SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
• “เมโสโปเตเมีย”
 เป็นคำในภำษำกรีก
 เป็นชื่อเรียกดินแดนที่อยู่ระหว่ำงแม่น้ำ 2 สำย ใน
ตะวันออกกลำง คือ แม่น้ำไทกริส (Tigris) และ
ยูเฟรทีส (Euphrates) ปัจจุบันคือดินแดนในประเทศ
อิรัก
แม่น้าไทกริส (Tigris)
• เป็นแม่น้ำที่มีต้นน้ำอยู่ในเทือกเขำทำงตะวันออกของ
ประเทศตุรกี ยำวประมำณ 1,900 กิโลเมตร ไหลผ่ำน
ชำยแดนประเทศซีเรีย เข้ำดินแดนอำรยธรรม
เมโสโปเตเมียเดิมหรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้ว
มำรวมกับแม่น้ำยูเฟรทีสใกล้เมืองบัสรำ เกิดเป็น
แม่น้ำใหม่คือ แม่น้ำชัตต์อัลอำหรับ มีควำมยำว
ประมำณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลงสู่อ่ำวเปอร์เซีย
แม่น้ายูเฟรทีส (Euphrates)
• คือแม่น้ำที่มีต้นน้ำอยู่ในเทือกเขำทำงตะวันออกของ
ประเทศตุรกี ยำวประมำณ 2,300 กิโลเมตร ไหลเข้ำ
ประเทศซีเรีย เข้ำดินแดนอำรยธรรมเมโสโปเตเมียเดิม
หรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้วมำรวมกับแม่น้ำไทกริส
ใกล้เมืองบัสรำ เกิดเป็นแม่น้ำใหม่ชื่อ แม่น้ำชัตต์อัล
อำหรับ ที่มีควำมยำวประมำณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลง
สู่อ่ำวเปอร์เซีย
• อำรยธรรมเมโสโปเตเมียมีควำมหมำยครอบคลุมควำม
เจริญรุ่งเรืองที่เกิดขึ้นในดินแดน เมโสโปเตเมียและบริเวณ
รอบๆ ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อประมำณปี 3000 ก่อนคริสต์ศักรำช หรือ
5000 ปีมำแล้ว กลุ่มชนที่มีส่วนสร้ำงสรรค์อำรยธรรม
เมโสโปเตเมีย ได้แก่ พวกสุเมเรียน บำบิโลเนียน แอลซีเรียน
แคลเดียน ฮิตไทต์ ฟินีเชียน เปอร์เซีย และฮิบรู ซึ่งได้พลัด
เปลี่ยนกันเข้ำมำปกครองดินแดนนี้ พวกเขำรับควำมเจริญเดิม
ที่สืบทอดมำและพัฒนำให้เจริญก้ำวหน้ำขึ้นพร้อมๆ กับ
คิดค้นควำมเจริญใหม่ๆ ขึ้นมำด้วย อำรยธรรมเมโสโปเตเมีย
จึงเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่ำงที่ดินแดนอื่นๆ
นำไปใช้สืบต่อมำ
• เป็นแหล่งอำรยธรรมแห่งแรกของโลก
• เป็นเขตที่รำบลุ่มน้ำอันอุดมสมบรูณ์ที่อยู่ท่ำมกลำงอำณำ
บริเวณที่เป็นทะเลทรำยและเขตภูเขำ
• เนื่องจำกมีควำมอุดมสมบรูณ์จึงเป็นปัจจัยให้ชั้นกลุ่ม
ต่ำงๆอพยพเข้ำมำตั้งถิ่นฐำนและผลัดกันสร้ำงสรรค์
อำรยธรรมสืบเนื่องต่อกันมำ
• เป็ นดินแดนที่ครอบคลุมอำณำเขตกว้ำงขวำง พื้นที่
ตอนบนของลุ่มน้ำมีลักษณะเป็นที่รำบสูงกว่ำทำงตอนใต้
และจะลำดต่ำลงมำยังพื้นที่รำบลุ่มตอนล่ำง
• พื้นที่ตอนบนมีควำมแห้งแล้งกำรเกษตรต้องใช้ระบบ
ชลประทำน
• พื้นที่รำบลุ่มตอนล่ำงเป็นที่รำบต่ำเป็นดินดอนมีควำมอุดม
สมบรูณ์
• เนื่องจำกกำรทับถมของดินตะกอนที่แม่น้ำำทั้งสองสำยพัดเอำ
โคลนตมมำทับถมไว้บริเวณปำกแม่น้ำ ทำให้เกิดพื้นดินงอก
ตรงปำกแม่น้ำทุกปีบริเวณนี้เรียกว่ำ บำบิโลนเนีย (Babylonia)
• “บำบิโลเนีย” เป็น เขตติดต่อ กับอ่ำวเปอร์เซียเป็นดินแดนที่มี
ควำมอุดมสมบรูณ์เป็นแหล่งกำเนิดอำรยธรรมเมโสโปเตเมีย
ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมีย
• ทิศเหนือจดทะเลดำและทะเลแคสเปียน
• ทิศตะวันตกเฉียงใต้จดคำบสมุทรอำระเบีย
• ทิศตะวันออกจดที่รำบสูงอิหร่ำน
• ทิศตะวันตกจดที่รำบซีเรียและปำเลสไตน์
1.ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดอารย
ธรรมเมโสโปเตเมีย
• สภำพภูมิศำสตร์และภูมิปัญญำของกลุ่มชน เป็น
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดอำรยธรรมเมโสโปเตเมีย
สภาพภูมิศาสตร์ของดินแดนเมโสโปเตเมีย
• ลักษณะที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณใกล้เคียง มี
ภูมิอำกำศร้อนแห้งแล้งและมีปริมำณน้ำฝนน้อย อย่ำงไรก็ตำม
