตร์ 2. ควำมเชื่อเรื่องโหรำศำสตร์มักเป็นไปตำมระดับกำรศึกษำของแต่ละบุคคล 3. โหรำศำสตร์มีส่วนเกี่ยวข้องอย่ำงมำกกับกำรดำำเนินงำนในวงกำรต่ำง ๆ 4. โหรำศำสตร์เป็นสิ่งที่ไม่สำมำรถพิสูจน์ได้ 4. ผู้เขียนตำำรำต้องเป็นผู้รู้ภำษำดี ถ้ำผู้รู้ภำษำไม่ดีคนอ่ำนไม่เข้ำใจก็ไม่มี ประโยชน์ ข้อ ควำมข้ำ งต้น ตีค วำมได้อ ย่ำ งไร 1. ผู้เขียนตำำรำต้องเป็นผู้สื่อสำรที่ดี 2. ภำษำเป็นสื่อสำำคัญในกำรทำำควำมเข้ำใจระหว่ำงมนุษย์ 3. คนอ่ำนจะได้รับประโยชน์ในด้ำนกำรใช้ภำษำนอกเหนือจำกควำมรู้ใน ตำำรำ 4. ผู้อ่ำนจะไม่ได้รับประโยชน์จำกกำรอ่ำนตำำรำ ถ้ำผู้เขียนไม่มีควำมสำมำรถ ในกำรใช้ภำษำ 5. ปรัชญำกำรศึกษำแผนใหม่มวำในระดับอุดมศึกษำไม่จำำเป็นต้องแยกระหว่ำงชีวต ี ่ ิ กำรศึกษำกับกำรประกอบอำชีพ ข้อ ควำมข้ำ งต้น ตีค วำมได้อ ย่ำ งไร 1. ชีวิตกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำจะสอดคล้องกับกำรประกอบอำชีพ 2. ผู้ที่มีควำมจำำเป็นต้องประกอบอำชีพสำมำรถจะศึกษำระดับอุดมศึกษำใน เวลำเดียวกันได้ 3. กำรศึกษำระดับอุดมศึกษำควรเน้นวิชำชีพ 4. ผู้ที่สำำเร็จกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำจะประกอบอำชีพอื่น ๆ ได้มำกขึ้น 6. คำำศัพท์ต่ำง ๆ ที่ปรำกฏในจำรึกส่วนใหญ่เป็นโบรำณิกศัพท์ ดังนั้นกำรแปล ภำษำไทยโบรำณเป็นภำษำไทยปัจจุบนจะต้องศึกษำคำำศัพท์จำกวรรณกรรม ั โบรำณ วรรณกรรมท้องถิน รวมทังภำษำท้องถินทียงปรำกฎใช้อยู่ ่ ้ ่ ่ ั ข้อ ใดตีค วำมไม่ถ ูก ต้อ ง 1. คำำที่ใช้ในจำรึกส่วนใหญ่เป็นภำษำไทยโบรำณ 2. วรรณกรรมโบรำณก็เป็นแหล่งสำำหรับศึกษำควำมหมำยของคำำศัพท์ได้ 3. ศัพท์ในภำษำท้องถินจะไม่มกำรเปลียนแปลงควำมหมำย เคยใช้ในสมัย ่ ี ่ โบรำณอย่ำงไรก็คงใช้ในปัจจุบนเช่นนัน ั ้ 4. กำรที่ต้องศึกษำวรรณกรรมโบรำณ วรรณกรรมท้องถิ่น และภำษำถิ่น ก็ เพื่อให้รู้ควำมหมำยของศัพท์โบรำณใดถูกต้อง 7. ควำมคิดเรื่องสหกรณ์เป็นควำมคิดแบบสังคมนิยมโดยแท้ แต่กำรสหกรณ์ก็มี ผู้ นำำ ไ ป ใ ช้ ไ ด้ ผ ล ดี ใ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ บ บ นำยทุนนั้นหลำยแห่ง
  • 11. ข้อ ความนี้ม ค วามหมายเหมือ นกับ ข้อ ใด ี 1. สหกรณ์เป็นอุดมคติของสังคมนิยม และใช้ได้ไม่เหมาะกับประเทศ ทุนนิยม 1. สหกรณ์เป็นอุดมคติทางเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม แต่บางประเทศแบบ ทุนนิยมก็ใช้ได้ผลดี 2. สหกรณ์เป็นเครืองมือในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสังคมนิยม แต่ขด ่ ั กับระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 3. สหกรณ์เป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจทุนนิยมและสังคมนิยมด้วย 8. ในปี พ.ศ. 2463 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของรัชการที่ 6 ได้เกิดปัญหาเศรษฐกิจ ตกตำ่า อันเนื่องมาจากภาวะฝนแล้งและ นำ้าท่วมติดต่อกันเป็นเวลาถึง 3 ปี มีผลทำาให้การทำานาไม่ได้ผลประกอบกับเกิด สงครางโลกครั้งที่ 1 ทำาให้การค้ากับ ต่างประเทศต้องหยุดชะงัก งบประมาณของไทยได้เกิดขาดดุลเป็น จำานวนมาก และขาดดุลติดต่อกันเป็นเวลานานหลายปี ข้อใด ไม่สอดคล้องกับข้อความข้างต้น 1. ในสมัยรัชการที่ 6 ปัญหาเศรษฐกิจตกตำ่าเป็นผลให้งบประมาณขาดดุล 2. ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศไทยอยู่ในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจ ตกตำ่า 3. งบประมาณขาดดุลเกิดขึ้นครั้งแรกในรัชการที่ 6 4. ในสมัยรัชกาลที่ 6 การค้าระหว่างไทยกับต่างประเทศได้หยุดชะงัก 9. คอมพิวเตอร์หรือสมองกลเป็นเครื่องมื อที่มนุษ ย์สร้ างขึ้น มีความสามารถ เ ห มื อ น ม นุ ษ ย์ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ร ว บ รวมข้อมูลต่าง ๆ ได้ดีและมากกว่า แต่มนุษย์ก็ยังเป็นผู้ควบคุมและสั่งการให้ เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทำา ง า น ถ้ า ม นุ ษ ย์ ไ ม่ มี คุ ณ ภ า พ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ก็ ต้ อ ง ไ ม่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ช่ น กั น ข้อ ความนี้ก ล่า วสรุป ได้อ ย่า งไร 1. คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นแต่เก่งกว่ามนุษย์ 2 2. คอมพิวเตอร์ไม่สามารถและทำางานเองได้ต้องอาศัยมนุษย์ 3 3. คอมพิวเตอร์จะไม่มีประสิทธิภาพถ้าผู้ควบคุมไม่มีคุณภาพ 4. คอมพิวเตอร์เป็นแค่เครื่องมือช่วยในการทำางานของมนุษย์ 10. กระดาษที่ใช้ห่อหรือใส่อาหารโดยเฉพาะพวกกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้ง นั้น ไม่ควรเป็นกระดาษที่มีตัวหนังสือ ทั้งนี้เพราะหมึกพิมพ์นั้นจะมีโลหะหนักเช่น ตะกั่ว โคเมียม เป็นส่วนประกอบ ถ้าหมึกพิมพ์ไปติดกับอาหารที่รับประทานจะทำาให้สารเคมีโลหะหนักเข้าไป สะสมในร่างกายทำาให้เกิดเป็นโรคต่าง ๆ ได้ สำาคัญที่สุดก็คือ โรคมะเร็ง ข้อ ความข้า งต้น สรุป ได้อ ย่า งไร 1. ไม่ควรรับประทานกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้งที่ใส่ถุงกระดาษที่มีนำ้า หมึกติดอยู่ 4 2. ไม่ควรรับประทานอาหารที่เปื้อนหมึกเพราะโลหะหนักจะเข้าไปสะสมใน ร่างกาย 5 3. ไม่ควรใช้กระดาษทีมตวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะสารเคมีมโลหะหนัก ่ ี ั ี เป็นสาเหตุของการเกิดโรค 6 ต่าง ๆ
  • 12. 7 4. ไม่ควรใช้กระดาษที่มีตัวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะกระดาษเป็นต้น เหตุของการเกิดโรคที่สำาคัญ 8 บทความยาว หนังสือหรือข้อเขียนใด ๆ คือสิ่งที่มนุษย์เขียนขึ้น การเขียนจึงหมายถึง สิ่งที่ มนุษย์คิดออกมาเป็นตัวอักษรมนุษย์เขียนอะไร คำาตอบคือ มนุษย์เขียนสิ่งที่ตนเองรู้ หรือคิด ถ้าเช่นนั้น การอ่านคืออะไร การอ่านคือความพยายามที่จะถ่ายทอดสิ่งที่ มนุษย์เขียนไว้กลับออกมาเป็นความคิด เมื่อพิจารณาอย่างนี้แล้ว ย่อมเห็นว่า การ อ่านกับการเขียนเป็นของคู่กัน มีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก อย่างไรจึงจะเรียกว่า อ่านดี หรือ เขียนดี เรื่องนี้นักปราชญ์ทางภาษาได้ให้ ทรรศนะไว้ว่า “ผู้เขียนแสดงความคิดอย่างไร ผู้อ่านก็ได้ความคิดอย่างนั้น” อย่างนี้ เรียกว่าเขียนดี และ “ผู้เขียนแสดงความคิดอย่างไรผู้อ่านเข้าใจได้หมด รู้เท่าทันทุก ความคิด แต่ผู้อ่านมีความคิดเป็นของตน รู้จักวิเคราะห์ วิจารณ์เลือกรับแต่ความคิด ที่เป็นประโยชน์ ขจัดความคิดที่ไร้สาระออกไปเพราะอ่านอย่างมีวิจารณญาณ” อย่าง นี้เรียกว่าอ่านดี 11. บทความนี้กล่าวถึงเรื่องอะไร 1. การเขียนหนังสือ 2. การเขียนกับการอ่าน 3. การเป็นนักอ่านที่ดี 4. การอ่านขั้นใช้ วิจารณญาณ 12. การเขียนดีจะต้องมีลักษณะอย่างไร 1. ผู้อ่านเข้าใจความหมายของข้อเขียนได้ตรงกับที่ผู้เขียนต้องการ 2. ผู้เขียนใช้เหตุผลและหลักฐานต่าง ๆ ประกอบการเขียน 3. ความคิดที่แสดงออกมาทันสมัยและเป็นจริง 4. ภาษาที่สละสลวยและเข้าใจง่าย 13. ที่กล่าวว่า “อ่านดี” หมายความว่าอย่างไร 1. อ่านเอาจริงเอาจริง 2. เลือกอ่านเฉพาะ ตอนที่ดีและมีสาระ 3. อ่านแล้วมีความรู้สึกคล้อยตาม 4. อ่านแล้วได้ ความรู้และความคิด 14. ผู้เขียนมีความประสงค์จะเน้นสิ่งใด 1. การเขียนและการอ่านที่ดี 2. ความสัมพันธ์ ระหว่างการเขียนกับการอ่าน 3. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เขียนที่ดีกับผู้อ่านที่ดี 4. ความสามารถ ในการเขียนและการอ่าน จงอ่า นข้อ ความที่ก ำา หนดให้ แล้ว พิจ ารณาเลือ กตัว เลือ ก 1, 2, 3, หรือ 4 เติม ในช่อ งว่า งให้ถ ูก ต้อ งตามหลัก ภาษา และให้ม ีค วามหมายสอดคล้อ งกับ ข้อ ความที่ก ำา หนดให้น ั้น 15. ตบะในพุทธศาสนาหมายถึงความเป็นอยู่อย่างง่าย ๆ ตัดความกังวลในการ แสวงหาสิ่งปรนเปรอความสุขให้…………เท่าที่จำาเป็นในการดำารงชีวิต 1. เหมาะสม 2. เพียงพอ 3. เหลือเพียง 4. พอ ประมาณ 16. ข้อเรียกร้องทั้ง 8 ข้อนี้ สามารถตกลงกันได้ 7 ข้อเท่านั้น………….ข้อเรียก ร้องที่ให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงกำาหนดราคาข้าวขั้นตำ่าขึ้นใหม่
  • 13. 1. ยกเว้น 2. นอกจาก 3. กล่าวคือ 4. โดยเฉพาะ 17. …………….ให้เป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์นั้น ให้ออกให้เฉพาะแก่บุคคล ผู้มีภูมิรู้สอบได้ประโยคมัธยม 6 หรือมีภูมิความรู้รอบตัวเป็นที่พอใจของเจ้า พนักงานผู้ออก 1. ใบรับรอง 2. ใบอนุมัติ 3. ใบอนุญาติ 4. ใบ ประกาศนียบัตร 18. คำาว่า”ประสิทธิภาพ” ในวงราชการมีความหมายกว้างไม่เหมือนกับ ประสิทธิภาพของธุรกิจเอกชน ซึ่ง…………….เฉพาะผลที่ได้รับจากการบริการ หรือการจัดการที่ได้กำาไรหรือขาดทุน 1. คิดถึง 2. พิจารณา 3. มุ่งหวัง 4. ตระหนัก 20. ประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนเริ่มจะมีความเห็นขัดแย้งกัน เวียดนามจึง พยายามใช้จุดนี้เพื่อสร้าง ความ……….…….ในกลุ่มประเทศอาเซียนมากยิ่งขึ้น 1. แตกแยก 2. แตกร้าว 3. ขัดแย้ง 4. แตกต่าง 19. ข้าราชการต้อง……………การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษัตริย์เป็นประมุขตามรัฐ ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจ 1. เลื่อมใส 2. ยอมรับ 3. ส่งเสริม 4. ยึดมั่น 22. ……………ทางสังคมทำาให้ทุกคนดิ้นรนที่จะมุ่งศึกษาให้สูงถึงขั้นระดับ ปริญญาโท 1. ความเจริญ 2. ค่านิยม 3. ความเปลี่ยนแปลง 4. ความก้าวหน้า 20. ระบบหมายถึงระเบียบที่เกี่ยวกับการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะที่ซับซ้อน ให้เข้าลำาดับ……….