SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
เค้าโครง ภาค ๑  หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ภาค ๓ คดีพิเศษในรัฐธรรมนูญ ภาค ๔ สิทธิ เสรีภาพ ในรัฐธรรมนูญ 2553
ภาค ๑ หลักทั่วไป 2553
บทที่ ๑ รัฐธรรมนูญและกฎหมายรัฐธรรมนูญ ,[object Object],[object Object],2553
-  กฎหมายมหาชนมี ๒ ประเภทหลัก ๑ .  กฎหมายมหาชนภายใน ๒ .  กฎหมายมหาชนระหว่างประเทศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2553
๒ .  กฎหมายรัฐธรรรมนูญ  =   ( Constitutional law) วิชาที่ศึกษากฎหมายซึ่งกำหนดสถานะและ ความสัมพันธ์ ของ องค์กร ที่ใช้อำนาจสูงสุดต่อกันหรือต่อ ประชาชน -  รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร -  กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ -  กฎหมายรัฐสภา -  กฎหมายเลือกตั้ง -  จารีตประเพณี -  คำวินิจฉัยของศาล 2553
องค์กรที่ใช้อำนาจสูงสุด ตามหลักการ แบ่งแยกหน้าที่ของรัฐและการใช้อำนาจอธิปไตย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2553
องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ตาม ม . 266  ของรัฐธรรมนูญปี  2540  กำหนดว่า -  ในกรณีมีปัญหา -  เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของ องค์กร ต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ ให้องค์กรนั้น หรือประธานรัฐสภาเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อะไร คือ  “ ปัญหา ”   ? อะไร คือ  “ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ”   ? 2553
ปัจจุบัน ม .214 -  ในกรณีที่มี ความขัดแย้ง -  เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่าง รัฐสภา   คณะรัฐมนตรี  และ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ที่มิใช่ศาล ตั้งแต่  2  องค์กรขึ้นไป ให้ประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี หรือองค์กรนั้นเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ดังนั้น   องค์กรตามรัฐธรรมนูญ คือ  รัฐสภา ครม .  องค์กรในหมวด  11  ได้แก่ กกต . ,  ผู้ตรวจการแผ่นดิน  ,  ปปช . ,  คตง . ,  อัยการ  ,  คกก . สิทธิมนุษยชน  ,  สภาที่ปรึกษา ฯ  2553
ข้อสังเกตุ องค์กรบางองค์กรมี  2  สถานะ ถือเป็น องค์กรทางการเมือง และ ฝ่ายปกครอง ในขณะเดียวกัน ครม .  นรม .  รมต . -  ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญในความสัมพันธ์กับรัฐสภา หรือต่างประเทศ  กฎหมายรัฐธรรมนูญ -  ใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมาย  กฎหมายปกครอง 2553
คำวินิจฉัยที่  9 / 2549  การยุบสภาเป็นการกระทำของรัฐบาลซึ่งศาลไม่ควบคุม คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่  178 /2550  การลงนามใน  JTEPA  เป็นการกระทำของรัฐบาล 2553
การกระทำของรัฐบาลอยู่นอกควบคุมของศาล ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ / นิติกรรม คำพิพากษา อำนาจอื่น รัฐสภา K  ค . ร . ม . ราชการ บริหาร - ส่วนกลาง - ส่วนภูมิภาค - ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานในกำกับ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม องค์กรตามรธน . การจำแนกกฎหมาย  จำแนกคดี  และศาล   ที่มีขอบเขตอำนาจ 2553
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2553
ประเภทกฎเกณฑ์ กว้าง กฎเกณฑ์ทุกชนิดไม่ว่าจะ เป็นก . ม . หรือไม่ เป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ เป็นก . ม . สูงสุดหรือไม่ ไม่สำคัญ -  ในความหมายนี้ อยุธยา อังกฤษ ไทยปัจจุบัน ต่างก็มีรัฐธรรมนูญ 2553
๓ . ๒  ความหมายอย่างแคบ ( ตาม รูปแบบ , องค์กร , กระบวนการ ) “ กฎเกณฑ์ที่กำหนดสถานะและความสัมพันธ์ขององค์กรที่ใช้อำนาจสูงสุดต่อกัน หรือต่อประชาชนและ กฎเกณฑ์อื่น   ซึ่งบรรจุอยู่ในรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ที่มีการจัดทำและการแก้ไขเพิ่มเติมแตกต่างจากก . ม . ธรรมดา ” De Toqueville  “ อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญ ” 2553
เนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ยุคแรก   ก่อตั้งองค์กรที่ไร้อำนาจสูงสุด ยุคต่อมา  รับรองสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค   ( Bill of Rights) ยุคที่  3   แนวนโยบายแห่งรัฐ  (  รัฐธรรมนูญอินเดีย  , ไทย  ,  โปรตุเกตุ ฯลฯ ) ยุคปัจจุบัน   เรื่องสำคัญที่ต้องการให้แก้ไขยาก  (  เรื่องท้องถิ่น  ,  เรื่องอื่น ๆ  ) 2553
“ เนื้อหาสาระที่บรรจุในรัฐธรรมนูญ ” ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],2553
ข้อสังเกต ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],๓ . ๓ .  “ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ”   ( ชื่อเฉพาะของกฎหมาย ) 2553
๔ . ประเภทรัฐธรรมนูญ ๔ . ๑ .  รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร และรัฐธรรมนูญจารีตประเพณี ๔ . ๒ .  รัฐธรรมนูญแก้ไขง่าย และรัฐธรรมนูญแก้ไขยาก ๔ . ๓ .  รัฐธรรมนูญถาวร และรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2553
๕ .  ลักษณะกฎหมายรัฐธรรมนูญ ๕ . ๑ .  เป็น ก . ม .  เกิดใหม่มีพลวัตร ๕ . ๒ .  เป็น ก . ม .  ที่สัมพันธ์กับการเมืองอย่างลึกซึ้ง -  ทางอุดมการณ์ -  การใช้อำนาจ ๕ . ๓ .  เป็น ก . ม . ที่กระจายอำนาจการตีความ 2553
รัฐธรรมนูญนิยมเป็นกระแสความคิดที่เน้นการจัดทำ  รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรเพื่อจำกัดการใช้อำนาจ  ผู้ปกครอง สร้างความเป็นธรรมในสังคม และสร้างเสถียรภาพ และประสิทธิภาพให้รัฐบาล 2553 บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม   (CONSTITUTIONALISM)
1215 Magna Carta 1628 Petiti on  of Rights 1688 Bill of Rights 2553 ๑ .  การปกครองโดยจารีตประเพณี และการฝ่าฝืนกับความพยายามจำกัดอำนาจ
๒ . ๒ .   ทฤษฎีประชาธิปไตย / เสรีนิยม   ๒ . ๒ . ๑ .  สัญญาประชาคม   Locke, Rousseau   ๒ . ๒ . ๒ .  การแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย   Montesquieu 2553 ๒ .  ความพยายามจำกัดอำนาจผู้ปกครองโดยกฎหมาย
๓ .  การนำปรัชญามาบัญญัติเป็นกฎหมาย ๓ . ๑ .  รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกาปี  1787 ๓ . ๒ .  การปฏิวัติฝรั่งเศส  1789 รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร :   สัญญาประชาคม การคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ , เสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ การแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย การปกครองโดยความยินยอมของผู้ใต้ปกครอง   ( ประชาธิปไตย ) การปกครองโดยกฎหมาย  ( นิติรัฐ ) 2553
๔ .  การสร้างความเป็นธรรม ความเลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจสังคม และความพยายาม  แก้ไข โดยรัฐเข้าไปคุ้มครองผู้อ่อนแอกว่า ๕ .  การสร้างเสถียรภาพ ประสิทธิภาพให้รัฐบาล 2553 ระบบรัฐสภาที่ทำให้มีเหตุผล  (Rationalized parliamentary system) รัฐสวัสดิการ  (Welfare State)
-  กฎหมายพื้นฐาน  ( Basic Law  ปี  1949) ม .67  การไม่ไว้วางใจโดยสร้างสรรค์  ( constructive motion of no confidence)   ด้วยการเลือก นรม . ใหม่ด้วยคะแนนเกินครึ่ง 2553
ม .68 ,  ม .81   รัฐบาลขอความไว้วางใจ ถ้าได้คะแนนไม่ถึงครึ่งหนึ่ง  ( หลัง  48  ชั่วโมง )  นรม .  อาจขอให้  1.  ประธานาธิบดียุบสภาได้ใน  21  วัน หรือ 2.  นรม . ขอให้ประธานาธิบดีด้วยความเห็นชอบของ  วุฒิสภา ประกาศภาวะฉุกเฉินทางนิติบัญญัติไม่เกิน  6  เดือน  กฎหมายที่รัฐบาลประกาศว่าจำเป็นรีบด่วนไม่ผ่านสภาผู้แทน รัฐบาลเสนอเข้าวุฒิสภา ถ้าวุฒิสภาเห็นชอบก็ใช้บังคับได้ 2553
ทำให้ฝ่ายบริหารเข็มแข็ง -  ห้าม ส . ส .  เป็น รมต . -  การแยกอำนาจออกกฎหมาย กับ กฎเกณฑ์ฝ่ายบริหาร ( ม .34/37) -  นรม .  โดยความเห็นชอบ ครม .  ขอความไว้วางใจในนโยบาย หรือโครงการได้  ส . ส . ต้องเข้าชื่อกัน  1/10  เพื่อไม่ไว้วางใจและลงมติ  ( 48  ชั่วโมง หลังจากนั้น ) ให้นับเฉพาะผู้ที่ไม่ไว้วางใจ และจะยื่นญัตติอีกในสมัยประชุมนั้นไม่ได้ รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ปี  1958 2553
-  นรม .  โดยความเห็นชอบ ครม .  อาจถือว่าการลงมติในร่างกฎหมายบางส่วน หรือ  ทั้งฉบับ ถ้าไม่มีการยื่นญัตติไม่ไว้วางใจ หรือ ยื่นแต่ลงมติไม่ได้คะแนนเสียงเกินครึ่ง ถือว่ากฎหมาย  ผ่าน 2553