บริเวณนี้ก็มีเขตที่อุดมสมบูรณ์อยู่บ้ำงเรียกว่ำ “ดินแดนรูปดวงจันทร์
เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์” ซึ่งรวมถึงดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณ
ฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหรือเขตประเทศซีเรีย เลบำนอน ปำเลสไตน์
และอิสรเอลในปัจจุบัน ดินแดนเมโสโปเตเมียได้รับควำมอุดม
สมบูรณ์จำกแม่น้ำไทกริสและยูเฟรทีสและน้ำจำกหิมะละลำยบน
เทือกเขำในเขตอำร์เมเนียทำงตอนเหนือ ซึ่งพัดพำโคลนตมมำทับถม
บริเวณสองฝั่งแม่น้ำ กลำยเป็นปุ๋ ยในกำรเพำะปลูก กลุ่มชนอื่นที่อยู่
ใกล้เคียงจึงพยำยำมขยำยอำนำจเข้ำมำครอบครองดินแดนแห่งนี้
• ขณะเดียวกันผู้ที่อยู่เดิมก็ต้องสร้ำงควำมมั่งคงและ
แข็งแกร่งเพื่อต่อต้ำนศัตรูที่มำรุกรำนจึงมีกำรสร้ำงกำแพง
เมืองและคิดค้นอำวุธยุทโธปกรณ์ในกำรทำศึกสงครำม
เช่น อำวุธ รถม้ำศึก ฯลฯ
• อนึ่ง ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียสำมำรถติดต่อกับ
ดินแดนอื่นได้สะดวกทั้งทำงด้ำนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
และอ่ำวเปอร์เซีย จึงมีกำรติดต่อค้ำขำยและแลกเปลี่ยน
ควำมเจริญกับดินแดนอื่นอยู่เสมอ ทำให้เกิดกำร
ผสมผสำนและสืบทอดอำรยธรรม
ภูมิปัญญำของกลุ่มชน
• อำรยธรรมเมโสโปเตเมียเกิดจำกภูมิปัญญำของ
กลุ่มชนที่อำศัยในดินแดนแห่งนี้ กำรคิดค้นและ
พัฒนำควำมเจริญเกิดจำกควำมจำเป็นที่ต้อง
เอำชนะธรรมชำติเพื่อ ควำมอยู่รอด กำรจัด
ระเบียบในสังคมและควำมต้องกำรขยำยอำนำจ
การเอาชนะธรรมชาติ
• แม้ว่าดินแดนเมโสโปเตเมียจะได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้าไทกริส
และยูเฟรติส แต่ก็มีน้าท่วมเป็นประจาทุกปี ส่วนบริเวณที่ห่างฝั่งแม่น้า
มักแห้งแล้ง ชาวสุเรียนจึงคิดค้นระบบชนประทานเป็ นครั้งแรก
ประกอบด้วยทานบป้ องกันน้าท่วม คลองส่งน้า และอ่างเก็บน้า วิธีนี้
ช่วยให้การเพาะปลูกได้ผลดี อนึ่ง ในเขตที่อยู่อาศัยของพวกสุเมเรียนไม่
มีวัสดุก่อสร้างที่แข็งแรงคงทน เช่น หินชนิดต่างๆ ชาวสุเมเรียนจึงคิดหา
วิธีทาอิฐจากดินแดนและฟาง ซึ่งแม้จะมีน้าหนักเบากว่าหินแต่ก็มีความ
ทนทาน และใช้อิฐก่อสร้างสถานที่ต่างๆ รวมทั้งกาแพงเมือง นอกจากนี้
ยังใช้ดินเหนียวเป็นวัสดุสาคัญในการประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มด้วย
กำรจัดระเบียบในสังคม
• เมื่อมีควำมเจริญเติบโตและมีสมำชิกเพิ่มมำกขึ้น กำรอยู่กัน
เป็นชุมชนจึงจำเป็นต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์ของสังคม
ได้แก่ กำรแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อกำหนดหน้ำที่และ
สถำนะ กำรจัดเก็บภำษีเพื่อนำรำยได้ไปใช้พัฒนำควำมเจริญ
ให้แก่ชุมชน กำรออกกฎหมำยเพื่อเป็นเครื่องมือในกำร
ปกครอง เช่น ประมวลกฎหมำยของพระเจ้ำฮัมมูรำบีแห่ง
บำบิโลเนีย ซึ่งได้รับยกย่องว่ำเป็นกฎหมำยแม่บทของโลก
ตะวันตก
กำรขยำยอำนำจ
• ความยิ่งใหญ่ของชนชาติที่ปกครองดินแดนเมโสโปเตเมียส่วนหนึ่งเกิด
จากการขยายอานาจเพื่อรุกรานและครอบครองดินแดนอื่น เช่น พวก
แอสซีเรียนสามารถสถาปนาจักรวรรดิแอสซีเรียนที่เข้มแข็งได้ เพราะมี
เทคโนโลยีทางการทหารที่ก้าวหน้าและน่าเกรงขาม โดยประดิษฐ์คิดค้น
อาวุธสงครามและเครื่องมือต่างๆ รวมทั้งยุทธวิธีในการทาสงคราม เช่น
ดาบเหล็ก หอกยาว ธนู เครื่องกระทุ้งสาหรับทาลายกาแพงและประตู
เมือง รถศึก เสื้อเกราะ โล่ หมวกเหล็ก ฯลฯ ซึ่งต่อมาถูกนาไปใช้
แพร่หลายในทวีปยุโรป
• ลักษณะชุมชนที่ตั้งถิ่นฐำนในแหล่งอำรยธรรมเมโสโปเตเมียเป็น
ชนหลำยกลุ่มหลำยเผ่ำผลัดกันมำตั้งถิ่นฐำน และมีอำนำจใน
ดินแดนแถบนี้ทำให้อำรยธรรมมีลักษณะกำรผสมผสำนของกลุ่ม
ชนที่เข้ำมำอยู่ ได้แก่
• สุเมเรียน (Sumerian) • อัสซีเรียน(Assyrian)
