SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
กระบวนการจัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 
ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ 
ภายหลังจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้ายึดและควบคุมอานาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ และประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง ยกเว้นความในหมวด ๒ พระมหากษัตริย์ โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้กาหนดแนวทาง ในการดาเนินการปฏิรูปประเทศไทยไว้ประการหนึ่ง คือ การจัดให้มีการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่วางกติกา การเมืองให้รัดกุม เหมาะสม ป้องกันและปราบปรามการทุจริต สามารถตรวจสอบการใช้อานาจรัฐได้ อย่างมีประสิทธิภาพรวดเร็ว และเป็นธรรม ก่อนจะส่งมอบภารกิจเหล่านี้แก่ผู้แทนปวงชนชาวไทย และคณะรัฐบาลที่จะเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินในระยะต่อไป โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ได้มีบทบัญญัติกาหนดกระบวนการจัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ไว้ดังนี้ 
การตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 
ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อจัดทา ร่างรัฐธรรมนูญจานวน ๓๖ คน ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ 
๑. ประธานกรรมาธิการตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ 
๒. ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอ จานวน ๒๐ คน 
๓. ผู้ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จานวน ๕ คน 
๔. ผู้ซึ่งคณะรัฐมนตรีเสนอ จานวน ๕ คน 
๕. ผู้ซึ่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ จานวน ๕ คน 
การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นครั้งแรก 
ในกรณีที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตาแหน่งที่ว่างภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ้นจากตาแหน่ง
- ๒ - 
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 
กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่ากว่า ๔๐ ปี และไม่มี ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ 
๑. เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองเว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ 
๒. เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกหรือดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลา ๓ ปีก่อน วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 
๓. มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ดังนี้ 
๓.๑ เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช 
๓.๒ เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต 
๓.๓ เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 
๓.๔ เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ 
๓.๕ เคยต้องคาพิพากษาให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ 
๓.๖ อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือเคยถูกถอดถอนจากตาแหน่ง 
๓.๗ เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิด ต่อตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด หรือกฎหมายเกี่ยวกับการพนัน ในฐานความผิดเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก 
๓.๘ เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ 
๔. เป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ 
ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดารงตาแหน่ง ทางการเมืองภายใน ๒ ปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
- ๓ - 
การรับความเห็นหรือข้อเสนอแนะประกอบการพิจารณาจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ 
ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญนาความเห็นหรือข้อเสนอแนะ ของภาคส่วนต่าง ๆ มาประกอบการพิจารณาด้วย ดังนี้ 
๑. สภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยให้สภาปฏิรูปแห่งชาติต้องเสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะ ต่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่มีการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก 
๒. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ 
๓. คณะรัฐมนตรี 
๔. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ 
๕. ประชาชน 
๖. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 
ความครอบคลุมของสาระในร่างรัฐธรรมนูญ 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย 
๑. การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ 
๒. การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่เหมาะสม กับสภาพสังคมของไทย 
๓. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกากับและควบคุมให้การใช้อานาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน 
๔. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่ง ที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทาการอันทาให้การเลือกตั้งไม่สุจริต หรือเที่ยงธรรม เข้าดารงตาแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด 
๕. กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง และพรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงาหรือชี้นา โดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย 
๖. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
- ๔ - 
๗. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว 
๘. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนอง อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไก การตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ 
๙. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทาลายหลักการสาคัญที่รัฐธรรมนูญ จะได้วางไว้ 
๑๐. กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสาคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป 
นอกจากนี้ ยังกาหนดให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาถึงความจาเป็น และความคุ้มค่าที่ต้องมีองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จาเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดาเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย 
กาหนดระยะเวลาในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แล้วเสนอร่างรัฐธรรมนูญนั้นต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อพิจารณา 
ในกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กาหนดไว้ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง ทั้งนี้ กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดเดิมที่สิ้นสุดลงไม่มีสิทธิเป็นกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญชุดใหม่
- ๕ - 
การดาเนินการหลังจากจัดทาร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ 
เมื่อจัดทาร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ให้ดาเนินการ 
๑. เสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาแล้วเสร็จต่อประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยให้ประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณาเสนอแนะหรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จ ภายใน ๑๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ 
๒. ส่งร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาแล้วเสร็จให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 
การเสนอความคิดเห็นหรือขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ 
องค์กรที่เสนอความคิดเห็นหรือขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ ดังนี้ 
๑. สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณาเสนอแนะหรือให้ความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญนั้น คาขอแก้ไขเพิ่มเติม ของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจานวน สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคาขอหรือที่ให้คารับรองคาขอของสมาชิก อื่นแล้ว จะยื่นคาขอหรือรับรองคาขอของสมาชิกอื่นอีกมิได้ 
๒. คณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคาขอแก้ไข เพิ่มเติมได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ 
โดยคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้ยื่นต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ 
การพิจารณาความเห็นหรือคาขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ 
ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วันนับ แต่วันที่ครบกาหนดยื่นคาขอแก้ไขเพิ่มเติม ในการนี้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญอาจแก้ไขเพิ่มเติม ร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่เห็นสมควร 
เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้เสนอ ร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ 
การพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ 
เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ต้องพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ โดยต้องมีมติภายใน ๑๕ วันนับแต่ วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
- ๖ - 
สภาปฏิรูปแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อความของร่างรัฐธรรมนูญนั้นมิได้ เว้นแต่เป็นข้อผิดพลาด ที่มิใช่สาระสาคัญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น หรือเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นว่าจาเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้สมบูรณ์ขึ้น 
เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ นาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้ประธานสภาปฏิรูป แห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 
ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญและพระราชทานคืนมา หรือเมื่อพ้นกาหนด ๙๐ วันแล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป 
ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนด หรือไม่ให้ ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการดาเนินการเพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่ขึ้น เพื่อดาเนินการแทนตามอานาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญนี้ 
ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลง จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูป แห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณี ชุดใหม่มิได้ 
----------------------------------
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003billy ratchadamri
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1Puy Chappuis
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2 AJ Por
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่PluemSupichaya
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6AJ Por
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปSiriyagon Pusod
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909CUPress
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540Sarod Paichayonrittha
 