More Related Content

What's hot

สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1Puy Chappuis
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1thnaporn999
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์Supisara Jaibaan
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่Palida Sookjai
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายสรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายSmith Kamcharoen
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954CUPress
 

What's hot (18)

สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1
 
ข้อ 1
ข้อ 1ข้อ 1
ข้อ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
แนวข้อสอบตรงนิติศาสตร์
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่ายสรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
สรุปพ.ร.บ.นำเที่ยวverง่าย
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954
 
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
 

Viewers also liked

การศาล
การศาลการศาล
การศาลthnaporn999
 
2 constitutionalism lecture
2 constitutionalism lecture2 constitutionalism lecture
2 constitutionalism lectureAinnabila Rosdi
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยokTophit Sampootong
 
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้ เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้ Tattsanee Meeyaeb
 
การตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมายการตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมายsukanya khakit
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่niralai
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีRose Banioki
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 faii sasitron
 
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงานคุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงานPadvee Academy
 
บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูPop Punkum
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 

Viewers also liked (20)

กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครองกฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
กฎหมายการศึกษา กฎหมายปกครอง
 
การศาล
การศาลการศาล
การศาล
 
2 constitutionalism lecture
2 constitutionalism lecture2 constitutionalism lecture
2 constitutionalism lecture
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
4คุณธรรมที่ช้ในการปฏิบัติงานok 1 (1)
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok3วินัยและการรักษาวินัยok
3วินัยและการรักษาวินัยok
 
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้ เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
เทคนิคการจัดแหล่งเรียนรู้
 
การตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมายการตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมาย
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
ผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพ
ผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพ
ผอ.นำเสนอจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
Ebooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธีEbooksint มนต์พิธี
Ebooksint มนต์พิธี
 
ครูที่ดี
ครูที่ดีครูที่ดี
ครูที่ดี
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
แนวทางการลงโทษทางวินัย
แนวทางการลงโทษทางวินัยแนวทางการลงโทษทางวินัย
แนวทางการลงโทษทางวินัย
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
 
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงานคุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
คุณธรรมและจรรยาบรรณในการทำงาน
 
บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครู
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 

Similar to กฎหมาย

Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540Sarod Paichayonrittha
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdfssuser04a0ab
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1PolCriminalJustice
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่Palida Sookjai
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550Parun Rutjanathamrong
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540por
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-billSanchai San
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 

Similar to กฎหมาย (20)

Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
41201สรุปย่อกฎหมายมหาชน หน่วย 1-5 นิติ มสธ. (ชลบุรี).pdf
 
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองข้อ 1
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
 
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
รายชื่อร่างพระราชบัญญัติฉบับประชาชน สมัย รธน2550
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
รัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญ
 
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
พระราชบัญัญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ2540
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
Reconciliation-bill
Reconciliation-billReconciliation-bill
Reconciliation-bill
 
M1 unit 2
M1 unit 2M1 unit 2
M1 unit 2
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 