• แอคคัด(Akkad) • คำลเดียน(Chaldean)
• อำมอไรต์(Amorite) • ฮิตไทต์(Hitite)
2.การหล่อหลอมอารยธรรมของชนชาติ
ต่างๆในเมโสโปเตเมีย
• อำรยธรรม ในดินแดนเมโสโปเตเมียไม่ได้เกิดขึ้น
โดยกำรสร้ำงสรรค์ของชนชำติใดชำติหนึ่ ง
โดยเฉพำะดังเช่นอำรยธรรมอื่น หำกแต่มีชนชำติ
ต่ำงๆ ผลัดเปลี่ยนกันเข้ำมำครอบครองและสร้ำง
ควำมเจริญ แล้วหล่อหลอมรวมเป็นอำรยธรรม
เมโสโปเตเมีย
สุเมเรียน (Sumerian)
• สุเมเรียนเป็นชื่อเรียกกลุ่มคนที่อพยพเข้ำมำอยู่ในเขตซูเมอร์
(Sumer) หรือบริเวณตอนใต้สุดของแม่น้ำไทกริสและยูเฟรทีส
ซึ่งติดกับปำกอ่ำวเปอร์เซียเมื่อประมำณ 5000 ปีมำแล้ว พวก
สุเมเรียนได้พัฒนำควำมเจริญรุ่งเรืองที่ก้ำวหน้ำทัดเทียมกับ
อำรยธรรมอียิปต์ เช่น รู้จักประดิษฐ์ตัวอักษรคูนิฟอร์มหรือ
อักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียวแล้วนำไปเผำไฟ กำรคำนวณ กำร
พัฒนำมำตรำชั่ง ตวง วัด กำรทำปฏิทิน กำรใช้แร่โลหะ กำร
คิดค้นระบบชลประทำนเพื่อส่งเสริมกำรกสิกรรม และกำร
ก่อสร้ำงสถำนที่ศักดิ์สิทธิ์เพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้ำ ฯลฯ ทำ
ให้นักประวัติศำสตร์บำงกลุ่มเชื่อว่ำอำรยธรรมโลกเริ่มต้นที่
เขตซูเมอร์
• ชำวสุเมเรียนอยู่รวมกันเป็นนครรัฐเล็กๆ หลำยแห่ง เช่น
เมืองเออร์ (Ur) เมืองอูรุก (Uruk) เมืองคิช (Kish) และเมือง
นิปเปอร์ (Nippur) แต่ละแห่งไม่มีกษัตริย์หรือเจ้ำผู้ครอง
นคร เพรำะพวกสุเมเรียนเชื่อว่ำพวกเขำมีเทพเจ้ำคุ้มครอง
จึงมีเพียงพระหรือนักบวชเป็นผู้ทำพิธีบูชำเทพเจ้ำและ
จัดกำรปกครองในเขตของตน อย่ำงไรก็ตำม กำรที่นครรัฐ
ต่ำงๆ ล้วนเป็นอิสระต่อกันทำให้ไม่สำมำรถรวมกันเป็น
ปึกแผ่นได้ ดินแดนของพวกสุเมเรียนจึงถูกรุกรำนจำกชน
กลุ่มอื่น คือพวกแอคคัดและอมอไรต์
สังคมแบ่งเป็น 4 ชนชั้น ได้แก่
1) ชนชั้นสูงหรือปกครอง ได้แก่ พระ ผู้ครองนคร
2) ชนชั้นกลำง ได้แก่ พ่อค้ำ ช่ำงฝีมือ อำลักษณ์
3) ชนชั้นต่ำ ได้แก่ ประชำชนทั่วไป ชำวนำ
4) ชนชั้นต่ำสุด ได้แก่ ทำส
• ชนชั้นต่าสุด ถูกใช้แรงงานในการสร้างซิกกูแรท
• นับถือเทพเจ้ำหลำยองค์ มีเทพเจ้ำประจำนครรัฐ เน้น
โลกนี้เป็นสำคัญ ไม่เชื่อเรื่องโลกหน้ำ
• ศำสนำ เกิดจำกควำมกลัวของชำวสุเมเรียน ควำม
เชื่อในเรื่องวิญญำณร้ำย มีพิธีบวงสรวงเพื่อให้
เทพเจ้ำพึงพอใจ แต่พวกเขำจะไม่เชื่อในเรื่องควำม
เป็นอมตะและภพหน้ำ
เทพเจ้ำ Enlil เทพเจ้ำแห่งอำกำศ และเทพเจ้ำ Ninlil
พระชำยำ(Ziggurat)
• สร้ำงซิกกูแรต (วิหำรบูชำเทพเจ้ำ)สร้ำงด้วยดินหรืออิฐ ซึ่ง
นับเป็นจุดอ่อนของสถำปัตยกรรมของชำวสุเมเรียน
เพรำะดินสำมำรถเสื่อมสลำย ผุผังไปตำมกำลเวลำได้ง่ำย
ลักษณะของซิกกูแรทคล้ำยๆกับพีระมิดมัสตำบ้ำของ
อียิปต์โบรำณ แต่จะเป็นฐำนสี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียงซ้อนกัน
ขึ้นไป มีทำงขึ้นทั้ง 2 ด้ำน ด้ำนบนสุดเป็นที่สิงสถิตของ
เทพเจ้ำ
วรรณกรรมกิลกำเมช
• กล่าวถึงการพจญภัยของสีรบุรุษชาวสุเมเรียน
• เป็นตำนำนน้ำท่วมโลกที่เก่ำแก่ของเมโสโปเตเมียโบรำณ เป็นหนึ่งใน
งำนวรรณกรรมประเภทนิยำยที่เก่ำแก่ที่สุดในโลก นักวิชำกำรเชื่อว่ำมหำ
กำพย์เรื่องนี้มีกำเนิดมำจำกตำนำนกษัตริย์สุเมเรียนและบทกวีเกี่ยวกับ
วีรบุรุษในตำนำนที่ชื่อว่ำ กิลกำเมช ซึ่งถูกรวบรวมเอำไว้กับบรรดำ
บทกวีอัคคำเดียนในยุคต่อมำ มหำกำพย์ชุดที่สมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบัน
ปรำกฏในแผ่นดินเหนียว 12 แท่งซึ่งเก็บรักษำไว้ที่หอเก็บจำรึกของ
กษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อรำวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกำล มีชื่อดั้งเดิมว่ำ ผู้
มองเห็นเบื้องลึก (He who Saw the Deep; Sha naqba īmuru) หรือ ผู้