What's hot (19)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
ข้อ 1
ข้อ 1ข้อ 1
ข้อ 1
 
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
อินโฟกราฟิกร่างรัฐธรรมนูญเบื้องต้น
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้  เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
M1 unit 2
M1 unit 2M1 unit 2
M1 unit 2
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Political Official Ethics
Political Official EthicsPolitical Official Ethics
Political Official Ethics
 
9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4ครั้งที่ 4
ครั้งที่ 4
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 

Similar to กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบGreenJusticeKlassroom
 
๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบGreenJusticeKlassroom
 
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556patinpromwanna
 

Similar to กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ (7)

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
107 กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
 
๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
๕ กฎหมายปกครองสิ่งแวดล้อม คำสั่งและการตรวจสอบ
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
พรบ. คอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ.2556
 

More from Palida Sookjai

ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57Palida Sookjai
 
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57Palida Sookjai
 
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญรายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญPalida Sookjai
 
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่Palida Sookjai
 
รายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัด
รายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัดรายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัด
รายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัดPalida Sookjai
 
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปพรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปPalida Sookjai
 
ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.
ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.
ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.Palida Sookjai
 
ความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติPalida Sookjai
 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญPalida Sookjai
 
ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)
ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)
ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)Palida Sookjai
 
ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ
ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ
ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญPalida Sookjai
 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญPalida Sookjai
 
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญรายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญPalida Sookjai
 
คำวินิจฉัย ต. ไผ่โทน
คำวินิจฉัย ต. ไผ่โทนคำวินิจฉัย ต. ไผ่โทน
คำวินิจฉัย ต. ไผ่โทนPalida Sookjai
 
คำวินิจฉัย ต.นาพูน
คำวินิจฉัย ต.นาพูนคำวินิจฉัย ต.นาพูน
คำวินิจฉัย ต.นาพูนPalida Sookjai
 
คำวินิจฉัย ต. วังหลวง
คำวินิจฉัย ต. วังหลวงคำวินิจฉัย ต. วังหลวง
คำวินิจฉัย ต. วังหลวงPalida Sookjai
 