กัน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันตามหลักเหตุผลทางวิธีการ 1. ผูกพัน 2. ประสาน 3. ผสม 4. ประสม 24. ความสำาเร็จของการพัฒนาประเทศต้องขึ้นอยู่กับ………….ระหว่าง ประชาชน รัฐบาล และเอกชน 1. ความสามารถ 2. ความร่วมมือ 3. การประสานงาน 4. ความเข้าใจ 25. การกระทำาทุกอย่างในพุทธศาสนาสอนให้มีความฉลาดในวิธีการที่เรียกว่า “อุบายโกสลา” ด้วยไม่ใช่นึก จะทำาอะไรก็ทำาไปโดยไม่พิจารณาหรือเตรียมการให้……..…… 1. ถ่องแท้ 2. รอบคอบ 3. ครบถ้วน 4. เรียบร้อย 26. พระไตรปิฎกคือตำาราหรือหนังสือซึ่ง……….……คำาสั่งสอนของพระพุทธ ศาสนาไว้เป็นหลักฐาน 1. แสดง 2. จัดทำา 3. บันทึก 4. เรียบร้อย 27. เท่าตัวมีความหมายว่า……..………จำานวน……….….ขนาดเพิ่มขึ้นอีกเท่า ตัว 1. ให้ กับ 2. มี หรือ 3. ใช้ และ 4. ยก ตาม 28. พุทธจริยธรรมบ่งถึงความประพฤติที่เรียกว่า “จาริตตะ” อันกลายมาเป็นจารีต ในภาษาไทย………การ
  • 14. ควรเว้นที่เรียกว่า “วาริตตะ” ……………….”วิรัติ” 1. และ และ 2. และ หรือ 3. หรือ หรือ 4. หรือ และ 29. การช่างของไทยได้………….มาตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ดังจะเห็นได้จาก การช่างในสมัยรัชกาลที่ 5 นัน ได้รับเอารูปแบบของศิลปะและการช่างอย่างตะวันตกเข้ามา…………กับ ้ การช่างไทย 1. ก้าวหน้า ปะปน 2. เจริญ คลุกคลี 3. พัฒนา ผสมผสาน 4. รุ่งเรือง เกี่ยวข้อง 30. พุทธบริษททัวไปทังฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ เมือเห็นว่าวัดเป็นสถานทีมคณดัง ั ่ ้ ่ ่ ี ุ กล่าวแล้วนัน ควรช่วย ้ กัน………บำารุงหาทางช่วยกัน……….ความเจริญมาสู่วัด 1. รักษา สร้างสรรค์ 2. อนุรักษ์ สร้างเสริม 3. สนับสนุน พัฒนา 4. อุปถัมภ์ นำา จงพิจ ารณาข้อ ความในตัว เลือ กว่า ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 1, ที่ 2, ที่ 3 หรือ ที่ 4 แล้ว จึง ตอบคำา ถามของแต่ล ะข้อ 31. ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 3 1. โดยยึดข่าวสาร ข้อมูลที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมประกอบการนั้น ๆ 2. ถ้าหากไม่กระทำาสิ่งเหล่านั้นก็เพราะไม่ทราบวัตถุประสงค์ 3. ทฤษฎีสมองกลถือว่าคนเป็นสิ่งมีชีวิตซึ่งมักทำาอะไรอย่างมีจุดหมาย 4. หรือไม่ทราบผลร้ายที่จะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง 32. ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 4 1. ก็มักจะเป็นเวลาที่เราใกล้จะเสียหรือสูญสิ่งนั้นไปแล้ว 2. พยายามที่จะเรียกร้องป้องกันต่อสู้เพื่อให้ได้สิ่งนั้นกลับคืนมา 3. คนเรากว่าจะค้นพบว่าสิ่งใดมีคุณค่าต่อชีวิตของเรา 4. ความกลัวที่จะต้องสูญเสียมักจะเป็นตัวผลักดันให้คนเรา 33. ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 3 1. ในปัจจุบันคำาว่า”สัญลักษณ์”เข้ามามีบทบาทในสังคมเป็นอย่างมาก 2. ตลอดจนยากต่อการปลอมแปลงของคู่แข่งทางการค้าอีกด้วย 3. ทั้งนี้เพื่อความสะดวก ง่ายต่อการจดจำา และการนำาไปใช้ 4. เพราะเป็นเครื่องหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่กำาหนดขึ้นมาแทนสิ่งนั้น ๆ 34. ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 4 1. ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง 2. เช่น ยากลุ่มเพนนิชิลิน เดตาชัยคลีน 3. ยาปฏิชีวนะ เป็นสารประกอบทางเคมีใด ๆ ที่ผลิตหรือสร้างขึ้นโดยจุลชีพ 4. หรือไปขัดขวางหรือไปทำาลายจุลชีพกลุ่มนั้น ๆ 35. ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 1 1. ในอดีตประชาชนชาวไทยยังเคยชินกับการปกครองแบบมีผู้นำาคอยชี้นำา 2. ซึ่งทำาให้ประชาชนไม่มีโอกาสในการคิดและตัดสินใจ นอกจากการทำาตาม คำาสั่ง 3. แต่การปกครองแบบประชาธิปไตยถือว่าประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการ ปกครอง
  • 15. 4. ทำาให้ต้องใช้เวลาอีกหลายปีที่กว่าประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศจะเข้าใจ 36. ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3 1. เพื่อเป็นที่เสด็จประพาส 2. วังพญาไทยสร้างในรัชกาลที่ 5 3. ตลอดจนประกอบพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ 4. และให้ที่ในบริเวณวังเป็นเพาะปลูกทดลองธัญพืชต่าง ๆ 37. ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 2 1. การใช้สิ่งของ เครื่องมือ เครื่องใช้ ทุกอย่างที่ให้บริการ 2. ทั้งนี้เพื่อให้สิ่งของ เครื่องใช้ เหล่านั้นเป็นประโยชน์แก่เรามากที่สุด 3. และให้ประโยชน์แก่เรานั้น 4. จำาเป็นที่ผู้ใช้จะต้องเข้าใจและรู้จักใช้ให้เป็น 38. ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3 1. ผู้มีอำานาจแต่งตั้งซึ่งรู้อยู่แล้วว่า 2. ไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ก็ตาม 3. ตนจะต้องพ้นจากตำาแหน่งหน้าที่ราชการไป 4. ไม่พึงออกคำาสั่งแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนไว้ล่วงหน้า 39. ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 4 1. และเงินที่ได้รับนั้นก็จะต้องไม่เกินกว่าความเสียหายที่ตนได้รับ 2. มิฉะนั้นก็จะเป็นช่องทางให้คนแสวงหากำาไรจากการเอาประกันภัย 3. ตนมีประโยชน์ส่วนได้เสียในเหตุที่ประกันภัย 4. บุคคลจะเอาประกันภัยได้ต่อเมื่อ 40. ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3 1. เป็นการพิจารณาในแนวกว้างและในระยะยาว 2. ซึ่งมีวิธีการและทางเลือกหลายทาง 3. เพราะต้องพิสูจน์ถึงความจำาเป็นในการใช้จ่ายเงินในโครงการ 4. การทำางบประมาณแบบโครงการเป็นวิธีการที่ยึดถือโครงการเป็นหลัก 41. ข้อ ความใดควรอยู่ล ำา ดับ ที่ 3 1. เอื้ออำานวยต่อการทำาธุรกิจ 2. เมื่อ 4 – 5 ปีก่อน อุตสาหกรรมรองเท้ากีฬาจัดเป็นอุตสาหกรรม 3. เนื่องจากปัจจัยพื้นฐานทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 4. ที่นักลงทุนให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง 42. ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 3 9 1. การปฐมพยาบาลคือการให้ความช่วยเหลือคนไข้ซึ่งเจ็บป่วยโดยกระทัน หัน 102. โดยใช้เครื่องมือเท่าที่จะหาได้ในขณะนั้น เพื่อให้ผู้ป่วยหรือคนไข้พ้น อันตราย 113. เป็นการช่วยลดอันตรายให้น้อยลงก่อนที่จะส่งไปให้แพทย์ในโรงพยาบาล รักษาต่อไป 124. หรือได้รับอุบัติเหตุ ณ สถานที่เกิดเหตุนั้น 43. ข้อ ความใดเป็น ลำา ดับ ที่ 4 131. สะท้อนให้เห็นว่าโรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัญหาที่ทวีความสำาคัญ 142. แม้ว่าสถิติโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทยมิได้มีอัตราเพิ่มขึ้นมาก 153. และก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจมิใช่น้อย