ยิ่งใหญ่กว่ำรำชันทั้งปวง (Surpassing All Other Kings; Shūtur eli
sharrī) กิลกำเมชอำจจะเป็นผู้ปกครองที่มีตัวตนจริงในอดีตระหว่ำง
รำชวงศ์ที่ 2 ของยุคต้นของสุเมเรีย (ประมำณ 2,700 ปีก่อนคริสตกำล)
• สำระสำคัญของเรื่องเกี่ยวกับควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
กิลกำเมช ผู้กำลังท้อใจกับกำรปกครองของตน กับเพื่อน
ของเขำชื่อ เอนกิดู ซึ่งเข้ำรับภำรกิจเสี่ยงภัยร่วมกับ
กิลกำเมช เนื้อหำส่วนใหญ่ในมหำกำพย์เน้นย้ำถึง
ควำมรู้สึกสูญเสียของกิลกำเมชหลังจำกเอนกิดูเสียชีวิต
และกล่ำวถึงกำรกลับเป็นมนุษย์อีกครั้งพร้อมกับเน้นย้ำ
เรื่องควำมเป็นอมตะ เรื่องรำวในหนังสือเล่ำถึงกำรที่
กิลกำเมชออกเสำะหำควำมเป็นอมตะหลังจำกกำรเสียชีวิต
ของเอนกิดู
สรุปเนื้อหำสำคัญของสุเมเรียน
• ประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม(รูปลิ่ม) เขียนลงบนแผ่นดินเหนียวด้วยปากกา
ที่ทาจากต้นอ้อแล้วนาไปตากแห้ง
• รู้จักใช้ระบบชลประทาน เช่น อ่างเก็บน้า เขื่อนกั้นน้า ประตูระบายน้า
• ดารงชีพด้วยการเพาะปลูก พืชที่สาคัญคือ ข้าวสาลี
• รู้จักใช้ยานพาหนะเช่น รถม้า
• รู้จักใช้โลหะผสม(สาริด) ทาเครื่องมือ เครื่องประดับ
• รู้จักทอผ้า
• รู้จักการบวก ลบ คูณ ทาปฏิทินจันทรคติ(ข้างขึ้น ข้างแรม) การนับวัน
เวลา
อมอไรท์(Amorties) หรือบำบิโลน
• พวกอมอไรท์หรือบำบิโลเนียน เป็นชนเผ่ำเซมิติกซึ่งมีถิ่นกำเนิดในแถบ
ตะวันออกกลำง ได้ขยำยอิทธิพลในดินแดนเมโสโปเตเมียและสร้ำง
จักรวรรดิบำบิโลนที่เจริญ รุ่งเรืองในช่วงประมำณปี 1800-1600 ก่อน
คริสต์ศักรำช ผู้นำสำคัญคือกษัตริย์ฮัมมูรำบีผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งได้สร้ำงควำม
เข้มแข็งให้แก่จักรวรรดิบำบิโลน โดยกำรทำสงครำมขยำยดินแดนและ
จัดทำประมวลกฎหมำยของพระเจ้ำฮัมมูรำบีเพื่อเป็น หลักฐำนในกำร
ปกครองและจัดระเบียบสังคม นอกจำกนี้ชำวบิโลเนียนยังสืบทอดควำม
เจริญต่ำงๆ ของพวกสุเมเรียนไว้เช่น ควำมเชื่อทำงศำสนำซึ่งได้แก่กำร
บูชำเทพเจ้ำ กำรแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อแบ่งแยกหน้ำที่และควำม
สะดวกในกำรปกครอง กำรผลิตสินค้ำอุตสำหกรรมและกำรค้ำขำยกับ
ดินแดนอื่นๆ เช่น อียิปต์และอินเดียซึ่งนำควำมมั่งคั่งให้แก่จักวรรดิ
บำบิโลน
• จักรวรรดิบาบิโลนค่อยๆเสื่อมอานาจลง เมื่อมีชนชาติอื่นขยายอิทธิพล
เข้ามาในดินแดนเมโสโปเตเมียและสลายลงไปโดยถูกพวกแอลซีเรียน
โจมตี
• กษัตริย์ชำวอำมอไรท์องค์ที่ 6 และเป็น
พระมหำกษัตริย์พระองค์แรกแห่งจักรวรรดิบำบิโลน
รู้จักกันดีที่สุดในด้ำนกฎหมำยในขณะเดียวกับควำม
เป็ นผู้ยิ่งใหญ่ด้ำนกำรทหำรที่ทำให้อำณำจักร
บำบิโลนมีอำนำจมำกที่สุดในแถบเมโสโปเตเมียโดย
กำรเอำชนะพวกซูเมอร์และพวกอัคคำด
กฎหมายฮัมมูราบี
• มีกำรประมวลกฎหมำยลำยลักษณ์อักษรที่เก่ำแก่ที่สุดในโลก คือ
กฎหมำยฮัมมูรำบี มีบทลงโทษแบบ “ตำต่อตำ ฟันต่อฟัน”
• เป็ นบทบัญญัติที่รวบรวมกฎหมำยต่ำง ๆ และ
พระรำชกฤษฎีกำของพระเจ้ำฮัมมูรำบี รำชำแห่ง
บำบิโลเนีย และเป็นประมวลกฎหมำยที่เก่ำแก่ที่สุด
ประมวลกฎหมำยนี้คัดลอกไว้โดยกำรแกะสลักลงบน
หินบะซอลต์สีดำสูง 2.25 เมตร ซึ่งต่อมำทีมนักโบรำณคดี
ฝรั่งเศสขุดพบที่ Susa ประเทศอิรัก ในช่วงฤดูหนำวปี
1901 ถึง 1902 หินสลักนี้แตกเป็น 3 ชิ้น และได้รับกำร
บูรณะ ปัจจุบัน ประมวลกฎหมำยฮัมมูรำบีอยู่ใน
พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ กรุงปำรีส ประเทศฝรั่งเศส
• กฎหมำยดังกล่ำวเป็นกฎหมำยอำญำ โดยยึดหลักที่ปัจจุบัน
เรียกว่ำ "ตำต่อตำ ฟันต่อฟัน" อันหมำยถึงทำผิดอย่ำงไรได้
โทษอย่ำงนั้น ซึ่งแม้บทลงโทษตำมกฎหมำยฮัมมูรำบีจะดู
ว่ำโหดเหี้ยมตำมควำมคิดของคนสมัยใหม่ แต่กำรทำ