กฎหมาย

  • 1. เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ภาค ๓ คดีพิเศษในรัฐธรรมนูญ ภาค ๔ สิทธิ เสรีภาพ ในรัฐธรรมนูญ 2553
  • 3.
  • 4.
  • 5. ๒ . กฎหมายรัฐธรรรมนูญ = ( Constitutional law) วิชาที่ศึกษากฎหมายซึ่งกำหนดสถานะและ ความสัมพันธ์ ของ องค์กร ที่ใช้อำนาจสูงสุดต่อกันหรือต่อ ประชาชน - รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร - กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ - กฎหมายรัฐสภา - กฎหมายเลือกตั้ง - จารีตประเพณี - คำวินิจฉัยของศาล 2553
  • 6.
  • 7. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ตาม ม . 266 ของรัฐธรรมนูญปี 2540 กำหนดว่า - ในกรณีมีปัญหา - เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของ องค์กร ต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ ให้องค์กรนั้น หรือประธานรัฐสภาเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ อะไร คือ “ ปัญหา ” ? อะไร คือ “ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ” ? 2553
  • 8. ปัจจุบัน ม .214 - ในกรณีที่มี ความขัดแย้ง - เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่าง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ที่มิใช่ศาล ตั้งแต่ 2 องค์กรขึ้นไป ให้ประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี หรือองค์กรนั้นเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ดังนั้น องค์กรตามรัฐธรรมนูญ คือ รัฐสภา ครม . องค์กรในหมวด 11 ได้แก่ กกต . , ผู้ตรวจการแผ่นดิน , ปปช . , คตง . , อัยการ , คกก . สิทธิมนุษยชน , สภาที่ปรึกษา ฯ 2553
  • 9. ข้อสังเกตุ องค์กรบางองค์กรมี 2 สถานะ ถือเป็น องค์กรทางการเมือง และ ฝ่ายปกครอง ในขณะเดียวกัน ครม . นรม . รมต . - ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญในความสัมพันธ์กับรัฐสภา หรือต่างประเทศ กฎหมายรัฐธรรมนูญ - ใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมาย กฎหมายปกครอง 2553
  • 10. คำวินิจฉัยที่ 9 / 2549 การยุบสภาเป็นการกระทำของรัฐบาลซึ่งศาลไม่ควบคุม คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ 178 /2550 การลงนามใน JTEPA เป็นการกระทำของรัฐบาล 2553
  • 11. การกระทำของรัฐบาลอยู่นอกควบคุมของศาล ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ / นิติกรรม คำพิพากษา อำนาจอื่น รัฐสภา K ค . ร . ม . ราชการ บริหาร - ส่วนกลาง - ส่วนภูมิภาค - ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานในกำกับ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม องค์กรตามรธน . การจำแนกกฎหมาย จำแนกคดี และศาล ที่มีขอบเขตอำนาจ 2553
  • 12.
  • 13. ประเภทกฎเกณฑ์ กว้าง กฎเกณฑ์ทุกชนิดไม่ว่าจะ เป็นก . ม . หรือไม่ เป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ เป็นก . ม . สูงสุดหรือไม่ ไม่สำคัญ - ในความหมายนี้ อยุธยา อังกฤษ ไทยปัจจุบัน ต่างก็มีรัฐธรรมนูญ 2553
  • 14. ๓ . ๒ ความหมายอย่างแคบ ( ตาม รูปแบบ , องค์กร , กระบวนการ ) “ กฎเกณฑ์ที่กำหนดสถานะและความสัมพันธ์ขององค์กรที่ใช้อำนาจสูงสุดต่อกัน หรือต่อประชาชนและ กฎเกณฑ์อื่น ซึ่งบรรจุอยู่ในรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ที่มีการจัดทำและการแก้ไขเพิ่มเติมแตกต่างจากก . ม . ธรรมดา ” De Toqueville “ อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญ ” 2553
  • 15. เนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ยุคแรก ก่อตั้งองค์กรที่ไร้อำนาจสูงสุด ยุคต่อมา รับรองสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค ( Bill of Rights) ยุคที่ 3 แนวนโยบายแห่งรัฐ ( รัฐธรรมนูญอินเดีย , ไทย , โปรตุเกตุ ฯลฯ ) ยุคปัจจุบัน เรื่องสำคัญที่ต้องการให้แก้ไขยาก ( เรื่องท้องถิ่น , เรื่องอื่น ๆ ) 2553