  • 16. 164. แต่การเพิ่มปริมาณการใช้วัคซีนในช่วงเวลา 5 ปีที่ผ่านมา ให้พ ิจ ารณาข้อ ใดที่ถ ูก ต้อ งตามหลัก ภาษาและไวยากรณ์ 44. 1. ข้อพิพาทระหว่างคูเวตและอิรักมีทั้งเรื่องปัญหานำ้ามันและปัญหา พรมแดน 2. นายปรีดี พนมยงค์ถูกยกย่องเป็นวีรบุรุษของชาติ 3. วินัยข้าราชการกำาหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ข้าราชการถือปฏิบัติ 4. เทศนาโวหาร หมายถึงการเขียนข้อความหมายให้กว้างขวางออกไป 45. 1. การส่งออกของประเทศในไตรมาสแรกของปีมีนโยบายที่ดีขึ้นเมื่อ เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา 2. กรมศุลกากรเริ่มกวดขันในระเบียบการนำาสินค้าเข้าจากต่างประเทศ 3. เจ้าหน้าที่นำาเมล็ดพันธ์ข้าวจำานวนมากมาแจกให้เกษตรผู้ประสบภัย 4. รัฐบาลมีนโยบายเร่งด่วนที่จะส่งเสริมรายได้ของเกษตรในชนบท 46. 1. การกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ชนบทเป็นลู่ทางการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ 2. ตังแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ชายฉกรรจ์จะถูกเกณฑ์ ้ แรงงานโดยทางราชการ 3. การใช้พลังงานนำ้ามันทำาให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์กระจัดกระจาย มากกว่าการใช้ถ่านหิน 4. ชาวเขาส่วนใหญ่ยังคงดำารงชีวิตตามรอยบรรพบุรุษ 47. 1. กรมการค้าระหว่างประเทศได้ฉวยโอกาสเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศ 2. นักวิทยาศาสตร์ได้นำาส่วนต่าง ๆ ของสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ด้านการ แพทย์ 3. จากผลการวิจัยพบว่ากว่าที่เนยเหลวจะกลายเป็นเนยแข็งใช้เวลาเพียง ชั่วโมงเดียวเท่านั้น 4. ทหารตามแนวชายแดนประเทศคูเวตได้รับคำาสั่งให้หยุดยิงจาก สหประชาชาติ ให้พ จ ารณาคำา หรือ กลุ่ม คำา ทีข ีด เส้น ใต้แ ล้ว ตอบคำา ถามตามเงื่อ นไขที่ ิ ่ กำา หนด 48. กาแฟคือ พืชชนิดหนึ่งที่อยู่ในโครงการลดพื้นที่เพาะปลูก ตามนโยบายการ ปรับโครงสร้างการผลิตทางการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย ได้เ ริ่ม ดำา เนิน การตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 49. ลำาไย เป็นผลไม้ท ี่เ หมาะกับ อากาศทางภาคเหนือของประเทศ จังหวัดที่ปลูก มากได้แ ก่ จังหวัดเชียงราย พันธ์ที่นิยมปลูกได้แ ก่เบี้ยวเขียว ชมพู อีดอ เป็นต้น 50. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้เปิดเผยให้ท ราบว่า สินค้าส่งออกทั้งมัน สำาปะหลังและผลิต ภัณ ฑ์มันสำาปะหลังมีปัญหาในการส่งออก เพราะคุณภาพ ไม่ได้ม าตรฐาน 51. รูปเสมาธรรมจักรมีหน่วยราชการ 2 แห่ง ในประเทศไทยทีนำามาใช้เป็น ่ เครือ งหมาย คือ กระทรวงศึกษาธิการกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ่