กฎหมำยให้เป็นลำยลักษณ์อักษรและพยำยำมใช้บังคับ
อย่ำงเป็นระบบกับทุกคน และกำร "ถือว่ำเป็นผู้บริสุทธิ์ไว้
ก่อนจนกว่ำจะได้รับกำรพิสูจน์ว่ำผิด" นับเป็นหลักกำร
สำคัญที่นับเป็นวิวัฒนำกำรทำงอำรยธรรมของมนุษย์
ฮิตไทต์ (Hittites)
• พวกฮิตไทต์เป็นพวกอินโด-ยูโรเปียน ที่อพยพมำจำกทำงเหนือ
ของทะเลดำเมื่อประมำณปี 2300 ก่อนคริสต์ศักรำช ต่อมำได้
ขยำยอิทธิพลเข้ำไปในเขตจักรวรรดิบำบิโลนและเข้ำครอบครอง
ดินแดน ซีเรียในปัจจุบันพวกฮิตไทต์สำมำรถนำเหล็กมำใช้
ประดิษฐ์อำวุธแบบต่ำงๆ และจัดทำประมวลกฎหมำยเพื่อใช้
ควบคุมสังคม โดยเน้นกำรใช้ควำมรุนแรงตอบโต้ผู้ที่กระทำ
ควำมผิด เช่น ให้จ่ำยค่ำปรับแทนกำรลงโทษที่รุนแรง อำณำจักร
ฮิตไทต์เสื่อมอำนำจลงในรำวปี 1200 ก่อนคริสต์ศักรำช
ประเด็นที่สำคัญของฮิตไทต์
• เป็นเผ่าอินโดยุโรเปียน
• เดิมอยู่ทางตอนใต้ของรัสเซีย ขยายตัวมาตามลุ่มแม่น้ายูเฟรติส โจมตี
ทางเหนือของซีเรีย ปล้นกรุงบาบิโลนและปกครองดินแดนเมโสโปเตเมีย
ต่อมา
• มีความสามารถในการรบมาก
• เป็นชนเผ่าแรกที่รู้จักใช้เหล็กทาเป็นอาวุธ รู้จักใช้รถเทียมม้าทาศึก
• ตรงกับสมัยที่อียิปต์เรืองอานาจ
• กษัตริย์ฮัตตูซิลิที่ 3แห่งฮิตไทต์ และฟาโรห์รามเสสที่ 2แห่งอียิปต์ได้ทา
สนธิสัญญาไม่รุกรานกัน และหากบุคคลที่ 3 มาโจมตี ต้องช่วยเหลือกัน
สนธิสัญญำรำมเสส-ฮัททูซิลี หรือ สนธิสัญญำคำเดซ
• มีกำรลงนำมและให้สัตยำบันระหว่ำงศตวรรษที่ 13 ก่อนคริสตกำล
ระหว่ำงฟำโรห์รำมเสสที่ 2 แห่งอียิปต์ และกษัตริย์ฮัททูซิลีที่ 2
แห่งฮิตไทต์ จุดประสงค์ของข้อตกลงนี้คือสร้ำงและรักษำ
ควำมสัมพันธ์อย่ำงสันติระหว่ำงทั้งสองฝ่ำย มันเป็นควำมตกลงที่
เก่ำแก่ที่สุดเท่ำที่รู้จักกันจำกตะวันออกใกล้ และเป็นสนธิสัญญำ
ฉบับเขียนที่เก่ำแก่ที่สุดที่ยังคงเหลือรอดมำจนถึงปัจจุบัน (ซึ่งอำจ
มิใช่สนธิสัญญำที่เก่ำแก่ที่สุดในโลก) สนธิสัญญำดังกล่ำวมีกำร
จำรึกไว้ในภำษำอียิปต์ ดังที่ปรำกฏในกำแพงเทวสถำนด้วย
ไฮโรกลิฟฟิ ก และในอดีตจักรวรรดิฮิตไทต์ ซึ่งปัจจุบันคือ
ประเทศตุรกี ที่ซึ่งมันถูกเก็บรักษำไว้บนแผ่นจำรึกดินเผำ
แอลซีเรียน (Assyrians)
• พวกแอลซีเรี ยนมีถิ่นฐำนอยู่ทำงตอนเหนือของ
เมโสโปเตเมีย เป็นชนชำตินักรบที่มีควำมสำมำรถและ
โหดร้ำย จึงเป็ นที่คร้ำมเกรงของชนชำติอื่น พวก
แอลซีเรียนได้ขยำยอำนำจครอบครองดินแดนของพวก
บำบิโลเนียน ซีเรีย และดินแดนบำงส่วนของจักรววรดิ
อียิปต์ จักรวรรดิแอลซีเรียนมีควำมเจริญรุ่งเรืองในช่วงปี
900-612 ก่อนคริสต์ศักรำช
• อนึ่ง กำรที่แอลซีเรียนเป็นชนชำตินักรบจึงได้มอบอำรยธรรมสำคัญ
ให้แก่ชำวโลกคือกำร สร้ำงระบอบปกครองจักรวรรดิที่เข้มแข็ง มีกำร
ควบคุมดินแดนที่อยู่ใต้กำรปกครองอย่ำงใกล้ชิด โดยสร้ำงถนนเชื่อม
ติดต่อกับดินแดนเหล่ำนั้นจำนวนมำกเพื่อควำมสะดวกในกำรเดิน ทัพ
และติดต่อสื่อสำร
• นอกจากนี้ยังมีความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางการทหารและการรบ
โดยเฉพาะการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์และการใช้ทหารรับจ้างที่มี
ประสิทธิภาพสูง อย่างไรก็ตาม แอลซีเรียนมิได้พัฒนาความเจริญด้าน
อื่นๆ มากนัก ส่วนใหญ่เป็นการสืบทอดความเจริญที่มีอยู่เดิมในดินแดน
ที่ตนเข้าไปครอบครอง เช่น ความเชื่อทางศาสนา ศิลปกรรม และ
วรรณกรรม
• ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิแอสซีเรียนเกิดจากการรุกรานดินแดนของชน
ชาติอื่น ดังนั้นจึงมีศัตรูมากและถูกศัตรูทาลายในที่สุด
สรุปเนื้อหำสำคัญ
• เป็นเผ่าเซมิติกมาจากทะเลทรายอาหรับ
• ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองนิเนเวห์
• สามารถในการรบและการค้า
• ขยายอานาจถึงฟินิเชีย ปาเลสไตน์ อียิปต์และเปอร์เซีย