  • 16.
  • 17.
  • 18. ๔ . ประเภทรัฐธรรมนูญ ๔ . ๑ . รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร และรัฐธรรมนูญจารีตประเพณี ๔ . ๒ . รัฐธรรมนูญแก้ไขง่าย และรัฐธรรมนูญแก้ไขยาก ๔ . ๓ . รัฐธรรมนูญถาวร และรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2553
  • 19. ๕ . ลักษณะกฎหมายรัฐธรรมนูญ ๕ . ๑ . เป็น ก . ม . เกิดใหม่มีพลวัตร ๕ . ๒ . เป็น ก . ม . ที่สัมพันธ์กับการเมืองอย่างลึกซึ้ง - ทางอุดมการณ์ - การใช้อำนาจ ๕ . ๓ . เป็น ก . ม . ที่กระจายอำนาจการตีความ 2553
  • 20. รัฐธรรมนูญนิยมเป็นกระแสความคิดที่เน้นการจัดทำ รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรเพื่อจำกัดการใช้อำนาจ ผู้ปกครอง สร้างความเป็นธรรมในสังคม และสร้างเสถียรภาพ และประสิทธิภาพให้รัฐบาล 2553 บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
  • 21. 1215 Magna Carta 1628 Petiti on of Rights 1688 Bill of Rights 2553 ๑ . การปกครองโดยจารีตประเพณี และการฝ่าฝืนกับความพยายามจำกัดอำนาจ
  • 22. ๒ . ๒ . ทฤษฎีประชาธิปไตย / เสรีนิยม ๒ . ๒ . ๑ . สัญญาประชาคม Locke, Rousseau ๒ . ๒ . ๒ . การแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย Montesquieu 2553 ๒ . ความพยายามจำกัดอำนาจผู้ปกครองโดยกฎหมาย
  • 23. ๓ . การนำปรัชญามาบัญญัติเป็นกฎหมาย ๓ . ๑ . รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกาปี 1787 ๓ . ๒ . การปฏิวัติฝรั่งเศส 1789 รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร : สัญญาประชาคม การคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ , เสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ การแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย การปกครองโดยความยินยอมของผู้ใต้ปกครอง ( ประชาธิปไตย ) การปกครองโดยกฎหมาย ( นิติรัฐ ) 2553
  • 24. ๔ . การสร้างความเป็นธรรม ความเลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจสังคม และความพยายาม แก้ไข โดยรัฐเข้าไปคุ้มครองผู้อ่อนแอกว่า ๕ . การสร้างเสถียรภาพ ประสิทธิภาพให้รัฐบาล 2553 ระบบรัฐสภาที่ทำให้มีเหตุผล (Rationalized parliamentary system) รัฐสวัสดิการ (Welfare State)
  • 25. - กฎหมายพื้นฐาน ( Basic Law ปี 1949) ม .67 การไม่ไว้วางใจโดยสร้างสรรค์ ( constructive motion of no confidence) ด้วยการเลือก นรม . ใหม่ด้วยคะแนนเกินครึ่ง 2553
  • 26. ม .68 , ม .81 รัฐบาลขอความไว้วางใจ ถ้าได้คะแนนไม่ถึงครึ่งหนึ่ง ( หลัง 48 ชั่วโมง ) นรม . อาจขอให้ 1. ประธานาธิบดียุบสภาได้ใน 21 วัน หรือ 2. นรม . ขอให้ประธานาธิบดีด้วยความเห็นชอบของ วุฒิสภา ประกาศภาวะฉุกเฉินทางนิติบัญญัติไม่เกิน 6 เดือน กฎหมายที่รัฐบาลประกาศว่าจำเป็นรีบด่วนไม่ผ่านสภาผู้แทน รัฐบาลเสนอเข้าวุฒิสภา ถ้าวุฒิสภาเห็นชอบก็ใช้บังคับได้ 2553
  • 27. ทำให้ฝ่ายบริหารเข็มแข็ง - ห้าม ส . ส . เป็น รมต . - การแยกอำนาจออกกฎหมาย กับ กฎเกณฑ์ฝ่ายบริหาร ( ม .34/37) - นรม . โดยความเห็นชอบ ครม . ขอความไว้วางใจในนโยบาย หรือโครงการได้ ส . ส . ต้องเข้าชื่อกัน 1/10 เพื่อไม่ไว้วางใจและลงมติ ( 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น ) ให้นับเฉพาะผู้ที่ไม่ไว้วางใจ และจะยื่นญัตติอีกในสมัยประชุมนั้นไม่ได้ รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ปี 1958 2553
  • 28. - นรม . โดยความเห็นชอบ ครม . อาจถือว่าการลงมติในร่างกฎหมายบางส่วน หรือ ทั้งฉบับ ถ้าไม่มีการยื่นญัตติไม่ไว้วางใจ หรือ ยื่นแต่ลงมติไม่ได้คะแนนเสียงเกินครึ่ง ถือว่ากฎหมาย ผ่าน 2553