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วยผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วยPalida Sookjai
 
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วยผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วยPalida Sookjai
 
หม.วธ.มยต.
หม.วธ.มยต.หม.วธ.มยต.
หม.วธ.มยต.Palida Sookjai
 

More from Palida Sookjai (20)

ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
 
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
ประกาศแต่งตั้ง สนช. ปี 57
 
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญรายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
 
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติประจำจังหวัดแพร่
 
รายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัด
รายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัดรายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัด
รายชื่อ สปช. ทั้ง 11 ด้าน และ 77 จังหวัด
 
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปพรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
 
ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.
ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.
ผลการคัดเลือก ประธาน สปช.
 
ความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ความรู้เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
 
ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)
ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)
ข้อมูลผู้ได้รับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น 2 (ต.ค.2557)
 
ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ
ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ
ผัง กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ
 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
 
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญรายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
รายชื่อกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
 
คำวินิจฉัย ต. ไผ่โทน
คำวินิจฉัย ต. ไผ่โทนคำวินิจฉัย ต. ไผ่โทน
คำวินิจฉัย ต. ไผ่โทน
 
คำวินิจฉัย ต.นาพูน
คำวินิจฉัย ต.นาพูนคำวินิจฉัย ต.นาพูน
คำวินิจฉัย ต.นาพูน
 
คำวินิจฉัย ต. วังหลวง
คำวินิจฉัย ต. วังหลวงคำวินิจฉัย ต. วังหลวง
คำวินิจฉัย ต. วังหลวง
 
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วยผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
 
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วยผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
ผลเลือกตั้ง ส.ว. พ.ศ.2557 รายหน่วย
 
ปากกาง
ปากกางปากกาง
ปากกาง
 
หม.วธ.มยต.
หม.วธ.มยต.หม.วธ.มยต.
หม.วธ.มยต.
 

กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่

  • 1. กระบวนการจัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ภายหลังจากคณะรักษาความสงบแห่งชาติเข้ายึดและควบคุมอานาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ และประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง ยกเว้นความในหมวด ๒ พระมหากษัตริย์ โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้กาหนดแนวทาง ในการดาเนินการปฏิรูปประเทศไทยไว้ประการหนึ่ง คือ การจัดให้มีการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่วางกติกา การเมืองให้รัดกุม เหมาะสม ป้องกันและปราบปรามการทุจริต สามารถตรวจสอบการใช้อานาจรัฐได้ อย่างมีประสิทธิภาพรวดเร็ว และเป็นธรรม ก่อนจะส่งมอบภารกิจเหล่านี้แก่ผู้แทนปวงชนชาวไทย และคณะรัฐบาลที่จะเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินในระยะต่อไป โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ได้มีบทบัญญัติกาหนดกระบวนการจัดทารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ไว้ดังนี้ การตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อจัดทา ร่างรัฐธรรมนูญจานวน ๓๖ คน ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ ๑. ประธานกรรมาธิการตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ ๒. ผู้ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอ จานวน ๒๐ คน ๓. ผู้ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จานวน ๕ คน ๔. ผู้ซึ่งคณะรัฐมนตรีเสนอ จานวน ๕ คน ๕. ผู้ซึ่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ จานวน ๕ คน การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นครั้งแรก ในกรณีที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตาแหน่งที่ว่างภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ้นจากตาแหน่ง
  • 2. - ๒ - คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่ากว่า ๔๐ ปี และไม่มี ลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ ๑. เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองเว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒. เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกหรือดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลา ๓ ปีก่อน วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ๓. มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ดังนี้ ๓.๑ เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช ๓.๒ เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต ๓.๓ เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง ๓.๔ เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ ๓.๕ เคยต้องคาพิพากษาให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ ๓.๖ อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือเคยถูกถอดถอนจากตาแหน่ง ๓.๗ เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิด ต่อตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด หรือกฎหมายเกี่ยวกับการพนัน ในฐานความผิดเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก ๓.๘ เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ ๔. เป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์แห่งการขจัดส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดารงตาแหน่ง ทางการเมืองภายใน ๒ ปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
  • 3. - ๓ - การรับความเห็นหรือข้อเสนอแนะประกอบการพิจารณาจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญนาความเห็นหรือข้อเสนอแนะ ของภาคส่วนต่าง ๆ มาประกอบการพิจารณาด้วย ดังนี้ ๑. สภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยให้สภาปฏิรูปแห่งชาติต้องเสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะ ต่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญภายใน ๖๐ วันนับแต่วันที่มีการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก ๒. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๓. คณะรัฐมนตรี ๔. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ๕. ประชาชน ๖. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความครอบคลุมของสาระในร่างรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย ๑. การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ ๒. การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่เหมาะสม กับสภาพสังคมของไทย ๓. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกากับและควบคุมให้การใช้อานาจรัฐเป็นไปเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน ๔. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่ง ที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทาการอันทาให้การเลือกตั้งไม่สุจริต หรือเที่ยงธรรม เข้าดารงตาแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด ๕. กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง และพรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงาหรือชี้นา โดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ๖. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
  • 4. - ๔ - ๗. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว ๘. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนอง อประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไก การตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ ๙. กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทาลายหลักการสาคัญที่รัฐธรรมนูญ จะได้วางไว้ ๑๐. กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสาคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป นอกจากนี้ ยังกาหนดให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาถึงความจาเป็น และความคุ้มค่าที่ต้องมีองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่จาเป็นต้องมี ให้พิจารณามาตรการที่จะให้การดาเนินงานขององค์กรดังกล่าวเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย กาหนดระยะเวลาในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แล้วเสนอร่างรัฐธรรมนูญนั้นต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อพิจารณา ในกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กาหนดไว้ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง ทั้งนี้ กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดเดิมที่สิ้นสุดลงไม่มีสิทธิเป็นกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญชุดใหม่
  • 5. - ๕ - การดาเนินการหลังจากจัดทาร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ เมื่อจัดทาร่างรัฐธรรมนูญแล้วเสร็จ ให้ดาเนินการ ๑. เสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาแล้วเสร็จต่อประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยให้ประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณาเสนอแนะหรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จ ภายใน ๑๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ ๒. ส่งร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาแล้วเสร็จให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ การเสนอความคิดเห็นหรือขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ องค์กรที่เสนอความคิดเห็นหรือขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ ดังนี้ ๑. สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณาเสนอแนะหรือให้ความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญนั้น คาขอแก้ไขเพิ่มเติม ของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๑๐ ของจานวน สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคาขอหรือที่ให้คารับรองคาขอของสมาชิก อื่นแล้ว จะยื่นคาขอหรือรับรองคาขอของสมาชิกอื่นอีกมิได้ ๒. คณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความคิดเห็นหรือยื่นคาขอแก้ไข เพิ่มเติมได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ โดยคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้ยื่นต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ การพิจารณาความเห็นหรือคาขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภายใน ๖๐ วันนับ แต่วันที่ครบกาหนดยื่นคาขอแก้ไขเพิ่มเติม ในการนี้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญอาจแก้ไขเพิ่มเติม ร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่เห็นสมควร เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้เสนอ ร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ การพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ต้องพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้นทั้งฉบับ โดยต้องมีมติภายใน ๑๕ วันนับแต่ วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
  • 6. - ๖ - สภาปฏิรูปแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อความของร่างรัฐธรรมนูญนั้นมิได้ เว้นแต่เป็นข้อผิดพลาด ที่มิใช่สาระสาคัญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น หรือเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นว่าจาเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้สมบูรณ์ขึ้น เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญแล้ว ให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ นาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใช้บังคับได้ โดยให้ประธานสภาปฏิรูป แห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญและพระราชทานคืนมา หรือเมื่อพ้นกาหนด ๙๐ วันแล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กาหนด หรือไม่ให้ ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการดาเนินการเพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่ขึ้น เพื่อดาเนินการแทนตามอานาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญนี้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลง จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูป แห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณี ชุดใหม่มิได้ ----------------------------------