• กองทัพแข็งแกร่ง มีระเบียบวินัยสูง
• ใช้เหล็กทาอาวุธ
• มีการก่อสร้างที่ใหญ่โตมหึมา มาทาเป็นโดม เช่นพระราชวังซาร์กอน
• มีการปั้นแบบนูนตัวและลอยตัว ให้อารมณ์สมจริง
แคลเดียน (Chaldeans)
• พวกแคลเดียนได้ร่วมกับชนชำติอื่นทำลำยอำนำจของแอลซีเรียนเมื่อปี
612 ก่อนคริสต์ศักรำช หลังจำกนั้นก็ได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่
ของจักรวรรดิแอสซีเรีย ผู้นำที่ยิ่งใหญ่ของแคลเดียนคือกษัตริย์
เนบูคัดเนซซำร์ ซึ่งสถำปนำจักรวรรดิบำบิโลนขึ้นใหม่และรื้อฟื้นควำม
เจริญต่ำงๆ ในอดีต เช่น กำรก่อสร้ำงอำคำรที่สวยงำมโดยเฉพำะกำร
สร้ำง “สวนลอยแห่งบำบิโลน” ซึ่งได้รับกำรยกย่องว่ำเป็น 1 ใน 7 สิ่ง
มหัศจรรย์ของโลก กำรรื้อฟื้นประมวลกฎหมำยและวรรณกรรมของชำว
บำบิโลเนียนรวมทั้งระบบเศรษฐกิจและกำรค้ำ ดังนั้นนักประวัติศำสตร์
จึงเรียกจักรวรรดิของพวกแคลเดียนว่ำ “จักรวรรดิบำบิโลนใหม่”
อย่ำงไรก็ตำม พวกแคลเดียนก็ได้สร้ำงมรดกที่สำคัญคือกำรศึกษำ
ทำงด้ำนดำรำศำสตร์และโหรำศำสตร์ จักรวรรดิแคลเดียนมีอำนำจ
ในช่วงสั้นๆ และสิ้นสลำยเมื่อปี 534 ก่อนคริสต์ศักรำช
• เป็นพวกเร่ร่อนเผ่ำเซมิติกตั้งถิ่นฐำนบริเวณทะเลทรำยซีเรียและ
ท ะ เ ล ท ร ำ ย อ ำ ห รั บ ไ ด้เ ข้ำ ยึ ด ค ร อ ง ดิ น แ ด น ท ำ ง
ตะวันออกเฉียงเหนือของดินแดนเมโสโปเตเมีย
• ซำกอนผู้นำชำวอัคคัด ได้ยึดครองนครรัฐของพวกสุเมเรียนและ
รวบรวมดินแดนบริเวณฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงอ่ำว
เปอร์เซียขึ้นป็นจักรวรรดิ
• ปกครองไม่นำนก็ถูกสุเมเรียนโค่นล้มแล้วปกครองใหม่เป็นครั้ง
ที่สอง
• สวนแห่งนี้สร้างขึ้นในเขตพระราชฐาน มีลักษณะคล้ายปิรามิด โดยสร้าง
ซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้นๆ นักประวัติศาสตร์จากซิซิลีที่ชื่อ "ดิโอโดโรส"
กล่าวว่า ชาวบาบิโลนใช้อิฐและน้ามันดินเป็นส่วน ประกอบสาคัญใน
การก่อสร้างและเพื่อให้กันน้าได้ดีนั้น ชาวเมืองจะใช้หญ้าประเภทอ้อ
หรือกกผสม น้ามันดินปูพื้นชั้นแรก แล้วปูทับด้วยอิฐเผาที่ตริงไว้ด้วยปูน
ก่อนจะวางตะกั่วทับลงไปบนชั้นบนสุด หลังจากนั้นจึงลงดินที่มีปริมาณ
มากพอที่จะปลูกต้นไม้ทุกประเภท นับแต่ไม้พุ่มไปจนถึงไม้ยืนต้น น้าที่
ใช้เลี้ยงต้นไม้ในสวนลอยสูบขึ้นมาจากแม่น้ายูเฟรติสเบื้องล่างมาตาม
ท่อที่ฝังซ่อนไว้อย่าง มิดชิดในแต่ละส่วนของระเบียง ทาให้ต้นไม้ที่ปลูก
ที่นี่เขียวชอุ่ม ให้ดอกและผลได้เป็นอย่างดีแม้ในช่วง ที่แล้งที่สุดกลางฤดู
ร้อนในทะเลทราย
สวนลอยบำบิโลน ปัจจุบันอยู่ในประเทศอิรัก
ทำแผนที่ดวงดำว
• ชำวแคลเดียนสำมำรถหำเวลำที่ดวงจันทร์หมุนรอบโลก เวลำเกิด
สุริยคลำสและจันทรคลำส และคำนวณหำควำมยำวของปีทั้งหมดได้
อย่ำงแม่นยำ แคลเดียนรับทอดงำนดำรำศำสตร์จำกสุเมเรียนโดยแท้จริง
นำบูริแมนนู (Naburiannu) เป็นนักดำรำศำสตร์ชำวแคลเดียนผู้ได้รับ
กำรอุปถัมภ์จำกกษัตริย์ดำริอุสที่ หนึ่ง แห่งเปอร์เซีย ในกำรดำเนินกำร
ศึกษำค้นคว้ำ ผลงำนที่ปรำกฎคือสำมำรถค้นคว้ำนับเวลำในรอบหนึ่งได้
ใกล้เคียงกับกำรนับเวลำ ในปัจจุบันมำก คือ 1 ปีมี 365 วัน 6 ชั่วโมง 15
นำที 41 วินำที
กำแพงอิซต้ำ
• ทำจำกกระเบื้องหลำกสี และแกะสลักเป็นภำพสัตว์ประหลำด
เรียกกริฟฟินคือมีใบหน้ำและลำตัวเป็นสิงห์โต แต่มีปีกเป็นนก
อินทรีย์(Griffin) กำแพงนี้เชื่อกันว่ำเป็น ช่องทำงนำไปสู่เทพเจ้ำ
มำร์ดุ๊กซึ่งเป็ นเทพเจ้ำสูงสุดแห่งกรุงบำบิโลน ปัจจุบัน
กำแพงอิซต้ำถูกเก็บรักษำไว้ที่พิพิธภัณฑ์กรุงเบอร์ลิน
เปอร์เซีย (Persia)
• พวกเปอร์เซียเป็นชนเผ่ำอินโด-ยูโรเปียนที่อพยพมำจำกทำงเหนือของ
เทือกเขำคอเคซัส เมื่อรำว 1800 ปีก่อนคริสต์ศักรำชและตั้งถิ่นฐำนอยู่ใน