  • 17. 52. ประเทศไทยสร้างป้อมหรือ หอสำาหรับรบขึ้นมาให้เป็นที่มั่นเพื่อต่อสู้ก ับ ข้าศึก ศัตรู ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยเอาอย่างมาจากป้อมปืนไฟในโปตุเกส จงอ่า นข้อ ความที่ก ำา หนดให้ แล้ว ตอบคำา ถามโดยพิจ ารณาเลือ กตัว เลือ ก 1,2,3 หรือ 4 ที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด 1. เสีย งของคำา เพี้ย นและกลายได้ ความหมายก็เ พี้ย นและกลายได้ท ำา นองเดีย วกัน เพราะเสีย งและความหมายเป็น ของคูก น ถ้า แยกกัน แต่ล ะส่ว นก็ไ ม่เ ป็น คำา พูด ในภาษา ่ ั เพราะมีแ ต่เ สีย งอย่า งเดีย วก็เ ป็น เสีย งทีป ราศจากความหมาย ถ้า มีแ ต่ค วามหมายก็เ ป็น ่ แต่ค วามในใจ เมื่อ ไม่เ ปล่ง เสีย งออกมาก็ไ ม่ม ีใ ครทราบ ข้อ ความนี้ส รุป ว่า อย่า งไร 1. ทั้งเสียงและความหมายเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ 2. ความสัมพันธ์ของเสียง และความหมายอยู่ที่การสื่อสาร 3. การสื่อสารด้วยเสียงทีมีความหมายเป็นการสื่อสารที่สมบูรณ์ที่สุด 4. ในการสื่อสารต้องใช้ ่ เสียงและความหมายประกอบกันจึงจะเข้าใจกันได้ 2. พิน ัย กรรมคือ คำา สัง แสดงความตัง ใจครั้ง สุด ท้า ยที่จ ะยกทรัพ ย์ส ิน หรือ วางข้อ กำา หนด ่ ้ ใด ๆ เกี่ย วกับ ทรัพ ย์ส ิน ของตน อัน จะให้เ กิด เป็น ผลบัง คับ ได้ต ามกฎหมายเมื่อ ตนตาย แล้ว ข้อ ความนี้ส รุป ว่า อย่า งไร 1. พินัยกรรมคือเอกสารแสดงเจตนาในเรื่องทรัพย์สินซึงถูกต้องตามกฎหมาย ่ 2. พินัยกรรมคือเอกสารแสดงสิทธิและหน้าที่ของผู้รับทรัพย์สินของผู้ตายตามที่ระบุไว้ 3. พินัยกรรมคือบรรดาทรัพย์สินทั้งปวงทีผู้ตายได้มอบไว้แก่ผู้รับตามที่กำาหนด ่ 4. พินัยกรรมคือมรดกที่ผู้ตายได้มอบไว้ให้แก่ผู้รับตามเงื่อนไขที่ได้ระบุไว้ทุกประการ 3. ผงซัก ฟอกที่ใ ช้อ ยู่ใ นปัจ จุบ ัน มีผ ลทำา ให้พ ืช นำ้า เจริญ เติบ โตเร็ว เพราะว่า มีส ารอาหาร ที่เ ป็น ปุ๋ย ของพืช แต่จ ะมีผ ลทำา ให้น ำ้า เสีย ในระยะหลัง เพราะว่า พืช จะดึง ออกซิเ จนใน นำ้า มาใช้ใ นการหายใจ ข้อ ความนี้ต ีค วามว่า อย่า งไร 1. ผงซักฟอกมีส่วนทำาให้นำ้าเสีย 2. พืชนำ้าเจริญเติบโตได้ดีในที่ ๆ นำ้าเสีย 3. ผงซักฟอกให้ประโยชน์แก่มนุษย์ได้หลายอย่าง 4. พืชนำ้าจะไม่ใช้ออกซิเจนใน อากาศมาปรุงอาหาร 4. นิก ายสงฆ์เ กิด จากการตีค วามพระพุท ธบัญ ญัต ิไ ม่ต รงกัน เลยเกิด การแตกแยกใน ทางปฏิบ ัต ิข ้อ ความนี้ส รุป ว่า อย่า งไร
  • 18. 1. นิกายสงฆ์ที่ตางกันจะมีศีลต่างกัน ่ 2. นิกายสงฆ์ที่ตางกันจะมีศาสดา ่ ต่างกัน 3. นิกายสงฆ์ที่ตางกันจะมีการปฏิบัติตางกัน ่ ่ 4. นิกายสงฆ์ทต่างกันจะมีพุทธ ี่ บัญญัตต่างกัน ิ 5. ผูเ ขีย นตำา ราต้อ งเป็น ผู้ร ู้ภ าษาดี ถ้า ผู้ร ู้ภ าษาไม่ด ีค นอ่า นไม่เ ข้า ใจก็ไ ม่ม ีป ระโยชน์ ้ ข้อ ความข้า งต้น ตีค วามได้อ ย่า งไร 1. ผู้เขียนตำาราต้องเป็นผู้สื่อสารที่ดี 2. ผูอ่านจะไม่ได้รับประโยชน์จากการอ่านตำารา ้ ถ้าผู้เขียนไม่มีความสามารถในการใช้ภาษา 2. ภาษาเป็นสื่อสำาคัญในการทำาความเข้าใจระหว่างมนุษย์ 3. คนอ่านจะได้รับประโยชน์ ในด้านการใช้ภาษานอกเหนือจากความรู้ในตำารา 6. อาหารนมจำา เป็น ต้อ งมีค ุณ ภาพสูง มีก ระบวนการผลิต แปรรูป และจำา หน่า ยที่ถ ูก สุข ลัก ษณะ เพราะจุล ิน ทรีย ์ส ามารถทำา ให้ผ ลิต ภัณ ฑ์เ สื่อ มคุณ ภาพ หรือ นำา เชื้อ โรคมาสู่ คนได้ ทำา นองเดีย วกัน จุล ิน ทรีย ์บ างอย่า งก็ม ีป ระโยชน์ส ามารถแปรรูป ผลิต ภัณ ฑ์ใ ห้ไ ด้ สี กลิ่น และรสที่ต ลาดต้อ งการ และสร้า งคุณ ประโยชน์แ ก่ร ่า งกายมนุษ ย์ ข้อ ความ ใดสรุป ได้ถ ูก ต้อ ง 1. อาหารนมทีมีคุณภาพสูงจะต้องไม่มีจุลินทรีย์ปะปนอยู่ 2. อาหารนมต่างจากอาหารประเภทอื่น ่ เนื่องจากต้องมีกระบวนการกำาจัดไม่ให้จุลินทรีย์ปะปน 3. จุลินทรีย์ในอาหารนมบางชนิดทำาลายคุณภาพของผลิตภัณฑ์ 4. จุลินทรีย์ทุกชนิดในอาหาร มักจะสร้างคุณประโยชน์แก่ร่างกายมนุษย์ 7. คอมพิว เตอร์ห รือ สมองกลเป็น เครื่อ งมือ ที่ม นุษ ย์ส ร้า งขึ้น มีค วามสามารถเหมือ น มนุษ ย์ มีป ระสิท ธิภ าพในการรวบรวมข้อ มูล ต่า ง ๆ ได้ด ีแ ละมากกว่า แต่ม นุษ ย์ก ็ย ัง เป็น ผู้ค วบคุม และสั่ง การให้เ ครื่อ งคอมพิว เตอร์ท ำา งาน ถ้า มนุษ ย์ไ ม่ม ีค ุณ ภาพ คอมพิว เตอร์ ก็ต ้อ งไม่ม ีป ระสิท ธิภ าพเช่น กัน ข้อ ความนี้ก ล่า วสรุป ได้อ ย่า งไร 1. คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นแต่เก่งกว่ามนุษย์ 2. คอมพิวเตอร์ไม่ สามารถและทำางานเองได้ต้องอาศัยมนุษย์ 3. คอมพิวเตอร์จะไม่มีประสิทธิภาพถ้าผู้ควบคุมไม่มีคุณภาพ 4. คอมพิวเตอร์เป็น แค่เครื่องมือช่วยในการทำางานของมนุษย์ 8. กระดาษที่ใ ช้ห ่อ หรือ ใส่อ าหารโดยเฉพาะพวกกล้ว ยทอด มัน ทอด กล้ว ยปิ้ง นั้น ไม่ ควรเป็น กระดาษที่ม ีต ัว หนัง สือ ทั้ง นี้เ พราะหมึก พิม พ์น ั้น จะมีโ ลหะหนัก เช่น ตะกั่ว โค เมีย ม เป็น ส่ว นประกอบ ถ้า หมึก พิม พ์ไ ปติด กับ อาหารที่ร ับ ประทานจะทำา ให้ส ารเคมี โลหะหนัก เข้า ไปสะสมในร่า งกายทำา ให้เ กิด เป็น โรคต่า ง ๆ ได้ สำา คัญ ที่ส ุด ก็ค ือ โรค มะเร็ง ข้อ ความข้า งต้น สรุป ได้อ ย่า งไร 1. ไม่ควรรับประทานกล้วยทอด มันทอด กล้วยปิ้งที่ใส่ถุงกระดาษทีมีนำ้าหมึกติดอยู่ ่ 2. ไม่ควรรับประทานอาหารที่เปื้อนหมึกเพราะโลหะหนักจะเข้าไปสะสมในร่างกาย 3. ไม่ควรใช้กระดาษทีมตวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะสารเคมีมโลหะหนักเป็นสาเหตุของ ่ ี ั ี การเกิดโรคต่าง ๆ 4. ไม่ควรใช้กระดาษทีมีตัวหนังสือใส่หรือห่ออาหารเพราะกระดาษเป็นต้นเหตุของการเกิดโรค ่ ที่สำาคัญ 9. ตบะในพุทธศาสนาหมายถึงความเป็นอยู่อย่างง่าย ๆ ตัดความกังวลในการแสวงหาสิ่งปรนเปรอ ความสุขให้…………เท่าที่จำาเป็นในการดำารงชีวิต 1. เหมาะสม 2. เพียงพอ 3. เหลือเพียง 4. พอประมาณ 10. การช่างของไทยได้………….มาตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ดังจะเห็นได้จากการช่างในสมัย รัชกาลที่ 5 นัน ได้รับเอารูปแบบของศิลปะและการช่างอย่างตะวันตกเข้ามา…………กับการ ้ ช่างไทย 1. ก้าวหน้า ปะปน 2. เจริญ คลุกคลี 3. พัฒนา ผสมผสาน 4. รุ่งเรือง เกี่ยวข้อง 11. พุทธจริยธรรมบ่งถึงความประพฤติที่เรียกว่า “จาริตตะ” อันกลายมาเป็นจารีตในภาษา ไทย………การควรเว้นที่เรียกว่า “วาริตตะ” …….”วิรัติ” 1. และ และ 2. และ หรือ 3. หรือ หรือ 4. หรือ และ