ดินแดนเปอร์เซียหรือประเทศอิหร่ำน ปัจจุบัน ต่อมำได้ร่วมมือกับพวก
แคลเดียนโค่นล้มจักรวรรดิแอลซีเรียนและสถำปนำ จักรวรรดิเปอร์เซีย
เมื่อประมำณ 550 ปีก่อนคริสต์ซักรำช จำกนั้นได้ขยำยอำนำจเข้ำยึดครอง
จักรวรรดิบำบิโลนของพวกแคลเดียน ดินแดนเมโสโปเตเมีย
เอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ในสมัยพระเจ้ำดำริอุสหรือเดอไรอัสมหำรำช
(Darius the Great) เปอร์เซียได้ขยำยอิทธิพลเข้ำไปในดินแดนตะวันออก
ถึงลุ่มแม่น้ำสินธุของ อินเดียและทำงตะวันตกถึงตอนใต้ของยุโรป แม้ว่ำ
เปอร์เซียไม่ประสบควำมสำเร็จในกำรทำสงครำมเพื่อยึดครองนครรัฐกรีก
แต่จักรวรรดิเปอร์เซียในขณะนั้นก็มีอำนำจยิ่งใหญ่ที่สุด
• เปอร์เซียเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนของชนชาติต่างๆ
จานวนมาก จึงต้องจัดการปกครองให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองใช้หลัก
ความยุติธรรมในการจัดเก็บภาษีและการศาล รวมทั้งการกระจาย
อานาจการปกครองให้แก่ท้องถิ่นและดินแดนต่างๆ โดยรับวิธีควบคุม
อานาจปกครองตามแบบพวกแอสซีเรียน ซึ่งได้แก่ การสร้างถนนเชื่อม
ดินแดนต่างๆ เพื่อรองรับการเดินทัพ การสื่อสาร และไปรษณีย์ ถนน
สายสาคัญ ได้แก่ เส้นทางหลวงเชื่อมเมืองซาร์ดิส (Sardis) ใน
เอเชียไมเนอร์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี) และนครซูซา (Susa) ซึ่ง
เป็นเมืองหลวงแห่งหนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ถนนสายนี้ไม่เพียงแต่มี
ความสาคัญด้านยุทธศาสตร์ หากยังมีความสาคัญต่อการค้าระหว่าง
ดินแดนต่างๆ ภายในจักรวรรดิ และเป็นเส้นทางสาคัญในการติดต่อ
ระหว่างตะวันออกและตะวันตก
• พวกเปอร์เซียรับควำมเจริญรุ่งเรืองจำกดินแดนต่ำงๆ โดยเฉพำะ
จำกอียิปต์และเมโสโปเตเมีย แล้วหล่อหลอมเป็นวัฒนธรรมของ
ตน เช่น กำรประดิษฐ์ตัวอักษร กำรใช้ระบบเงินตรำ กำร
ประยุกต์รูปแบบสถำปัตยกรรม ฯลฯ อย่ำงไรก็ตำม พวก
เปอร์เซียก็มีอำรยธรรมที่โดดเด่น คือ มีศำสนำของตนเอง ได้แก่
ศำสนำโซโรแอสเตอร์ (Zoroaster) ซึ่งสั่งสอนให้มนุษย์ทำควำม
ดีเพื่อมีชีวิตที่ดีในอนำคตและละเว้นควำมชั่วโดยเฉพำะกำร
กล่ำวเท็จ หลักควำมดีควำมชั่วของศำสนำโซโรแอสเตอร์มี
อิทธิพลต่อแนวคิดและคำสอนของศำสนำยูดำย (Judaism) ของ
ชำวยิว และศำสนำคริสต์ซึ่งถือกำเนิดขึ้นหลังจำกนั้น
จักรวรรดิปอร์เซียล่มสลำย เมื่อถูกพระเจ้ำอะเล็กซำนเดอร์
มหำรำชแห่งมำซิโดเนียยกทัพเข้ำยึดครองเมื่อปี 331 ก่อน
คริสต์ศักรำช
ฟีนิเชียน (Phoenicians)
• ระหว่างปี 1000-700 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกฟีนิเชียนอาศัยอยู่ใน
ดินแดนฟินิเชียซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศเลบานอนปัจจุบัน และมีการ
ปกครองแบบนครรัฐ ลักษณะที่ตั้งมีเทือกเขาสลับซับซ้อนกั้นระหว่างที่
ราบแคบๆ ซึ่งขนานกับชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับดินแดนอื่นๆ ทา
ให้พวกฟีนิเชียนไม่สามารถขยายดินแดนของตนออกไปได้ จึงดารงชีวิต
ด้วยการเดินเรือและค้าขายทางทะเล
• นอกจากมีชื่อเสียงในด้านการค้าแล้ว ชาวฟีนิเชียนยังมีชื่อเสียงในด้าน
อุตสาหกรรมต่อเรือซึ่งทาจากไม้ซีดาร์ที่มี อยู่มากบนเทือกเขาใน
เลบานอนและการทาอุตสาหกรรมเครื่องใช้จากแร่โลหะต่างๆ เช่น
ทองคา ทองแดง ทองเหลือง แร่เงิน และเครื่องแก้ว นอกจากนี้ยังริเริ่ม
การทอผ้าขนสัตว์และย้อมผ้า รวมทั้งได้จับจองอาณานิคมในเขตทะเล
เมดิเตอร์เรเนียนจานวนมาก เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าของตน เช่น เกาะ
ซิซีลี ซาร์ดิเนีย และมอลตา อนึ่ง ชาวฟีนิเชียนจาเป็นต้องใช้เอกสารและ
หลักฐานในการติดต่อค้าขายจึงได้พัฒนาตัว อักษรขึ้นจากโบราณของ
อียิปต์จานวนรวม 22 ตัว อักษรฟีนิเชียนเป็นมรดกทางอารยธรรมที่
สาคัญของโลกตะวันตก เนื่องจากชาวกรีกและโรมันได้นาไปใช้และ
สืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน
ฮิบรู (Hebrews)
• ชำวฮิบรูหรือชำวยิว เป็นชนเผ่ำเซมิติกที่เร่ร่อนอยู่ในดินแดนต่ำงๆ เคยอำศัย
อยู่ในเขตซูเมอร์ก่อนที่จะอพยพเข้ำไปอยู่ดินแดนคำนำอัน (Canaan) หรือ
ปำเลสไตน์ (Palestine) ในปัจจุบัน ชำวฮิบรูเป็นชนชำติที่เฉลียวฉลำดและ
บันทึกเรื่องรำวของพวกตนในคัมภีร์ศำสนำ (Old Testament) ทำให้มีข้อมูล
เกี่ยวกับบรรพบุรุษของชำวยิวอย่ำงละเอียด บันทึกชำวฮิบรูกล่ำวว่ำ เดิม
บรรพบุรุษเคยอยู่ทำงตอนเหนือของเมโสโปเตเมียต่อมำได้ตกเป็นทำสของ
อียิปต์ เมื่ออียิปต์เสื่อมอำนำจ ชำวฮิบรูจึงพ้นจำกควำมเป็นทำสโดยผู้นำคือ
โมเสส (Moses) ได้นำชำวฮิบรูเดินทำงเร่ร่อนเพื่อหำที่ตั้งหลักแหล่งทำมำหำ
กิน ในที่สุดมำถึงดินแดนคำนำอัน หรือภำยหลังเรียกว่ำ “ปำเลสไตน์” และ
สร้ำงอำณำจักรอิสรำเอล มีกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่คือ กษัตริย์เดวิด (David) ซึ่ง
สถำปนำนครเยรูซำเลมเป็นเมืองหลวง
• ต่อมาอาณาจักรอิสราเอล ได้แตกแยกเป็น 2 ส่วน หลักจากกษัตริย์
โซโลมอนสิ้นพระชนม์ เมื่อปี 922 ก่อนคริสต์ศักราช และถูกชนชาติที่
เข้มแข็งกว่าคือแอลซีเรียนและแคลเดียนเข้ายึดครอง ชาวยิวส่วนใหญ่
ถูกจับไปเป็นทาสในดินแดนอื่น แต่ได้กลับคืนดินแดนปาเลสไตน์อีกครั้ง
เมื่อจักรวรรดิเปอร์เซียเข้ามาครอบครองดินแดนนี้อย่างไรก็ตาม พวก
เขาได้ละทิ้งดินแดนของตนไปในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 หลังจากพวก
โรมันเข้ายึดครองปาเลสไตน์และทาลายเมืองของชาวยิว
• ชาวยิวมีกฎหมาย วรรณกรรม และศานาของตนเอง ประมวลกฎหมาย
เรียกว่า “กฎหมายโมเสส” วรรณกรรมที่สาคัญคือคัมภีร์ไบเบิล ซึ่ง
ประมวลกฎหมายเรื่องราวตั้งแต่การกาเนิดของโลกมนุษย์ จนกระทั่งถึง
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของชนชาติยิว คัมภีร์ไบเบิลฉบับบนี้เป็น
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญและเป็นภาคพระ คัมภีร์เก่า (Old
Testament) ในคัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์ด้วย
• ความเจริญรุ่งเรืองที่ชนชาติต่างๆ ในดินแดนเมโสโปเตเมียคิดค้น
หล่อหลอม และสืบทอดต่อกันมา ส่วนใหญ่กลายเป็นรากฐานของ
อารยธรรมตะวันตกที่ชาวยุโรปรับและพัฒนาต่อเนื่องเป็นอารยธรรม
ของมนุษยชาติในปัจจุบัน
อ้ำงอิง
1. http://civilizationcivilize.blogspot.com
2. http://www.oknation.net/blog/print.php?id=336522
3. http://writer.dek-d.com/abjmp-social/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=5
4. http://www.thaigoodview.com/node/4483
5. http://writer.dek-d.com/abjmp-social/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=7
รำยชื่อสมำชิก ม.6.5
1. ศิริกำญจน์ แก้วมณีมงคล เลขที่ 47
2. น้ำทิพย์ วรรณขจีพิบูลย์ เลขที่ 48

More Related Content

What's hot

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510Suphatsara Amornluk
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ Tha WaiHei
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียHercule Poirot
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2Napatrapee Puttarat
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptssuseradaad2
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 

What's hot (20)

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย2
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย