SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
[1] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร
บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
ทางหลวงหมายเลข 345 สายบางบัวทอง บางพูน เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรีเชื่อมต่อกับจังหวัด
ปทุมธานี เริ่มต้นที่ทางแยกต่างระดับบางบัวทอง และสิ้นสุดที่ถนนรังสิต-ปทุมธานีที่แยกบางพูน ปัจจุบันแนวเส้นทางมี
ปริมาณการจราจรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ใช้ทางไม่ได้รับความสะดวกในการเดินทาง ดังนั้นการศึกษาและออกแบบ
โครงการดังกล่าวจากทางหลวง 4 ช่องจราจร เป็นทางหลวง 8 ช่องจราจร จะช่วยให้การเดินทาง การท่องเที่ยว และ
การขนส่งสินค้า มีความสะดวกและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ซึ่งจากการตรวจสอบพื้นที่โครงการเบื้องต้นพบว่า แนว
เส้นทางของโครงการผ่านพื้นที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งโบราณสถาน(ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียน) ใน
ระยะ 1.0 กิโลเมตร ได้แก่ วัดบางคูวัดใน จึงเข้าข่ายต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ตาม
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการซึ่งต้อง
จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 48 แห่ง พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการศึกษา
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมข้างต้น ทั้งนี้ เพื่อให้
การพัฒนาโครงการก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งประชาชนที่อยู่บริเวณพื้นที่
โครงการน้อยที่สุด
เพื่อให้การสำรวจและออกแบบได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นในการศึกษาจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการศึกษา
ด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยกำหนดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพื่อลด
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน อันจะนำไปสู่การลดความขัดแย้งระหว่างประชาชนในพื้นที่/ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องกับหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการได้ ดังนั้นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องในการจัดกิจกรรม การมีส่วนร่วม
ของประชาชน จึงจัดได้ว่าเป็นภารกิจหนึ่งที่สำคัญที่ใช้เป็นกลไกในการขับเคลื่อนกระบวนการจัดทำโครงการ การ
รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลความคิดเห็นจากประชาชน จึงมีความจำเป็นต่อการเสนอแนะด้านการสำรวจและ
ออกแบบรายละเอียด และเพื่อใช้เป็นข้อมูลเสริมในการดำเนินงานและประกอบการตัดสินใจในโครงการต่อไป
กรมทางหลวงได้ว่าจ้าง “ที่ปรึกษา” เพื่อให้บริการในการสำรวจและออกแบบรายละเอียดตลอดจนจัดเตรียม
เอกสารข้อมูลประกอบการประกวดราคาและประเมินราคา รวมทั้งการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการ
ดำเนินการด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร
บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด มีระยะทางประมาณ 10.20 กิโลเมตร ดังแสดงที่ตั้ง
โครงการในรูปที่ 2-1 เพื่อให้การพัฒนาโครงการมีความสมบูรณ์ทางด้านวิศวกรรมสอดคล้องกับสภาพสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ และสังคม
1. ความเป็นมาของโครงการ
2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
[2] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รูปที่ 2-1 แผนที่ตั้งโครงการ
3.1 เพื่อนำเสนอข้อมูลข่าวสารโครงการ ประกอบด้วย ความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ของการศึกษา
พื้นที่ศึกษา แนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ แนวทางการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และผลการประชุมปฐมนิเทศ
โครงการ ให้กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ
3.2 เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ
และความก้าวหน้าผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
รับฟังข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานโครงการ
พื้นที่ในเขตศึกษาของโครงการจากแนวกึ่งกลางโครงการ 500 เมตร ได้แก่ พื้นที่ตำบลตำบลละหาร ตำบล
ลำโพ อำเภอบางบัวทอง ตำบลคลองข่อย อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และ ทม.บางคูวัด อำเภอเมืองปทุมธานี
จังหวัดปทุมธานี (รูปที่ 4-1 และตารางที่ 4-1 และ 4-2)
3. วัตถุประสงค์การจัดประชุม
4. พื้นที่เป้าหมาย
[3] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รูปที่ 4-1 พื้นที่เป้าหมายโครงการ
ตารางที่ 4-1 พื้นที่ชุมชนในพื้นที่ศึกษาของโครงการ
จังหวัด อำเภอ ตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน
นนทบุรี บางบัวทอง ละหาร องค์การบริหารส่วนตำบลละหาร หมู่ 4 บ้านเกาะดอน
ลำโพ องค์การบริหารส่วนตำบลลำโพ หมู่ 1 บ้านลากค้อนเหนือ
หมู่ 2 บ้านลำโพ
หมู่ 6 บ้านหัวคู้
ปากเกร็ด คลองข่อย องค์การบริหารส่วนตำบลคลองข่อย หมู่ 1 บ้านต้นตาล
หมู่ 2 บ้านคลองไทร
หมู่ 3บ้านคลองข่อย
หมู่ 4 บ้านคลองบางภูมิ
หมู่ 5 บ้านดงข่า
ปทุมธานี เมืองปทุมธานี บางคูวัด เทศบาลเมืองบางคูวัด หมู่ 1 บ้านปลายบัว
หมู่ 2 บ้านคลองโพธิ์
หมู่ 3 บ้านคุ้งวัด
หมู่ 8 บ้านไผ่ล้อม
หมู่ 11บ้านฝั่งกลาง
2 จังหวัด 3 อำเภอ 4 ตำบล 4 หน่วยงาน 14 หมู่บ้าน
ที่มา : แผนที่ทหาร 1: 50,000 และภาพถ่ายทางอากาศ, 2564
[4] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
ตารางที่ 4-2 พื้นที่อ่อนไหวในระยะ 500 เมตรหรือมากกว่า 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ
ลำดับ. พื้นที่อ่อนไหว ตำบล
ระยะห่างจาก
กึ่งกลางสายทาง
(เมตร)
ตำแหน่ง
กม.
บริเวณ
ด้านขวา/ซ้าย
ทางหลวง
ระยะ 500 เมตร
1 สถานศึกษา
โรงเรียนอนุบาลปาริชาต บางคูวัด 360.0 เมตร 7+550 ขวา
2. สถานที่ราชการ
เทศบาลเมืองบางคูวัด บางคูวัด 140.0 เมตร 7+770 ซ้าย
3. สถานพยาบาล
โรงพยาบาลปากเกร็ด 2 คลองข่อย 130 เมตร 4+680 ขวา
4. ชุมชน/หมู่บ้านจัดสรร
1. หมู่บ้านพฤกษ์ลดา กาญจนาฯ-ราชพฤกษ์ ตำบลละหาร 78.0 เมตร 0+290 ขวา
2. หมู่บ้านมิตรประชาพาเลส ตำบลละหาร 411 เมตร 0+700 ขวา
3. หมู่บ้านวิโรจน์วิลล์ 1 ตำบลละหาร 41.0 เมตร 1+000 ซ้าย
4. หมู่บ้านศุภาลัย พาร์ค วิลล์ ตำบลลำโพ 63.13 เมตร 2+070 ซ้าย
5. หมู่บ้านลภาวัน 23 ตำบลละหาร 55.0 เมตร 2+264 ซ้าย
6. หมู่บ้านสัมมากร อเวนิว ชัยพฤกษ์ - วง
แหวน 2
ตำบลลำโพ 458 เมตร 2+850 ขวา
7. หมู่บ้าน SPN สัมมากร ชัยพฤกษ์ -
วงแหวน 2
ตำบลลำโพ 362.0 เมตร 2+850 ขวา
8. หมู่บ้าน ฟ้าใหม่ ตำบลคลองข่อย 249.0 เมตร 3+630 ซ้าย
9. หมู่บ้านศิริพร ตำบลคลองข่อย 438.0 เมตร 3+070 ซ้าย
10. หมู่บ้านอาสาเฮาส์ ตำบลคลองข่อย 382.0 เมตร 3+630 ซ้าย
11. หมู่บ้านบุราสิริราชพฤกษ์ ตำบลคลองข่อย 165.0 เมตร 4+050 ขวา
12. หมู่บ้านเวียงศิริ ตำบลคลองข่อย 103 เมตร 4+920 ซ้าย
13. หมู่บ้าน เซนโทร ชัยพฤกษ์
แจ้งวัฒนะ 2
ตำบลคลองข่อย 380 เมตร 5+870 ขวา
14. หมู่บ้านสราญสิริ ชัยพฤกษ์
แจ้งวัฒนะ
ตำบลคลองข่อย 313 เมตร 6+630 ซ้าย
15. หมู่บ้านพฤกษ์ลดา ติวานนท์-ราชพฤกษ์ ตำบลคลองข่อย 360 เมตร 6+630 ขวา
[5] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
ตารางที่ 4-2 (ต่อ) พื้นที่อ่อนไหวในระยะ 500 เมตรหรือมากกว่า 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ
ลำดับ. พื้นที่อ่อนไหว ตำบล
ระยะห่างจาก
กึ่งกลางสายทาง
(เมตร)
ตำแหน่ง
กม.
บริเวณ
ด้านขวา/ซ้าย
ทางหลวง
ระยะ 500 เมตร
1 หมู่บ้านฮาบิเทีย (ปากทางเข้า) ตำบลบางคูวัด 194 เมตร 6+860 ซ้าย
2 หมู่บ้านปาริชาต ตำบลบางคูวัด 50.0 เมตร 7+750 ขวา
3 หมู่บ้าน ชัยพฤกษ์ ติวานนท์ วงแหวน 2 ตำบลบางคูวัด 46.0 เมตร 8+040 ซ้าย
4 หมู่บ้านภัสสร ตำบลบางคูวัด 162.0 เมตร 8+710 ซ้าย
5 หมู่บ้านชัยพฤกษ์ ตำบลบางคูวัด 40.0 เมตร 9+100 ซ้าย
6 หมู่บ้านมณีรินทร์ เลค พาร์ค ตำบลบางคูวัด 96.0 เมตร 9+230 ซ้าย
7 หมู่บ้านเซนโกร ชัยพฤกษ์ 345 ตำบลบางคูวัด 374.0 เมตร 10+200 ซ้าย
8. หมู่บ้านภัทรพาร์ค ตำบลบางคูวัด 497 เมตร 10+200 ซ้าย
9. หมู่บ้าน วราวิลล์ (ซอยเงินล้าน)) ตำบลบางคูวัด 445.0 เมตร 9+820 ซ้าย
10. หมู่บ้านชวนชื่นฟลอร่าวิลล์ ตำบลบางคูวัด 453.0 เมตร 10+200 ซ้าย
11. หมู่บ้านอาสาเฮาส์ ตำบลบางคูวัด 320.0 เมตร 10+000 ซ้าย
12. ชุมชนริมคลองบางคูวัด ตำบลบางคูวัด 35.0 เมตร 10+0 ขวา
13. ตลาดรุ่งเรือง ตำบลบางคูวัด 35.0 เมตร 7+770 ซ้าย
ระยะมากกว่า 500 เมตร
1 สถานศึกษา ขวา
โรงเรียนวิทยาทานอิสลาม ตำบลละหาร 752.0 เมตร 1+540
โรงเรียนประสานสามัคคีวิทยา ตำบลละหาร 752.0 เมตร 1+541 ขวา
โรงเรียนสารสาสน์วิเทศราชพฤกษ์ ตำบลคลองข่อย 514.0 เมตร 6.0+000 ซ้าย
โรงเรียนวัดบางคูวัด ตำบลบางคูวัด 854.0 เมตร 10+000 ขวา
2 สถานพยาบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางคูวัด ตำบลบางคูวัด 1.04 กม. 10+000 ขวา
3 แหล่งประวัติศาสตร์ และโบราณคดี
1. คลองลำรี ตำบลละหาร 700 1+000 ซ้าย-ขวา
2. คลองลากค้อน ตำบลละหาร 0 1+400 ซ้าย-ขวา
3. คลองลำโพธิ์ ตำบลลำโพ 0 2+820 ซ้าย-ขวา
4. วัดลำโพ ตำบลลำโพ 770 2+820 ซ้าย-ขวา
5. วัดบาลคูวัดใน ตำบลบางคูวัด 854 10+000 ขวา
[6] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
5.1. ช่วยให้การเดินทาง การท่องเที่ยว และการขนส่งสินค้า บนทางหลวงหมายเลข 345 มีความสะดวก รวดเร็วและ
ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
5.2 ช่วยให้ระบบโครงข่ายถนน ที่เชื่อมโยงกับทางหลวงหมายเลข 345 มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
6.1 ลักษณะของงานบริการ
ที่ปรึกษาจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในรายการข้อกำหนดเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
โดยต้องศึกษาข้อมูลต่างๆ และรายงานผลการศึกษาเดิมต่อกรมทางหลวง จากนั้นจึงรวบรวมและประมวลผลข้อมูล
พื้นฐานเพื่อนำเสนอหลักการออกแบบเบื้องต้น (Conceptual Design) เพื่อสรุปเป็นแนวทางและรูปแบบที่เหมาะสม
สำหรับการออกแบบรายละเอียด โดยขอบข่ายของงานมีดังนี้
1) ทบทวนการศึกษาที่ผ่านมา แผนพัฒนาจังหวัด และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลอุบัติเหตุ
รายกรณี ข้อร้องเรียน และข้อพิพาท ในรอบ 10 ปีล่าสุด (ถ้ามี) หรือตามที่กรมทางหลวงเห็นชอบ
2) ศึกษาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม และศึกษาพิจารณาคัดเลือกแนวทาง รูปแบบการขยายทางหลวง
และรูปแบบงานโครงสร้างที่เหมาะสม ให้สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์สภาพการจราจรและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมถึง
ข้อดี ข้อเสีย ตามความเหมาะสม และสำรวจออกแบบรายละเอียดทางด้านวิศวกรรม ให้เป็นไปตามข้อกำหนดและ
มาตรฐานกรมทางหลวง
3) สำรวจเก็บข้อมูลปริมาณจราจร และวิเคราะห์ปริมาณจราจรบนทางหลวง และทางแยกรวมถึงโครงข่าย
ที่เกี่ยวข้อง ทั้งปีปัจจุบันและอนาคต
4) สำรวจรายละเอียดภูมิประเทศ แนวทาง แนวระดับ สิ่งก่อสร้าง สาธารณูปโภค และรายละเอียดอื่นๆ ที่
จำเป็นต่อการออกแบบและการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน
5) สำรวจตรวจสอบดินและวัสดุ สำหรับการออกแบบโครงสร้างชั้นทาง และเป็นข้อมูลในการก่อสร้าง
ให้เหมาะสม ครอบคลุมลักษณะงานบริการ
6) ออกแบบรายละเอียดทางหลวง ทางแยก พร้อมด้วยส่วนประกอบต่างๆ โดยในการออกแบบจะต้อง
ดำเนินการให้เหมาะสม ครอบคลุมลักษณะงานบริการดังต่อไปนี้
ก) สำรวจและออกแบบรายละเอียดทางด้านเรขาคณิต งานทาง งานโครงสร้าง งานระบายน้ำ
งานระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจำเป็น งานจัดภูมิทัศน์ในบริเวณทางแยก และการจัดการจราจรในระหว่างการก่อสร้าง
ข) สำรวจและออกแบบรายละเอียดของแนวทาง รูปแบบการขยายทางหลวง และรูปแบบงาน
โครงสร้าง ให้เป็นไปตามข้อกำหนดและมาตรฐานกรมทางหลวง
ค) ดำเนินการออกแบบรายละเอียดทางหลวง ทางแยก พร้อมด้วยส่วนประกอบต่างๆ ซึ่งในการ
ออกแบบจะต้องดำเนินการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์การจราจร รูปแบบทันสมัย และมี
เอกลักษณ์เฉพาะพื้นที่
ง) ศึกษาวิเคราะห์โครงการด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย การประเมินค่าใช้จ่าย การประเมินผล
ประโยชน์ และการวิเคราะห์ความคุ้มค่าด้านเศรษฐกิจ
7) จัดทำแผนที่ระบบระบายน้ำตลอดทั้งทางหลวง และโครงข่ายถนนที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและรักษาระบบ
ระบายน้ำที่สมบูรณ์ต่อไป
8) ดำเนินการงานทางด้านสิ่งแวดล้อม
5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
6. ขอบเขตของงานบริการที่ปรึกษา
[7] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
9) ดำเนินการด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการให้
ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทราบ ตลอดการดำเนินโครงการ
10) สำรวจทรัพย์สินและข้อมูลเพื่อการเวนคืนขั้นเริ่มต้นที่ยังไม่มีพระราชกฤษฎีกาฯ (ถ้ามี) และ จัดทำแผน
ที่เขตทางหลวง บริเวณที่ต้องจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน (ถ้ามี)
11) จัดเตรียมข้อมูลและสื่อต่างๆ สำหรับนำเสนอโครงการฯ (Presentation) ที่สามารถนำเสนอด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์ ตามรายละเอียดที่กำหนด
12) จัดเตรียมเอกสารข้อมูลประกอบการประกวดราคา และประเมินราคาค่าก่อสร้าง
13) จัดการฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีตามที่ระบุไว้ในรายการข้อกำหนด
เป็นการทบทวนงานศึกษาความเหมาะสมฯ ที่มีอยู่เดิม (ถ้ามี) และสำรวจและออกแบบโครงการก่อสร้างทางหลวง 4
ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด โดยให้เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ
โครงข่ายทางหลวง และปริมาณการจราจรในอนาคต พร้อมระบบระบายน้ำ สาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้องและ
ส่วนประกอบอื่นๆ ที่จำเป็น เพื่อให้สามารถอำนวยความสะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยทางด้านการจราจรให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมทั้งให้คำนึงถึงความปลอดภัย ลดผลกระทบต่อชุมชน และสภาพแวดล้อมในแนวสายทางใน
การดำเนินงานสำรวจและออกแบบ ที่ปรึกษาได้แบ่งงานต่างๆ ออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
1) งานสำรวจและศึกษาและเสนอรูปแบบทางเลือกที่เหมาะสม
1.1) งานรวบรวมข้อมูล
1.2) งานสำรวจรังวัดภูมิประเทศ และระบบสาธารณูปโภค
1.3) งานสำรวจศึกษาและวิเคราะห์ปริมาณจราจร
1.4) งานศึกษาด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
1.5) งานประชาสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมของประชาชน
1.6) งานสำรวจชั้นดิน วัสดุ และวิเคราะห์สภาพดินฐานราก
1.7) งานออกแบบทางเลือกเบื้องต้น และรูปแบบการพัฒนาของโครงการ
1.8) พิจารณาคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาของโครงการที่เหมาะสมที่สุด
2) งานออกแบบรายละเอียด
2.1) ศึกษาและทบทวนข้อกำหนดในการออกแบบ
2.2) งานออกแบบรายละเอียดด้านเรขาคณิต
2.3) งานออกแบบรายละเอียดด้านโครงสร้างทางต่างระดับ
2.4) งานออกแบบโครงสร้างชั้นผิวทางและคันทาง
2.5) งานออกแบบระบบระบายน้ำ
2.6) งานออกแบบป้องกัน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
2.6) งานออกแบบป้ายและเครื่องหมายจราจร, ไฟสัญญาณ, ไฟฟ้าแสงสว่างและระบบ สาธารณูปโภค ฯลฯ
2.7) งานสำรวจแนวทางขั้นสุดท้ายและพื้นที่เวนคืน, งานจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน
2.8) งานคำนวณปริมาณก่อสร้างและการประมาณราคา
2.9) งานจัดเตรียมรายงานแบบแปลนและเอกสารต่างๆ
แผนภูมิลำดับการปฏิบัติงาน (Flow Chart) ได้แสดงในรูปที่ 7-1
7. แผนการปฏิบัติงาน
[8] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รูปที่ 7-1 แผนภูมิลำดับการปฏิบัติงาน (Flow Chart)
ทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด มีระยะทางประมาณ 10.20 กิโลเมตร แนวถนน
ตามทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก และอยู่ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีและปทุมธานี สภาพปัจจุบันของ พื้นที่โครงการบน
ภาพถ่ายทางอากาศ แสดงดังรูปที่ 8-1 พร้อมรูปถ่ายแสดงดังรูปที่ 8-2
รูปที่ 8-1 สภาพพื้นที่โครงการในปัจจุบัน
8. สภาพปัจจุบันพื้นที่โครงการ
[9] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รูปที่ 8-2 รูปถ่ายมุมสูงพื้นที่โครงการในปัจจุบัน
[10] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
9.1 งานสำรวจแนวทางและระดับ (Topography)
ที่ปรึกษาได้จัดทำ VDO ตลอดสายทาง โดยใช้การบินโดรน แสดงไว้ใน
https://www.youtube.com/watch?v=TJZvI5fAYdM&t=850s
9.2 งานสำรวจและวิเคราะห์ด้านการจราจร
ที่ปรึกษาจะทำการสำรวจข้อมูลด้านการจราจรบนโครงข่ายทางหลวงโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความ
เข้าใจสภาพการจราจรและโครงข่ายคมนาคมบริเวณพื้นที่ศึกษาในปัจจุบัน ศึกษาปริมาณความต้องการการเดินทาง
พฤติกรรมการเดินทางของพื้นที่ศึกษาโครงการ รวมทั้งการนำข้อมูลจากการสำรวจมาใช้ในการจัดทำแบบจำลองด้าน
การจราจรและขนส่ง โดยที่ปรึกษาได้ทำการสำรวจข้อมูลด้านการจราจรบริเวณพื้นที่ศึกษา ในโครงการสำรวจและ
ออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วง แยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด ดังนี้
1. การสำรวจจุดต้นทาง – ปลายทางของการเดินทาง (Origin-Destination Survey)
ข้อมูลจุดต้นทางและปลายทางของการเดินทาง มีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาแบบจำลอง
ด้านการจราจรและขนส่ง ที่ปรึกษาจะใช้วิธีการสำรวจข้อมูลที่มีความเหมาะสมต่อปริมาณการเดินทางและสภาพพื้นที่
เช่น การสัมภาษณ์ริมถนน (Roadside Interview) สถานีบริการน้ำมัน หรือการสัมภาษณ์บริเวณทางแยกสัญญาณไฟ
ของโครงการ เพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรมการเดินทางภายในพื้นที่ศึกษาของโครงการโดยจะทำการสำรวจให้ครอบคลุม
ทั้งการเดินทางด้วยรูปแบบยานพาหนะส่วนบุคคลและรถขนส่งสินค้าทำการสำรวจ จำนวน 2 จุด บริเวณพื้นที่โดยรอบ
โครงการ โดยจะทำการสัมภาษณ์เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07:00 น. ถึง 19:00 น. โดยที่ปรึกษาจะทำการ
สำรวจในช่วงวันต้นสัปดาห์ และวันกลางสัปดาห์ เป็นเวลา 2 วัน ในพื้นที่ทำการศึกษา โดยดำเนินการสำรวจในวันที่
จันทร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2565 และวันอังคารที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการเสร็จแล้ว
2. การสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts)
ที่ปรึกษาจะทำการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนโดยแยกประเภทยานพาหนะและทิศทางการ
เดินทาง โดยวัตถุประสงค์ของการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนคือ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับแก้แบบจำลอง
จราจรและขนส่งให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ตำแหน่งที่จะดำเนินการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนมีทั้งสิ้น 2 จุด บริเวณ
พื้นที่โดยรอบโครงการ จะทำการแจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที โดยจะดำเนินการสำรวจช่วงเวลาตลอด
ระยะเวลา24 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 06:00 น. ถึง 06:00 น. ของวันรุ่งขึ้น โดยจะทำการสำรวจจำนวน 3 วันในช่วงต้น
สัปดาห์ กลางสัปดาห์ และวันหยุด ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ โดยจะทำการจำแนกประเภทของยานพาหนะ
ที่ทำการสำรวจออกเป็น 12 ประเภท และในการแปลงจำนวนยานพาหนะแต่ละประเภทให้เป็นหน่วยรถยนต์นั่งส่วน
บุคคล(passenger car unit – PCU) จะใช้ค่าตัวคูณ (factor) สำหรับยานพาหนะแต่ละประเภท โดยดำเนินการ
สำรวจด้วยวิธีการติดตั้งกล้องสำรวจ และทำการสำรวจในวันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2565 วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม
พ.ศ.2565 และวันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการเสร็จแล้ว
9. การศึกษาด้านวิศวกรรม
[11] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
3. การสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (Traffic Movement Counts)
การสำรวจปริมาณการจราจรบนทางแยกจะทำให้ทราบถึงสัดส่วนการเดินทางในทิศทางต่างๆ ที่
เกิดขึ้นณ ทางแยกนั้นๆ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการจัดการจราจรบริเวณทางแยก สำหรับการ
สำรวจนี้ที่ปรึกษาจะทำการนับปริมาณจราจรโดยแยกทิศทางของรถที่วิ่งผ่านในแต่ละทิศทาง (Approach) ของทาง
แยก โดยการแจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที เป็นเวลา 14 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07:00 น. ถึง 21:00 น. ซึ่งตำแหน่ง
ของการสำรวจมีทั้งสิ้น 3 จุด โดยจะทำการสำรวจ 3 วันในช่วงต้นสัปดาห์ กลางสัปดาห์ และวันหยุด ตามความ
เหมาะสมของแต่ละพื้นที่ ทั้งนี้ ในการสำรวจข้อมูลปริมาณจราจรที่ปรึกษาจะทำการนับรถให้ครอบคลุมลักษณะการ
ผ่านทางแยกในทิศทางต่างๆ ตามลักษณะทางแยก พร้อมทั้งแยกประเภทยานพาหนะออกเป็น 12 ประเภท
เช่นเดียวกับการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน โดยดำเนินการสำรวจด้วยวิธีการติดตั้งกล้องสำรวจ และทำการ
สำรวจในวันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2565 วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2565 และวันเสาร์ที่ 12 มีนาคมพ.ศ.2565
ปัจจุบันได้ดำเนินการแล้วเสร็จ
4. การสำรวจข้อมูลปริมาณจราจรบริเวณจุดกลับรถ (U-Turn)
ที่ปรึกษาได้ทำการนับปริมาณจราจรบริเวณจุดกลับรถต่างๆ ในแนวเส้นทางโครงการ โดยการแจง
นับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที เป็นเวลา 14 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07:00 น. ถึง 21:00 น. ซึ่งตำแหน่งของการสำรวจจะ
ดำเนินการสำรวจรวม 6 จุด บนแนวเส้นทางโครงการ โดยจะทำการสำรวจในวันเดียวกันกับการสำรวจปริมาณจราจร
บนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) ทั้งนี้ ผลจากการสำรวจภาคสนามที่ปรึกษาได้นำผลการสำรวจมา
ปรับแก้ปริมาณจราจรที่ได้ทำการสำรวจโดยอาศัยข้อมูลค่าปรับแก้รายวัน รายอาทิตย์ รายเดือนและรายปี ของสำนัก
อำนวยความปลอดภัยกรมทางหลวง ซึ่งจะได้พิจารณาค่าปรับแก้ให้มีความเหมาะสมกับแนวเส้นทาง โครงการ
โดยเฉพาะสายทางที่ผ่านไปยังแหล่งท่องเที่ยว แหล่งอุตสาหกรรม ฯลฯ หรือพื้นที่ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
การจราจรค่อนข้างมากตลอดจนข้อมูลการจราจรบนสายทางที่มีอยู่บนสายทาง ใกล้เคียงประกอบด้วย สำหรับในส่วน
ของการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการจราจรบนถนนโครงการในปีปัจจุบัน ที่ปรึกษาได้ทำการวิเคราะห์ปริมาณจราจรโดยจะ
ทำการวิเคราะห์ทั้งในหน่วยคันและหน่วยเทียบเท่ารถยนต์นั่งส่วนบุคคล (Passenger Car Unit: PCU) ซึ่งการ
วิเคราะห์สภาพการจราจรในปีปัจจุบันโดยดำเนินการสำรวจด้วยวิธีการติดตั้งกล้องสำรวจ และทำการสำรวจในวัน
อาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2565 วัน และวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการแล้วเสร็จ
5. การสำรวจความเร็วในการเดินทาง (Travel Speed Survey)
การสำรวจความเร็วในการเดินทาง (Travel Speed Survey) ที่ปรึกษาจะใช้เครื่องมือ GPS ร่วมกับ
การใช้รถทดลองโดยทำการขับขี่ไปตามกระแสจราจรพร้อมกับบันทึกเวลา ความล่าช้า เวลาที่หยุด ระยะทางที่
จุดเริ่มต้นและจุดต่างๆ หรือทางแยกที่สำคัญตามเส้นทางที่กำหนดจนถึงจุดสิ้นสุดของเส้นทาง ซึ่งข้อมูลที่ได้จะนำมา
คำนวณหาความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง โดยทำการสำรวจในวันทำงาน (จันทร์ - ศุกร์) จำนวน 1 วัน และในวันหยุด
จำนวน 1 วัน ในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า 07:00 น. ถึง 10:00 น. ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน 11:00 น. ถึง 15:00 น. และ
ช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น 16:00 น. ถึง 19:00 น. ทำการสำรวจในวันอาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2565 และวันจันทร์ที่ 14
มีนาคม พ.ศ.2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการแล้วเสร็จ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวจะถูกนำมาใช้ในการปรับปรุง Speed Flow
[12] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
Curve ในแบบจำลองแจกแจงการเดินทาง (Traffic Assignment) แบบจำลองการเดินทาง เพื่อให้ได้ความเร็วเฉลี่ย
ของกระแสจราจรที่ใกล้เคียงกับสภาพปัจจุบันมากที่สุด
6. การสำรวจโครงข่าย
การสำรวจนี้จะเป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโครงข่ายถนนต่างๆ ในปัจจุบัน ที่ได้
รวบรวมมาจากแหล่งต่างๆ ดังกล่าวในเรื่องลักษณะทางกายภาพของถนน เช่น จำนวนช่องจราจร ความยาว ผิวจราจร
เป็นต้น ทั้งนี้ ที่ปรึกษาได้แสดงจุดสำรวจปริมาณจราจรในเบื้องต้นตามรูปที่ 9-1 และรูปที่ 9-2 โดยรายละเอียดแสดง
ดังตารางที่ 9-1
9.3 แนวคิดและรูปแบบการพัฒนา
ทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด การศึกษาและออกแบบโครงการนี้จาก
ทางหลวง 4 ช่องจราจร เป็นทางหลวง 8 ช่องจราจร ปัจจุบันทางหลวงนี้ มีเขตทางกว้าง 70 เมตร
1. การจัดทิศทางจราจร
1) ช่องทาง ถนนด้านข้าง (Frontage Road)
ให้จราจรเดินในทางเดียว และมีทางเข้า-ออก สู่ ถนนหลักในจุดที่ต้องการ
2) U-Turn จุดกลับรถ
จะมีการ U-Turn ใต้บริเวณสะพาน และจะปรับปรุงให้มีสภาพที่ดีขึ้น
2. แนวคิดในการออกแบบรูปตัดถนน ขึ้นกับข้อมูลทางด้านการจราจร ได้แก่
- สำรวจปริมาณจราจร
- คาดการณ์ปริมาณจราจรในปีอนาคต
- วิเคราะห์ระดับการให้บริการ
- ผลกระทบต่อการการเดินทางของประชาชน
3. แนวคิดการพัฒนาถนนโครงการ
ปัจจุบัน ถนนเดิม เป็นถนน 4 ช่องจราจร (ไป 2 ช่องจราจร – กลับ 2 ช่องจราจร) โดยวิเคราะห์
คาดการณ์ปริมาณจราจรในปีอนาคต เป็นขั้นตอน ดังนี้ (รูปที่ 9-3 , 9-4 และ 9-5)
1) คงถนนหลัก 4 ช่องจราจร และเพิ่ม ทางด้านข้าง (Frontage Road) ข้างละ 2 ช่องจราจร
2) ถนนหลักเป็น 6 ช่องจราจร และทางด้านข้าง (Frontage Road) ข้างละ 2 ช่องจราจร
3) ถนนหลักเป็น 8 ช่องจราจร และทางด้านข้าง (Frontage Road) ข้างละ 2 ช่องจราจร
ออกแบบเต็มเขตทาง (Ultimate Stage)
[13] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
ตารางที
่
9-1
รายละเอี
ย
ดการสำรวจข้
อ
มู
ล
ด้
า
นจราจร
[14] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-1
ตำแหน่
ง
จุ
ด
สำรวจปริ
ม
าณจราจรของโครงการ
[15] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-2
ต
ำแหน่
ง
จุ
ด
ส
ำรวจปริ
ม
ำณจรำจร
ณ
จุ
ด
กลั
บ
รถบนถนน
โครงกำร
[16] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-3
คงถนนหลั
ก
4
ช่
อ
งจรำจร
และเพิ
่
ม
ทำงด้
ำ
นข้
ำ
ง
(Frontage
Road)
ข้
ำ
งละ
2
ช่
อ
ง
จรำจร
[17] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-4
ถนนหลั
ก
เป็
น
6
ช่
อ
งจรำจร
และทำงด้
ำ
นข้
ำ
ง
(Frontage
Road)
ข้
ำ
งละ
2
ช่
อ
งจรำจร
ละ
2
ช่
อ
งจรำจร
[18] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-5
ถนนหลั
ก
เป็
น
8
ช่
อ
งจรำจร
และทำงด้
ำ
นข้
ำ
ง
(Frontage
Road)
ข้
ำ
งละ
2
ช่
อ
งจรำจร
ออกแบบเต็
ม
เขตทำง
(Ultimate
Stage)
[19] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
4. รูปแบบการคัดเลือก รูปตัดบริเวณสะพาน
ปัจจุบันถนน345 มีสะพานทั้งหมด 6 จุด ดังนี้
- กม.1+662 สะพานคลองลากฆ้อน
- กม.3+011 สะพานคลองลำโพธิ์
- กม.5+577 สะพานคลองพระอุดม
- กม.7+078 สะพานคลองบางตะไนย์
- กม.7+990 สะพานคลองเกาะเกรียง
- กม.9+806 สะพานคลองบางคูวัด
ในการออกแบบในอนาคต มีแนวทางในการออกแบบ 3 รูปแบบ ดังนี้ (รูปที่ 9-6 , 9-7 และ 9-8)
- รูปแบบที่ 1 คงสะพานเดิม และ ก่อสร้างสะพานใหม่ด้านข้าง
- รูปแบบที่ 2 รื้อสะพานเดิม ก่อสร้างสะพานใหม่ 2 สะพาน แยกจากกัน
- รูปแบบที่ 3 รื้อสะพานเดิม ก่อสร้างสะพานใหม่ 2 สะพาน ติดกัน
ในแต่ละรูปแบบ มีข้อดี ข้อเสีย ที่แตกต่างกันไป สรุปได้ดังนี้
รูปแบบสะพาน ข้อดี ข้อเสีย
รูปแบบที่ 1 คงสะพาน
เดิม และก่อสร้างสะพาน
ใหม่ด้านข้าง
1. ไม่รื้อสะพานเดิม ค่าก่อสร้าง
น้อย
1. รองรับปริมาณจราจรได้น้อย
2. ผู้อยู่อาศัยสองข้างทางบางส่วน ไม่ได้
รับความสะดวกในการเดินทาง
3. ที่กลับรถใต้สะพาน รถใหญ่ไม่สามารถ
ใช้ได้ เพราะจำกัดด้วยความสูงของ
สะพานเดิม
4. สะพานเดิมมีสภาพเก่า ในอนาคต
จะต้องมีการซ่อมบำรุงหรือการ
ก่อสร้างสะพานใหม่ทดแทนสะพาน
เดิม ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด
ระหว่างการซ่อมบำรุงหรือการ
ก่อสร้างได้
รูปแบบที่ 2 รื้อสะพานเดิม
และก่อสร้างสะพานใหม่ 2
สะพาน แยกจากกัน
1. รองรับปริมาณจราจรได้มาก
2. ผู้อยู่อาศัยสองข้างทาง ได้รับ
ผลกระทบของการเดินทางน้อย
3. ที่กลับรถใต้สะพาน รถใหญ่
สามารถใช้ได้
1. ค่าก่อสร้างสูง
[20] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รูปแบบที่ 3 รื้อสะพานเดิม
และก่อสร้างสะพานใหม่ 2
สะพาน ติดกัน
1. รองรับปริมาณจราจรได้มาก
2. ที่กลับรถใต้สะพาน รถใหญ่
สามารถใช้ได้
1.ค่าก่อสร้างสูง
2.ผู้อยู่อาศัยสองข้างทางบางส่วน ไม่ได้
รับความสะดวกในการเดินทาง
ปัจจัยในการคัดเลือกรูปตัดบริเวณสะพานเบื้องต้น มีดังนี้
1) ด้านวิศวกรรมและจราจร (40 คะแนน) เช่น
ความเหมาะสมต่อการเดินทาง
ความยากง่ายในการก่อสร้าง
ระยะเวลาในการก่อสร้าง
2) ด้านเศรษฐกิจและการลงทุน (30 คะแนน) เช่น
ค่าก่อสร้าง
ค่าบำรุงรักษา
3. ด้านสิ่งแวดล้อม (30 คะแนน) เช่น
ระบบสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า,ประปา)
อุบัติเหตุและความปลอดภัย (คมนาคม-การเดินทาง)
สุนทรียภาพ (ความสูงของสะพาน, ความยาวสะพาน)
[21] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-6
รู
ป
แบบที
่
1
คงสะพำนเดิ
ม
ก่
อ
สร้
ำ
งสะพำนใหม่
เ
พิ
่
ม
ด้
ำ
นข้
ำ
ง
[22] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-7
รู
ป
แบบที
่
2
รื
้
อ
สะพำนเดิ
ม
ก่
อ
สร้
ำ
งสะพำนใหม่
2
สะพำน
แยก
จำกกั
น
[23] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รู
ป
ที
่
9-8
รู
ป
แบบที
่
3
รื
้
อ
สะพำนเดิ
ม
ก่
อ
สร้
ำ
งสะพำนใหม่
2
สะพำน
ติ
ด
กั
น
กั
น
[24] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมในครั้งนี้ แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนที่ 1 ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น
(Initial Environmental Examination : IEE) และส่วนที่ 2 การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นรายละเอียด
(Environmental Impact Assessment : EIA) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบรายละเอียดของโครงการ เพื่อให้มี
ผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม น้อยที่สุดและส่งเสริมด้านผลกระทบด้านบวกต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ
สังคมให้เพิ่มพูนขึ้น แสดงดังรูปที่ 10-1 ซึ่งประกอบด้วย
1. การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมของพื้นที่โครงการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. การคัดเลือกรูปแบบ/แนวทางเลือกที่เหมาะสม
3. การศึกษาสถานภาพทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
4. การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Involvement)
5. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
6. มาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้น
การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม
จากการตรวจสอบสภาพพื้นที่และปัจจัยสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ในรัศมี 500 เมตร จากกึ่งกลางถนนทางหลวง
หมายเลข 345 มีสถานที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน วัด โรงเรียน มัสยิด ในพื้นที่ศึกษาโครงการ พบว่า การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ส่วนใหญ่ ริมแนวทางสายทางเป็นย่านการค้า อาคารพาณิชย์ ปั้มน้ำมัน หมู่บ้านจัดสรร และสถานที่ราชการ รองลงมา
เป็นพื้นที่ว่างรอการพัฒนา พื้นที่เกษตรกรรม ริมแนวคลองลากฆ้อน คลองลำโพ คลองพระอุดม คลองบางตะไนย์ และ
คลองบางคูวัด ส่วนพื้นที่อ่อนไหวได้แก่ โรงเรียน อนุบาลปาริชาต โรงเรียนวัดบางคูวัด และจากการตรวจสอบเบื้องต้น
พบแหล่งโบราณสถาน ได้แก่ วัดบางคูวัดใน ในระยะ 1.0 กิโลเมตร ทั้งนี้ ที่ปรึกษาจะดำเนินการตรวจสอบกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านโบราณสถานต่อไป ดังแสดงในรูปที่ 10-2
การตรวจสอบข้อจำกัดจากประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดโครงการ
กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2562 ซึ่งต้องจัดทำรายงาน
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ลำดับที่ 20 และ 33) ดังแสดงในตารางที่ 10-1
10. การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม
[25] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รูปที่ 10-1 ปัจจัยที่ใช้ในการศึกษาสิ่งแวดล้อม
รูปที่ 10-2 การตรวจสอบข้อจำกัดสิ่งแวดล้อมในระยะ 500 เมตร
[26] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
ตารางที่ 10-1 การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมกับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ
* ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผล
กระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมลงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2562 ซึ่ง
ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ลำดับที่ 20,33
ลำดับ ประเภทโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ* องค์ประกอบโครงการ
20. ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง ที่ตัดผ่านพื้นที่ดังต่อไปนี้
20.1 พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมาย
ว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและ
ห้ามล่าสัตว์ฯ
20.2 พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยาน
แห่งชาติ
โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ
ตามกฎหมายฯ
20.3 พื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกำหนดให้เป็นพื้นที่ชั้น
คุณภาพลุ่มน้ำชั้นที่ 2
โครงการฯ อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้นที 5
ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้นที่ 2
20.4 พื้นที่เขตป่าชายเลนในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในเขตป่าชายเลน
20.5 พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตรห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้น
สูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ
โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในระยะ 50 เมตรของพื้นที่
ชายฝั่งทะเล และไม่มีชายฝั่งทะเล
20.6 พื้นที่ที่อยู่ในพื้นที่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่าง
ประเทศ หรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตาม
อนุสัญญาระหว่างประเทศในระยะทาง 2 กิโลเมตร
โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในอยู่ในพื้นที่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำ
ที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ แต่อยู่ใกล้
พื้นที่ชุ่มน้ำระดับชาติ คือ แม่น้ำเจ้าพระยา
20.7 พื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่ง
ประวัติศาสตร์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่า
ด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถาน
แห่งชาติในระยะทาง 1 กิโลเมตร ยกเว้นถนนผังเมือง ตามที่
กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง
โครงการฯ อยู่ห่างจากแหล่งโบราณสถาน
ในระยะ 1.0 กิโลเมตร (วัดบางคูวัดใน)
33 โครงการทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ
เห็นชอบกําหนดให้เป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้น 1
โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้น 1 แต่
อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้น 5
[27] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
11.1 แผนการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน
การดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน คือกระบวนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ
ให้ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่โครงการได้รับทราบข้อมูล โครงการให้ความสำคัญ โดยยึดหลักการ
ดำเนินงานเพื่อให้เกิดการสื่อสารและกระบวนการมีส่วนร่วมตลอดระยะเวลาศึกษาโครงการ โดยให้ทุกภาคส่วนที่
เกี่ยวข้องได้มีโอกาสร่วมรับทราบข้อมูลรายละเอียดโครงการและร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล ประกอบด้วย 3 แผนหลัก
ได้แก่ แผนการเข้าพบเพื่อปรึกษาหารือ แผนการให้ข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์โครงการ และแผนการรับฟัง
ความคิดเห็นของประชาชนดังแสดงในรูปที่ 11-1 (การสัมมนาฯ 3 ครั้ง และการประชุมย่อย 2 ครั้ง) พอสรุปได้ดังนี้
แผน 1) การเข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เป็นการสัมภาษณ์ในรูปแบบที่ไม่เป็น
ทางการโดยเข้าพบหน่วยงานราชการระดับจังหวัด ระดับอำเภอ และระดับท้องถิ่นเพื่อชี้แจงข้อมูลรายละเอียด
เบื้องต้นให้แก่หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้าหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น และผู้นำประชาชนในพื้นที่ เพื่อสำรวจ
สภาพพื้นที่เพื่อกำหนดพื้นที่ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลข้อจำกัดของการใช้พื้นที่ โดยจะดำเนินการ
ในช่วงเริ่มต้นโครงการก่อนที่จะมีการประชุมปฐมนิเทศโครงการทั้งนี้การหารือสามารถดำเนินการได้ตลอดระยะเวลา
ศึกษาโครงการ เพื่อทีมงานโครงการจะได้รับฟังข้อมูลและการปรับเปลี่ยนการดำเนินงานให้สอดคล้องและเหมาะสม
กับประชาชนและพื้นที่ต่อไป
แผน 2) การให้ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโครงการและ
ความก้าวหน้าของการศึกษาโครงการให้กลุ่มเป้าหมายและสาธารณชนทั่วไปที่สนใจโครงการได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร
ตลอดระยะเวลาการศึกษาโครงการ โดยวิธีเผยแพร่ข้อมูล ประกอบด้วย การนำเสนอข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของ
โครงการ การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ทั้งข่าวประชาสัมพันธ์โครงการ เป็นต้น
แผน 3) แผนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
(1) การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 1) เพื่อนำเสนอความเป็นมา วัตถุประสงค์
ขอบเขตการศึกษา พื้นที่ศึกษาโครงการ ได้ดำเนินการไปแล้วเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2565
(2) การประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น
(กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) เพื่อนำเสนอความเป็นมา วัตถุประสงค์ ผลการประชุมปฐมนิเทศ แนวทางเลือกพัฒนาโครงการ
และแนวทางการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(3) การประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 2) เพื่อนำเสนอ
การศึกษาด้านจราจร การคัดเลือกรูปแบบทางหลวง การมีส่วนร่วมของประชาชน
(4) การประชุมหารือมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 2) นำเสนอออกแบบ
รายละเอียด รูปแบบทางหลวง ของโครงการที่เหมาะสม และผลการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(5) การประชุมสรุปผลการศึกษาโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 3) เพื่อนำเสนองานออกแบบด้าน
วิศวกรรม งานออกแบบเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นทั้งหมดที่ผ่านมา
11. การมีส่วนร่วมของประชาชน
[28] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565
เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1)
โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345
ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด
รูปที่ 11-1 ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็น
11.2 การลงพื้นที่เพื่อหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในช่วงที่ผ่านมา
หน่วยงานที่เข้าหารือ ข้อคิดเห็น
นายคำรณ บางจริง นายก อบต.คลองข่อย และ
นายวิชัย เกิดน้อย รองนายก อบต.คลองข่อย
1. ขอให้พิจารณาตำแหน่งกลับรถขนาดใหญ่ เช่น รถบรรทุก ให้
มีความเหมาะสม เพราะปัจจุบันต้องไปกลับที่ถนนราชพฤกษ์
2. จุดกลับรถที่ใต้สะพานข้ามคลองพระอุดม ปัจจุบันค่อนข้าง
แคบ และมีความสูงไม่มากนัก ในอนาคตอยากให้มีการปรับปรุง
แก้ไขจุดกลับรถดังกล่าว
นายก อบต.ลำโพ และ นายสมศักดิ์ โขงรัมย์ ปลัด
อบต.ลำโพ
1. การวางระบบระบายน้ำของถนน 345 อยากให้มีประตูปิด-
เปิด เพื่อป้องกันน้ำท่วมย้อนเข้าเส้นท่อ และขอให้มีจุดที่ระบบ
ระบายน้ำของกรมทางหลวงเชื่อมโยงกับระบบรวบรวมน้ำเสีย
ของ อบต.ลำโพ
2. ระบบไฟฟ้า แสงสว่าง บริเวณจุดกลับรถใต้สะพาน ขอให้มี
อย่างเพียงพอ
3. ขอให้มีสะพานลอยคนข้าม ในจุดที่เหมาะสม ถ้าเป็นไปได้
ควรอยู่ในเขตทางเพื่อป้องกันปัญหากับชาวบ้าน
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย

More Related Content

More from Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA

More from Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA (20)

Clean Technology
Clean TechnologyClean Technology
Clean Technology
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
งานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิตงานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิต
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
 
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลังการครวจสอบสินค้าคงคลัง
การครวจสอบสินค้าคงคลัง
 
Circular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero WasteCircular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero Waste
 
TCAC2022
TCAC2022TCAC2022
TCAC2022
 
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORTTHAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
 
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchPathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
 
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
 
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
 
Enabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the ClimateEnabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the Climate
 
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable BusinessKBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
 
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable BusinessONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
 
GC-Low Carbon and Sustainable Business
GC-Low Carbon and Sustainable BusinessGC-Low Carbon and Sustainable Business
GC-Low Carbon and Sustainable Business
 
DOW-Low Carbon and Sustainable Business
DOW-Low Carbon and Sustainable BusinessDOW-Low Carbon and Sustainable Business
DOW-Low Carbon and Sustainable Business
 
SCB-Low Carbon and Sustainable Business
SCB-Low Carbon and Sustainable BusinessSCB-Low Carbon and Sustainable Business
SCB-Low Carbon and Sustainable Business
 
TGO - Low Carbon and Sustainable Business
TGO - Low Carbon and Sustainable BusinessTGO - Low Carbon and Sustainable Business
TGO - Low Carbon and Sustainable Business
 
FTIPC-Low Carbon and Sustainable Business
FTIPC-Low Carbon and Sustainable BusinessFTIPC-Low Carbon and Sustainable Business
FTIPC-Low Carbon and Sustainable Business
 
TBA-Low Carbon and Sustainable Business
TBA-Low Carbon and Sustainable BusinessTBA-Low Carbon and Sustainable Business
TBA-Low Carbon and Sustainable Business
 

เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย

  • 1. [1] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด ทางหลวงหมายเลข 345 สายบางบัวทอง บางพูน เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรีเชื่อมต่อกับจังหวัด ปทุมธานี เริ่มต้นที่ทางแยกต่างระดับบางบัวทอง และสิ้นสุดที่ถนนรังสิต-ปทุมธานีที่แยกบางพูน ปัจจุบันแนวเส้นทางมี ปริมาณการจราจรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ใช้ทางไม่ได้รับความสะดวกในการเดินทาง ดังนั้นการศึกษาและออกแบบ โครงการดังกล่าวจากทางหลวง 4 ช่องจราจร เป็นทางหลวง 8 ช่องจราจร จะช่วยให้การเดินทาง การท่องเที่ยว และ การขนส่งสินค้า มีความสะดวกและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ซึ่งจากการตรวจสอบพื้นที่โครงการเบื้องต้นพบว่า แนว เส้นทางของโครงการผ่านพื้นที่อ่อนไหวทางด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งโบราณสถาน(ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียน) ใน ระยะ 1.0 กิโลเมตร ได้แก่ วัดบางคูวัดใน จึงเข้าข่ายต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ตาม ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการซึ่งต้อง จัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรา 48 แห่ง พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมข้างต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ การพัฒนาโครงการก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งประชาชนที่อยู่บริเวณพื้นที่ โครงการน้อยที่สุด เพื่อให้การสำรวจและออกแบบได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นในการศึกษาจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยกำหนดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพื่อลด ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน อันจะนำไปสู่การลดความขัดแย้งระหว่างประชาชนในพื้นที่/ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องกับหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการได้ ดังนั้นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องในการจัดกิจกรรม การมีส่วนร่วม ของประชาชน จึงจัดได้ว่าเป็นภารกิจหนึ่งที่สำคัญที่ใช้เป็นกลไกในการขับเคลื่อนกระบวนการจัดทำโครงการ การ รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลความคิดเห็นจากประชาชน จึงมีความจำเป็นต่อการเสนอแนะด้านการสำรวจและ ออกแบบรายละเอียด และเพื่อใช้เป็นข้อมูลเสริมในการดำเนินงานและประกอบการตัดสินใจในโครงการต่อไป กรมทางหลวงได้ว่าจ้าง “ที่ปรึกษา” เพื่อให้บริการในการสำรวจและออกแบบรายละเอียดตลอดจนจัดเตรียม เอกสารข้อมูลประกอบการประกวดราคาและประเมินราคา รวมทั้งการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการ ดำเนินการด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด มีระยะทางประมาณ 10.20 กิโลเมตร ดังแสดงที่ตั้ง โครงการในรูปที่ 2-1 เพื่อให้การพัฒนาโครงการมีความสมบูรณ์ทางด้านวิศวกรรมสอดคล้องกับสภาพสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม 1. ความเป็นมาของโครงการ 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
  • 2. [2] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รูปที่ 2-1 แผนที่ตั้งโครงการ 3.1 เพื่อนำเสนอข้อมูลข่าวสารโครงการ ประกอบด้วย ความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ของการศึกษา พื้นที่ศึกษา แนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ แนวทางการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และผลการประชุมปฐมนิเทศ โครงการ ให้กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ 3.2 เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ และความก้าวหน้าผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ รับฟังข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางเลือกการพัฒนาโครงการ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานโครงการ พื้นที่ในเขตศึกษาของโครงการจากแนวกึ่งกลางโครงการ 500 เมตร ได้แก่ พื้นที่ตำบลตำบลละหาร ตำบล ลำโพ อำเภอบางบัวทอง ตำบลคลองข่อย อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และ ทม.บางคูวัด อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี (รูปที่ 4-1 และตารางที่ 4-1 และ 4-2) 3. วัตถุประสงค์การจัดประชุม 4. พื้นที่เป้าหมาย
  • 3. [3] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รูปที่ 4-1 พื้นที่เป้าหมายโครงการ ตารางที่ 4-1 พื้นที่ชุมชนในพื้นที่ศึกษาของโครงการ จังหวัด อำเภอ ตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน นนทบุรี บางบัวทอง ละหาร องค์การบริหารส่วนตำบลละหาร หมู่ 4 บ้านเกาะดอน ลำโพ องค์การบริหารส่วนตำบลลำโพ หมู่ 1 บ้านลากค้อนเหนือ หมู่ 2 บ้านลำโพ หมู่ 6 บ้านหัวคู้ ปากเกร็ด คลองข่อย องค์การบริหารส่วนตำบลคลองข่อย หมู่ 1 บ้านต้นตาล หมู่ 2 บ้านคลองไทร หมู่ 3บ้านคลองข่อย หมู่ 4 บ้านคลองบางภูมิ หมู่ 5 บ้านดงข่า ปทุมธานี เมืองปทุมธานี บางคูวัด เทศบาลเมืองบางคูวัด หมู่ 1 บ้านปลายบัว หมู่ 2 บ้านคลองโพธิ์ หมู่ 3 บ้านคุ้งวัด หมู่ 8 บ้านไผ่ล้อม หมู่ 11บ้านฝั่งกลาง 2 จังหวัด 3 อำเภอ 4 ตำบล 4 หน่วยงาน 14 หมู่บ้าน ที่มา : แผนที่ทหาร 1: 50,000 และภาพถ่ายทางอากาศ, 2564
  • 4. [4] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด ตารางที่ 4-2 พื้นที่อ่อนไหวในระยะ 500 เมตรหรือมากกว่า 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ลำดับ. พื้นที่อ่อนไหว ตำบล ระยะห่างจาก กึ่งกลางสายทาง (เมตร) ตำแหน่ง กม. บริเวณ ด้านขวา/ซ้าย ทางหลวง ระยะ 500 เมตร 1 สถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลปาริชาต บางคูวัด 360.0 เมตร 7+550 ขวา 2. สถานที่ราชการ เทศบาลเมืองบางคูวัด บางคูวัด 140.0 เมตร 7+770 ซ้าย 3. สถานพยาบาล โรงพยาบาลปากเกร็ด 2 คลองข่อย 130 เมตร 4+680 ขวา 4. ชุมชน/หมู่บ้านจัดสรร 1. หมู่บ้านพฤกษ์ลดา กาญจนาฯ-ราชพฤกษ์ ตำบลละหาร 78.0 เมตร 0+290 ขวา 2. หมู่บ้านมิตรประชาพาเลส ตำบลละหาร 411 เมตร 0+700 ขวา 3. หมู่บ้านวิโรจน์วิลล์ 1 ตำบลละหาร 41.0 เมตร 1+000 ซ้าย 4. หมู่บ้านศุภาลัย พาร์ค วิลล์ ตำบลลำโพ 63.13 เมตร 2+070 ซ้าย 5. หมู่บ้านลภาวัน 23 ตำบลละหาร 55.0 เมตร 2+264 ซ้าย 6. หมู่บ้านสัมมากร อเวนิว ชัยพฤกษ์ - วง แหวน 2 ตำบลลำโพ 458 เมตร 2+850 ขวา 7. หมู่บ้าน SPN สัมมากร ชัยพฤกษ์ - วงแหวน 2 ตำบลลำโพ 362.0 เมตร 2+850 ขวา 8. หมู่บ้าน ฟ้าใหม่ ตำบลคลองข่อย 249.0 เมตร 3+630 ซ้าย 9. หมู่บ้านศิริพร ตำบลคลองข่อย 438.0 เมตร 3+070 ซ้าย 10. หมู่บ้านอาสาเฮาส์ ตำบลคลองข่อย 382.0 เมตร 3+630 ซ้าย 11. หมู่บ้านบุราสิริราชพฤกษ์ ตำบลคลองข่อย 165.0 เมตร 4+050 ขวา 12. หมู่บ้านเวียงศิริ ตำบลคลองข่อย 103 เมตร 4+920 ซ้าย 13. หมู่บ้าน เซนโทร ชัยพฤกษ์ แจ้งวัฒนะ 2 ตำบลคลองข่อย 380 เมตร 5+870 ขวา 14. หมู่บ้านสราญสิริ ชัยพฤกษ์ แจ้งวัฒนะ ตำบลคลองข่อย 313 เมตร 6+630 ซ้าย 15. หมู่บ้านพฤกษ์ลดา ติวานนท์-ราชพฤกษ์ ตำบลคลองข่อย 360 เมตร 6+630 ขวา
  • 5. [5] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด ตารางที่ 4-2 (ต่อ) พื้นที่อ่อนไหวในระยะ 500 เมตรหรือมากกว่า 500 เมตร จากแนวเส้นทางโครงการ ลำดับ. พื้นที่อ่อนไหว ตำบล ระยะห่างจาก กึ่งกลางสายทาง (เมตร) ตำแหน่ง กม. บริเวณ ด้านขวา/ซ้าย ทางหลวง ระยะ 500 เมตร 1 หมู่บ้านฮาบิเทีย (ปากทางเข้า) ตำบลบางคูวัด 194 เมตร 6+860 ซ้าย 2 หมู่บ้านปาริชาต ตำบลบางคูวัด 50.0 เมตร 7+750 ขวา 3 หมู่บ้าน ชัยพฤกษ์ ติวานนท์ วงแหวน 2 ตำบลบางคูวัด 46.0 เมตร 8+040 ซ้าย 4 หมู่บ้านภัสสร ตำบลบางคูวัด 162.0 เมตร 8+710 ซ้าย 5 หมู่บ้านชัยพฤกษ์ ตำบลบางคูวัด 40.0 เมตร 9+100 ซ้าย 6 หมู่บ้านมณีรินทร์ เลค พาร์ค ตำบลบางคูวัด 96.0 เมตร 9+230 ซ้าย 7 หมู่บ้านเซนโกร ชัยพฤกษ์ 345 ตำบลบางคูวัด 374.0 เมตร 10+200 ซ้าย 8. หมู่บ้านภัทรพาร์ค ตำบลบางคูวัด 497 เมตร 10+200 ซ้าย 9. หมู่บ้าน วราวิลล์ (ซอยเงินล้าน)) ตำบลบางคูวัด 445.0 เมตร 9+820 ซ้าย 10. หมู่บ้านชวนชื่นฟลอร่าวิลล์ ตำบลบางคูวัด 453.0 เมตร 10+200 ซ้าย 11. หมู่บ้านอาสาเฮาส์ ตำบลบางคูวัด 320.0 เมตร 10+000 ซ้าย 12. ชุมชนริมคลองบางคูวัด ตำบลบางคูวัด 35.0 เมตร 10+0 ขวา 13. ตลาดรุ่งเรือง ตำบลบางคูวัด 35.0 เมตร 7+770 ซ้าย ระยะมากกว่า 500 เมตร 1 สถานศึกษา ขวา โรงเรียนวิทยาทานอิสลาม ตำบลละหาร 752.0 เมตร 1+540 โรงเรียนประสานสามัคคีวิทยา ตำบลละหาร 752.0 เมตร 1+541 ขวา โรงเรียนสารสาสน์วิเทศราชพฤกษ์ ตำบลคลองข่อย 514.0 เมตร 6.0+000 ซ้าย โรงเรียนวัดบางคูวัด ตำบลบางคูวัด 854.0 เมตร 10+000 ขวา 2 สถานพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางคูวัด ตำบลบางคูวัด 1.04 กม. 10+000 ขวา 3 แหล่งประวัติศาสตร์ และโบราณคดี 1. คลองลำรี ตำบลละหาร 700 1+000 ซ้าย-ขวา 2. คลองลากค้อน ตำบลละหาร 0 1+400 ซ้าย-ขวา 3. คลองลำโพธิ์ ตำบลลำโพ 0 2+820 ซ้าย-ขวา 4. วัดลำโพ ตำบลลำโพ 770 2+820 ซ้าย-ขวา 5. วัดบาลคูวัดใน ตำบลบางคูวัด 854 10+000 ขวา
  • 6. [6] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด 5.1. ช่วยให้การเดินทาง การท่องเที่ยว และการขนส่งสินค้า บนทางหลวงหมายเลข 345 มีความสะดวก รวดเร็วและ ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น 5.2 ช่วยให้ระบบโครงข่ายถนน ที่เชื่อมโยงกับทางหลวงหมายเลข 345 มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด 6.1 ลักษณะของงานบริการ ที่ปรึกษาจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในรายการข้อกำหนดเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยต้องศึกษาข้อมูลต่างๆ และรายงานผลการศึกษาเดิมต่อกรมทางหลวง จากนั้นจึงรวบรวมและประมวลผลข้อมูล พื้นฐานเพื่อนำเสนอหลักการออกแบบเบื้องต้น (Conceptual Design) เพื่อสรุปเป็นแนวทางและรูปแบบที่เหมาะสม สำหรับการออกแบบรายละเอียด โดยขอบข่ายของงานมีดังนี้ 1) ทบทวนการศึกษาที่ผ่านมา แผนพัฒนาจังหวัด และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลอุบัติเหตุ รายกรณี ข้อร้องเรียน และข้อพิพาท ในรอบ 10 ปีล่าสุด (ถ้ามี) หรือตามที่กรมทางหลวงเห็นชอบ 2) ศึกษาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม และศึกษาพิจารณาคัดเลือกแนวทาง รูปแบบการขยายทางหลวง และรูปแบบงานโครงสร้างที่เหมาะสม ให้สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์สภาพการจราจรและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมถึง ข้อดี ข้อเสีย ตามความเหมาะสม และสำรวจออกแบบรายละเอียดทางด้านวิศวกรรม ให้เป็นไปตามข้อกำหนดและ มาตรฐานกรมทางหลวง 3) สำรวจเก็บข้อมูลปริมาณจราจร และวิเคราะห์ปริมาณจราจรบนทางหลวง และทางแยกรวมถึงโครงข่าย ที่เกี่ยวข้อง ทั้งปีปัจจุบันและอนาคต 4) สำรวจรายละเอียดภูมิประเทศ แนวทาง แนวระดับ สิ่งก่อสร้าง สาธารณูปโภค และรายละเอียดอื่นๆ ที่ จำเป็นต่อการออกแบบและการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน 5) สำรวจตรวจสอบดินและวัสดุ สำหรับการออกแบบโครงสร้างชั้นทาง และเป็นข้อมูลในการก่อสร้าง ให้เหมาะสม ครอบคลุมลักษณะงานบริการ 6) ออกแบบรายละเอียดทางหลวง ทางแยก พร้อมด้วยส่วนประกอบต่างๆ โดยในการออกแบบจะต้อง ดำเนินการให้เหมาะสม ครอบคลุมลักษณะงานบริการดังต่อไปนี้ ก) สำรวจและออกแบบรายละเอียดทางด้านเรขาคณิต งานทาง งานโครงสร้าง งานระบายน้ำ งานระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจำเป็น งานจัดภูมิทัศน์ในบริเวณทางแยก และการจัดการจราจรในระหว่างการก่อสร้าง ข) สำรวจและออกแบบรายละเอียดของแนวทาง รูปแบบการขยายทางหลวง และรูปแบบงาน โครงสร้าง ให้เป็นไปตามข้อกำหนดและมาตรฐานกรมทางหลวง ค) ดำเนินการออกแบบรายละเอียดทางหลวง ทางแยก พร้อมด้วยส่วนประกอบต่างๆ ซึ่งในการ ออกแบบจะต้องดำเนินการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์การจราจร รูปแบบทันสมัย และมี เอกลักษณ์เฉพาะพื้นที่ ง) ศึกษาวิเคราะห์โครงการด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย การประเมินค่าใช้จ่าย การประเมินผล ประโยชน์ และการวิเคราะห์ความคุ้มค่าด้านเศรษฐกิจ 7) จัดทำแผนที่ระบบระบายน้ำตลอดทั้งทางหลวง และโครงข่ายถนนที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและรักษาระบบ ระบายน้ำที่สมบูรณ์ต่อไป 8) ดำเนินการงานทางด้านสิ่งแวดล้อม 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6. ขอบเขตของงานบริการที่ปรึกษา
  • 7. [7] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด 9) ดำเนินการด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการให้ ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ทราบ ตลอดการดำเนินโครงการ 10) สำรวจทรัพย์สินและข้อมูลเพื่อการเวนคืนขั้นเริ่มต้นที่ยังไม่มีพระราชกฤษฎีกาฯ (ถ้ามี) และ จัดทำแผน ที่เขตทางหลวง บริเวณที่ต้องจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน (ถ้ามี) 11) จัดเตรียมข้อมูลและสื่อต่างๆ สำหรับนำเสนอโครงการฯ (Presentation) ที่สามารถนำเสนอด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ ตามรายละเอียดที่กำหนด 12) จัดเตรียมเอกสารข้อมูลประกอบการประกวดราคา และประเมินราคาค่าก่อสร้าง 13) จัดการฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีตามที่ระบุไว้ในรายการข้อกำหนด เป็นการทบทวนงานศึกษาความเหมาะสมฯ ที่มีอยู่เดิม (ถ้ามี) และสำรวจและออกแบบโครงการก่อสร้างทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด โดยให้เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ โครงข่ายทางหลวง และปริมาณการจราจรในอนาคต พร้อมระบบระบายน้ำ สาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้องและ ส่วนประกอบอื่นๆ ที่จำเป็น เพื่อให้สามารถอำนวยความสะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยทางด้านการจราจรให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมทั้งให้คำนึงถึงความปลอดภัย ลดผลกระทบต่อชุมชน และสภาพแวดล้อมในแนวสายทางใน การดำเนินงานสำรวจและออกแบบ ที่ปรึกษาได้แบ่งงานต่างๆ ออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1) งานสำรวจและศึกษาและเสนอรูปแบบทางเลือกที่เหมาะสม 1.1) งานรวบรวมข้อมูล 1.2) งานสำรวจรังวัดภูมิประเทศ และระบบสาธารณูปโภค 1.3) งานสำรวจศึกษาและวิเคราะห์ปริมาณจราจร 1.4) งานศึกษาด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) 1.5) งานประชาสัมพันธ์ การมีส่วนร่วมของประชาชน 1.6) งานสำรวจชั้นดิน วัสดุ และวิเคราะห์สภาพดินฐานราก 1.7) งานออกแบบทางเลือกเบื้องต้น และรูปแบบการพัฒนาของโครงการ 1.8) พิจารณาคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาของโครงการที่เหมาะสมที่สุด 2) งานออกแบบรายละเอียด 2.1) ศึกษาและทบทวนข้อกำหนดในการออกแบบ 2.2) งานออกแบบรายละเอียดด้านเรขาคณิต 2.3) งานออกแบบรายละเอียดด้านโครงสร้างทางต่างระดับ 2.4) งานออกแบบโครงสร้างชั้นผิวทางและคันทาง 2.5) งานออกแบบระบบระบายน้ำ 2.6) งานออกแบบป้องกัน และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2.6) งานออกแบบป้ายและเครื่องหมายจราจร, ไฟสัญญาณ, ไฟฟ้าแสงสว่างและระบบ สาธารณูปโภค ฯลฯ 2.7) งานสำรวจแนวทางขั้นสุดท้ายและพื้นที่เวนคืน, งานจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน 2.8) งานคำนวณปริมาณก่อสร้างและการประมาณราคา 2.9) งานจัดเตรียมรายงานแบบแปลนและเอกสารต่างๆ แผนภูมิลำดับการปฏิบัติงาน (Flow Chart) ได้แสดงในรูปที่ 7-1 7. แผนการปฏิบัติงาน
  • 8. [8] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รูปที่ 7-1 แผนภูมิลำดับการปฏิบัติงาน (Flow Chart) ทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด มีระยะทางประมาณ 10.20 กิโลเมตร แนวถนน ตามทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก และอยู่ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีและปทุมธานี สภาพปัจจุบันของ พื้นที่โครงการบน ภาพถ่ายทางอากาศ แสดงดังรูปที่ 8-1 พร้อมรูปถ่ายแสดงดังรูปที่ 8-2 รูปที่ 8-1 สภาพพื้นที่โครงการในปัจจุบัน 8. สภาพปัจจุบันพื้นที่โครงการ
  • 9. [9] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รูปที่ 8-2 รูปถ่ายมุมสูงพื้นที่โครงการในปัจจุบัน
  • 10. [10] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด 9.1 งานสำรวจแนวทางและระดับ (Topography) ที่ปรึกษาได้จัดทำ VDO ตลอดสายทาง โดยใช้การบินโดรน แสดงไว้ใน https://www.youtube.com/watch?v=TJZvI5fAYdM&t=850s 9.2 งานสำรวจและวิเคราะห์ด้านการจราจร ที่ปรึกษาจะทำการสำรวจข้อมูลด้านการจราจรบนโครงข่ายทางหลวงโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำความ เข้าใจสภาพการจราจรและโครงข่ายคมนาคมบริเวณพื้นที่ศึกษาในปัจจุบัน ศึกษาปริมาณความต้องการการเดินทาง พฤติกรรมการเดินทางของพื้นที่ศึกษาโครงการ รวมทั้งการนำข้อมูลจากการสำรวจมาใช้ในการจัดทำแบบจำลองด้าน การจราจรและขนส่ง โดยที่ปรึกษาได้ทำการสำรวจข้อมูลด้านการจราจรบริเวณพื้นที่ศึกษา ในโครงการสำรวจและ ออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วง แยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด ดังนี้ 1. การสำรวจจุดต้นทาง – ปลายทางของการเดินทาง (Origin-Destination Survey) ข้อมูลจุดต้นทางและปลายทางของการเดินทาง มีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาแบบจำลอง ด้านการจราจรและขนส่ง ที่ปรึกษาจะใช้วิธีการสำรวจข้อมูลที่มีความเหมาะสมต่อปริมาณการเดินทางและสภาพพื้นที่ เช่น การสัมภาษณ์ริมถนน (Roadside Interview) สถานีบริการน้ำมัน หรือการสัมภาษณ์บริเวณทางแยกสัญญาณไฟ ของโครงการ เพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรมการเดินทางภายในพื้นที่ศึกษาของโครงการโดยจะทำการสำรวจให้ครอบคลุม ทั้งการเดินทางด้วยรูปแบบยานพาหนะส่วนบุคคลและรถขนส่งสินค้าทำการสำรวจ จำนวน 2 จุด บริเวณพื้นที่โดยรอบ โครงการ โดยจะทำการสัมภาษณ์เป็นเวลา 12 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07:00 น. ถึง 19:00 น. โดยที่ปรึกษาจะทำการ สำรวจในช่วงวันต้นสัปดาห์ และวันกลางสัปดาห์ เป็นเวลา 2 วัน ในพื้นที่ทำการศึกษา โดยดำเนินการสำรวจในวันที่ จันทร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2565 และวันอังคารที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการเสร็จแล้ว 2. การสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) ที่ปรึกษาจะทำการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนโดยแยกประเภทยานพาหนะและทิศทางการ เดินทาง โดยวัตถุประสงค์ของการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนคือ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับแก้แบบจำลอง จราจรและขนส่งให้เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้ ตำแหน่งที่จะดำเนินการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนนมีทั้งสิ้น 2 จุด บริเวณ พื้นที่โดยรอบโครงการ จะทำการแจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที โดยจะดำเนินการสำรวจช่วงเวลาตลอด ระยะเวลา24 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 06:00 น. ถึง 06:00 น. ของวันรุ่งขึ้น โดยจะทำการสำรวจจำนวน 3 วันในช่วงต้น สัปดาห์ กลางสัปดาห์ และวันหยุด ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ โดยจะทำการจำแนกประเภทของยานพาหนะ ที่ทำการสำรวจออกเป็น 12 ประเภท และในการแปลงจำนวนยานพาหนะแต่ละประเภทให้เป็นหน่วยรถยนต์นั่งส่วน บุคคล(passenger car unit – PCU) จะใช้ค่าตัวคูณ (factor) สำหรับยานพาหนะแต่ละประเภท โดยดำเนินการ สำรวจด้วยวิธีการติดตั้งกล้องสำรวจ และทำการสำรวจในวันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2565 วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2565 และวันเสาร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการเสร็จแล้ว 9. การศึกษาด้านวิศวกรรม
  • 11. [11] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด 3. การสำรวจปริมาณจราจรบริเวณทางแยก (Traffic Movement Counts) การสำรวจปริมาณการจราจรบนทางแยกจะทำให้ทราบถึงสัดส่วนการเดินทางในทิศทางต่างๆ ที่ เกิดขึ้นณ ทางแยกนั้นๆ ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการจัดการจราจรบริเวณทางแยก สำหรับการ สำรวจนี้ที่ปรึกษาจะทำการนับปริมาณจราจรโดยแยกทิศทางของรถที่วิ่งผ่านในแต่ละทิศทาง (Approach) ของทาง แยก โดยการแจงนับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที เป็นเวลา 14 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07:00 น. ถึง 21:00 น. ซึ่งตำแหน่ง ของการสำรวจมีทั้งสิ้น 3 จุด โดยจะทำการสำรวจ 3 วันในช่วงต้นสัปดาห์ กลางสัปดาห์ และวันหยุด ตามความ เหมาะสมของแต่ละพื้นที่ ทั้งนี้ ในการสำรวจข้อมูลปริมาณจราจรที่ปรึกษาจะทำการนับรถให้ครอบคลุมลักษณะการ ผ่านทางแยกในทิศทางต่างๆ ตามลักษณะทางแยก พร้อมทั้งแยกประเภทยานพาหนะออกเป็น 12 ประเภท เช่นเดียวกับการสำรวจปริมาณจราจรบนช่วงถนน โดยดำเนินการสำรวจด้วยวิธีการติดตั้งกล้องสำรวจ และทำการ สำรวจในวันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2565 วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2565 และวันเสาร์ที่ 12 มีนาคมพ.ศ.2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการแล้วเสร็จ 4. การสำรวจข้อมูลปริมาณจราจรบริเวณจุดกลับรถ (U-Turn) ที่ปรึกษาได้ทำการนับปริมาณจราจรบริเวณจุดกลับรถต่างๆ ในแนวเส้นทางโครงการ โดยการแจง นับปริมาณจราจรทุกๆ 15 นาที เป็นเวลา 14 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 07:00 น. ถึง 21:00 น. ซึ่งตำแหน่งของการสำรวจจะ ดำเนินการสำรวจรวม 6 จุด บนแนวเส้นทางโครงการ โดยจะทำการสำรวจในวันเดียวกันกับการสำรวจปริมาณจราจร บนช่วงถนน (Mid-Block Classified Counts) ทั้งนี้ ผลจากการสำรวจภาคสนามที่ปรึกษาได้นำผลการสำรวจมา ปรับแก้ปริมาณจราจรที่ได้ทำการสำรวจโดยอาศัยข้อมูลค่าปรับแก้รายวัน รายอาทิตย์ รายเดือนและรายปี ของสำนัก อำนวยความปลอดภัยกรมทางหลวง ซึ่งจะได้พิจารณาค่าปรับแก้ให้มีความเหมาะสมกับแนวเส้นทาง โครงการ โดยเฉพาะสายทางที่ผ่านไปยังแหล่งท่องเที่ยว แหล่งอุตสาหกรรม ฯลฯ หรือพื้นที่ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณ การจราจรค่อนข้างมากตลอดจนข้อมูลการจราจรบนสายทางที่มีอยู่บนสายทาง ใกล้เคียงประกอบด้วย สำหรับในส่วน ของการวิเคราะห์ข้อมูลด้านการจราจรบนถนนโครงการในปีปัจจุบัน ที่ปรึกษาได้ทำการวิเคราะห์ปริมาณจราจรโดยจะ ทำการวิเคราะห์ทั้งในหน่วยคันและหน่วยเทียบเท่ารถยนต์นั่งส่วนบุคคล (Passenger Car Unit: PCU) ซึ่งการ วิเคราะห์สภาพการจราจรในปีปัจจุบันโดยดำเนินการสำรวจด้วยวิธีการติดตั้งกล้องสำรวจ และทำการสำรวจในวัน อาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2565 วัน และวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการแล้วเสร็จ 5. การสำรวจความเร็วในการเดินทาง (Travel Speed Survey) การสำรวจความเร็วในการเดินทาง (Travel Speed Survey) ที่ปรึกษาจะใช้เครื่องมือ GPS ร่วมกับ การใช้รถทดลองโดยทำการขับขี่ไปตามกระแสจราจรพร้อมกับบันทึกเวลา ความล่าช้า เวลาที่หยุด ระยะทางที่ จุดเริ่มต้นและจุดต่างๆ หรือทางแยกที่สำคัญตามเส้นทางที่กำหนดจนถึงจุดสิ้นสุดของเส้นทาง ซึ่งข้อมูลที่ได้จะนำมา คำนวณหาความเร็วเฉลี่ยในการเดินทาง โดยทำการสำรวจในวันทำงาน (จันทร์ - ศุกร์) จำนวน 1 วัน และในวันหยุด จำนวน 1 วัน ในช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า 07:00 น. ถึง 10:00 น. ช่วงนอกเวลาเร่งด่วน 11:00 น. ถึง 15:00 น. และ ช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น 16:00 น. ถึง 19:00 น. ทำการสำรวจในวันอาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2565 และวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2565 ปัจจุบันได้ดำเนินการแล้วเสร็จ ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวจะถูกนำมาใช้ในการปรับปรุง Speed Flow
  • 12. [12] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด Curve ในแบบจำลองแจกแจงการเดินทาง (Traffic Assignment) แบบจำลองการเดินทาง เพื่อให้ได้ความเร็วเฉลี่ย ของกระแสจราจรที่ใกล้เคียงกับสภาพปัจจุบันมากที่สุด 6. การสำรวจโครงข่าย การสำรวจนี้จะเป็นการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโครงข่ายถนนต่างๆ ในปัจจุบัน ที่ได้ รวบรวมมาจากแหล่งต่างๆ ดังกล่าวในเรื่องลักษณะทางกายภาพของถนน เช่น จำนวนช่องจราจร ความยาว ผิวจราจร เป็นต้น ทั้งนี้ ที่ปรึกษาได้แสดงจุดสำรวจปริมาณจราจรในเบื้องต้นตามรูปที่ 9-1 และรูปที่ 9-2 โดยรายละเอียดแสดง ดังตารางที่ 9-1 9.3 แนวคิดและรูปแบบการพัฒนา ทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด การศึกษาและออกแบบโครงการนี้จาก ทางหลวง 4 ช่องจราจร เป็นทางหลวง 8 ช่องจราจร ปัจจุบันทางหลวงนี้ มีเขตทางกว้าง 70 เมตร 1. การจัดทิศทางจราจร 1) ช่องทาง ถนนด้านข้าง (Frontage Road) ให้จราจรเดินในทางเดียว และมีทางเข้า-ออก สู่ ถนนหลักในจุดที่ต้องการ 2) U-Turn จุดกลับรถ จะมีการ U-Turn ใต้บริเวณสะพาน และจะปรับปรุงให้มีสภาพที่ดีขึ้น 2. แนวคิดในการออกแบบรูปตัดถนน ขึ้นกับข้อมูลทางด้านการจราจร ได้แก่ - สำรวจปริมาณจราจร - คาดการณ์ปริมาณจราจรในปีอนาคต - วิเคราะห์ระดับการให้บริการ - ผลกระทบต่อการการเดินทางของประชาชน 3. แนวคิดการพัฒนาถนนโครงการ ปัจจุบัน ถนนเดิม เป็นถนน 4 ช่องจราจร (ไป 2 ช่องจราจร – กลับ 2 ช่องจราจร) โดยวิเคราะห์ คาดการณ์ปริมาณจราจรในปีอนาคต เป็นขั้นตอน ดังนี้ (รูปที่ 9-3 , 9-4 และ 9-5) 1) คงถนนหลัก 4 ช่องจราจร และเพิ่ม ทางด้านข้าง (Frontage Road) ข้างละ 2 ช่องจราจร 2) ถนนหลักเป็น 6 ช่องจราจร และทางด้านข้าง (Frontage Road) ข้างละ 2 ช่องจราจร 3) ถนนหลักเป็น 8 ช่องจราจร และทางด้านข้าง (Frontage Road) ข้างละ 2 ช่องจราจร ออกแบบเต็มเขตทาง (Ultimate Stage)
  • 13. [13] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด ตารางที ่ 9-1 รายละเอี ย ดการสำรวจข้ อ มู ล ด้ า นจราจร
  • 14. [14] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-1 ตำแหน่ ง จุ ด สำรวจปริ ม าณจราจรของโครงการ
  • 15. [15] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-2 ต ำแหน่ ง จุ ด ส ำรวจปริ ม ำณจรำจร ณ จุ ด กลั บ รถบนถนน โครงกำร
  • 16. [16] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-3 คงถนนหลั ก 4 ช่ อ งจรำจร และเพิ ่ ม ทำงด้ ำ นข้ ำ ง (Frontage Road) ข้ ำ งละ 2 ช่ อ ง จรำจร
  • 17. [17] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-4 ถนนหลั ก เป็ น 6 ช่ อ งจรำจร และทำงด้ ำ นข้ ำ ง (Frontage Road) ข้ ำ งละ 2 ช่ อ งจรำจร ละ 2 ช่ อ งจรำจร
  • 18. [18] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-5 ถนนหลั ก เป็ น 8 ช่ อ งจรำจร และทำงด้ ำ นข้ ำ ง (Frontage Road) ข้ ำ งละ 2 ช่ อ งจรำจร ออกแบบเต็ ม เขตทำง (Ultimate Stage)
  • 19. [19] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด 4. รูปแบบการคัดเลือก รูปตัดบริเวณสะพาน ปัจจุบันถนน345 มีสะพานทั้งหมด 6 จุด ดังนี้ - กม.1+662 สะพานคลองลากฆ้อน - กม.3+011 สะพานคลองลำโพธิ์ - กม.5+577 สะพานคลองพระอุดม - กม.7+078 สะพานคลองบางตะไนย์ - กม.7+990 สะพานคลองเกาะเกรียง - กม.9+806 สะพานคลองบางคูวัด ในการออกแบบในอนาคต มีแนวทางในการออกแบบ 3 รูปแบบ ดังนี้ (รูปที่ 9-6 , 9-7 และ 9-8) - รูปแบบที่ 1 คงสะพานเดิม และ ก่อสร้างสะพานใหม่ด้านข้าง - รูปแบบที่ 2 รื้อสะพานเดิม ก่อสร้างสะพานใหม่ 2 สะพาน แยกจากกัน - รูปแบบที่ 3 รื้อสะพานเดิม ก่อสร้างสะพานใหม่ 2 สะพาน ติดกัน ในแต่ละรูปแบบ มีข้อดี ข้อเสีย ที่แตกต่างกันไป สรุปได้ดังนี้ รูปแบบสะพาน ข้อดี ข้อเสีย รูปแบบที่ 1 คงสะพาน เดิม และก่อสร้างสะพาน ใหม่ด้านข้าง 1. ไม่รื้อสะพานเดิม ค่าก่อสร้าง น้อย 1. รองรับปริมาณจราจรได้น้อย 2. ผู้อยู่อาศัยสองข้างทางบางส่วน ไม่ได้ รับความสะดวกในการเดินทาง 3. ที่กลับรถใต้สะพาน รถใหญ่ไม่สามารถ ใช้ได้ เพราะจำกัดด้วยความสูงของ สะพานเดิม 4. สะพานเดิมมีสภาพเก่า ในอนาคต จะต้องมีการซ่อมบำรุงหรือการ ก่อสร้างสะพานใหม่ทดแทนสะพาน เดิม ทำให้มีปัญหาการจราจรติดขัด ระหว่างการซ่อมบำรุงหรือการ ก่อสร้างได้ รูปแบบที่ 2 รื้อสะพานเดิม และก่อสร้างสะพานใหม่ 2 สะพาน แยกจากกัน 1. รองรับปริมาณจราจรได้มาก 2. ผู้อยู่อาศัยสองข้างทาง ได้รับ ผลกระทบของการเดินทางน้อย 3. ที่กลับรถใต้สะพาน รถใหญ่ สามารถใช้ได้ 1. ค่าก่อสร้างสูง
  • 20. [20] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รูปแบบที่ 3 รื้อสะพานเดิม และก่อสร้างสะพานใหม่ 2 สะพาน ติดกัน 1. รองรับปริมาณจราจรได้มาก 2. ที่กลับรถใต้สะพาน รถใหญ่ สามารถใช้ได้ 1.ค่าก่อสร้างสูง 2.ผู้อยู่อาศัยสองข้างทางบางส่วน ไม่ได้ รับความสะดวกในการเดินทาง ปัจจัยในการคัดเลือกรูปตัดบริเวณสะพานเบื้องต้น มีดังนี้ 1) ด้านวิศวกรรมและจราจร (40 คะแนน) เช่น ความเหมาะสมต่อการเดินทาง ความยากง่ายในการก่อสร้าง ระยะเวลาในการก่อสร้าง 2) ด้านเศรษฐกิจและการลงทุน (30 คะแนน) เช่น ค่าก่อสร้าง ค่าบำรุงรักษา 3. ด้านสิ่งแวดล้อม (30 คะแนน) เช่น ระบบสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า,ประปา) อุบัติเหตุและความปลอดภัย (คมนาคม-การเดินทาง) สุนทรียภาพ (ความสูงของสะพาน, ความยาวสะพาน)
  • 21. [21] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-6 รู ป แบบที ่ 1 คงสะพำนเดิ ม ก่ อ สร้ ำ งสะพำนใหม่ เ พิ ่ ม ด้ ำ นข้ ำ ง
  • 22. [22] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-7 รู ป แบบที ่ 2 รื ้ อ สะพำนเดิ ม ก่ อ สร้ ำ งสะพำนใหม่ 2 สะพำน แยก จำกกั น
  • 23. [23] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รู ป ที ่ 9-8 รู ป แบบที ่ 3 รื ้ อ สะพำนเดิ ม ก่ อ สร้ ำ งสะพำนใหม่ 2 สะพำน ติ ด กั น กั น
  • 24. [24] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมในครั้งนี้ แบ่งออกเป็นสองส่วน ส่วนที่ 1 ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (Initial Environmental Examination : IEE) และส่วนที่ 2 การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมขั้นรายละเอียด (Environmental Impact Assessment : EIA) เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบรายละเอียดของโครงการ เพื่อให้มี ผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม น้อยที่สุดและส่งเสริมด้านผลกระทบด้านบวกต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ สังคมให้เพิ่มพูนขึ้น แสดงดังรูปที่ 10-1 ซึ่งประกอบด้วย 1. การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมของพื้นที่โครงการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. การคัดเลือกรูปแบบ/แนวทางเลือกที่เหมาะสม 3. การศึกษาสถานภาพทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน 4. การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Involvement) 5. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 6. มาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้น การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม จากการตรวจสอบสภาพพื้นที่และปัจจัยสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ในรัศมี 500 เมตร จากกึ่งกลางถนนทางหลวง หมายเลข 345 มีสถานที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน วัด โรงเรียน มัสยิด ในพื้นที่ศึกษาโครงการ พบว่า การใช้ประโยชน์ที่ดิน ส่วนใหญ่ ริมแนวทางสายทางเป็นย่านการค้า อาคารพาณิชย์ ปั้มน้ำมัน หมู่บ้านจัดสรร และสถานที่ราชการ รองลงมา เป็นพื้นที่ว่างรอการพัฒนา พื้นที่เกษตรกรรม ริมแนวคลองลากฆ้อน คลองลำโพ คลองพระอุดม คลองบางตะไนย์ และ คลองบางคูวัด ส่วนพื้นที่อ่อนไหวได้แก่ โรงเรียน อนุบาลปาริชาต โรงเรียนวัดบางคูวัด และจากการตรวจสอบเบื้องต้น พบแหล่งโบราณสถาน ได้แก่ วัดบางคูวัดใน ในระยะ 1.0 กิโลเมตร ทั้งนี้ ที่ปรึกษาจะดำเนินการตรวจสอบกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านโบราณสถานต่อไป ดังแสดงในรูปที่ 10-2 การตรวจสอบข้อจำกัดจากประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2562 ซึ่งต้องจัดทำรายงาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ลำดับที่ 20 และ 33) ดังแสดงในตารางที่ 10-1 10. การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม
  • 25. [25] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รูปที่ 10-1 ปัจจัยที่ใช้ในการศึกษาสิ่งแวดล้อม รูปที่ 10-2 การตรวจสอบข้อจำกัดสิ่งแวดล้อมในระยะ 500 เมตร
  • 26. [26] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด ตารางที่ 10-1 การตรวจสอบข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมกับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ * ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมและหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมลงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2562 ซึ่ง ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ลำดับที่ 20,33 ลำดับ ประเภทโครงการ กิจการ หรือการดำเนินการ* องค์ประกอบโครงการ 20. ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง ที่ตัดผ่านพื้นที่ดังต่อไปนี้ 20.1 พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมาย ว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและ ห้ามล่าสัตว์ฯ 20.2 พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยาน แห่งชาติ โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ ตามกฎหมายฯ 20.3 พื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกำหนดให้เป็นพื้นที่ชั้น คุณภาพลุ่มน้ำชั้นที่ 2 โครงการฯ อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้นที 5 ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้นที่ 2 20.4 พื้นที่เขตป่าชายเลนในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในเขตป่าชายเลน 20.5 พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตรห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้น สูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในระยะ 50 เมตรของพื้นที่ ชายฝั่งทะเล และไม่มีชายฝั่งทะเล 20.6 พื้นที่ที่อยู่ในพื้นที่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่าง ประเทศ หรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตาม อนุสัญญาระหว่างประเทศในระยะทาง 2 กิโลเมตร โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในอยู่ในพื้นที่ใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำ ที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ แต่อยู่ใกล้ พื้นที่ชุ่มน้ำระดับชาติ คือ แม่น้ำเจ้าพระยา 20.7 พื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่ง ประวัติศาสตร์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่า ด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติในระยะทาง 1 กิโลเมตร ยกเว้นถนนผังเมือง ตามที่ กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง โครงการฯ อยู่ห่างจากแหล่งโบราณสถาน ในระยะ 1.0 กิโลเมตร (วัดบางคูวัดใน) 33 โครงการทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เห็นชอบกําหนดให้เป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้น 1 โครงการฯ ไม่ได้อยู่ในชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้น 1 แต่ อยู่ในพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำชั้น 5
  • 27. [27] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด 11.1 แผนการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน การดำเนินงานการมีส่วนร่วมของประชาชน คือกระบวนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโครงการ ให้ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่โครงการได้รับทราบข้อมูล โครงการให้ความสำคัญ โดยยึดหลักการ ดำเนินงานเพื่อให้เกิดการสื่อสารและกระบวนการมีส่วนร่วมตลอดระยะเวลาศึกษาโครงการ โดยให้ทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้องได้มีโอกาสร่วมรับทราบข้อมูลรายละเอียดโครงการและร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล ประกอบด้วย 3 แผนหลัก ได้แก่ แผนการเข้าพบเพื่อปรึกษาหารือ แผนการให้ข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์โครงการ และแผนการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนดังแสดงในรูปที่ 11-1 (การสัมมนาฯ 3 ครั้ง และการประชุมย่อย 2 ครั้ง) พอสรุปได้ดังนี้ แผน 1) การเข้าพบเพื่อปรึกษาหารือกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เป็นการสัมภาษณ์ในรูปแบบที่ไม่เป็น ทางการโดยเข้าพบหน่วยงานราชการระดับจังหวัด ระดับอำเภอ และระดับท้องถิ่นเพื่อชี้แจงข้อมูลรายละเอียด เบื้องต้นให้แก่หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้าหน่วยงานราชการส่วนท้องถิ่น และผู้นำประชาชนในพื้นที่ เพื่อสำรวจ สภาพพื้นที่เพื่อกำหนดพื้นที่ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลข้อจำกัดของการใช้พื้นที่ โดยจะดำเนินการ ในช่วงเริ่มต้นโครงการก่อนที่จะมีการประชุมปฐมนิเทศโครงการทั้งนี้การหารือสามารถดำเนินการได้ตลอดระยะเวลา ศึกษาโครงการ เพื่อทีมงานโครงการจะได้รับฟังข้อมูลและการปรับเปลี่ยนการดำเนินงานให้สอดคล้องและเหมาะสม กับประชาชนและพื้นที่ต่อไป แผน 2) การให้ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์โครงการ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโครงการและ ความก้าวหน้าของการศึกษาโครงการให้กลุ่มเป้าหมายและสาธารณชนทั่วไปที่สนใจโครงการได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร ตลอดระยะเวลาการศึกษาโครงการ โดยวิธีเผยแพร่ข้อมูล ประกอบด้วย การนำเสนอข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของ โครงการ การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ทั้งข่าวประชาสัมพันธ์โครงการ เป็นต้น แผน 3) แผนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (1) การประชุมปฐมนิเทศโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 1) เพื่อนำเสนอความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา พื้นที่ศึกษาโครงการ ได้ดำเนินการไปแล้วเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2565 (2) การประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) เพื่อนำเสนอความเป็นมา วัตถุประสงค์ ผลการประชุมปฐมนิเทศ แนวทางเลือกพัฒนาโครงการ และแนวทางการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม (3) การประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 2) เพื่อนำเสนอ การศึกษาด้านจราจร การคัดเลือกรูปแบบทางหลวง การมีส่วนร่วมของประชาชน (4) การประชุมหารือมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 2) นำเสนอออกแบบ รายละเอียด รูปแบบทางหลวง ของโครงการที่เหมาะสม และผลการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม (5) การประชุมสรุปผลการศึกษาโครงการ (สัมมนา ครั้งที่ 3) เพื่อนำเสนองานออกแบบด้าน วิศวกรรม งานออกแบบเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นทั้งหมดที่ผ่านมา 11. การมีส่วนร่วมของประชาชน
  • 28. [28] วันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม 2565 เอกสารประกอบการประชุมเสนอแนวคิดในการกำหนดรูปแบบทางเลือกการพัฒนาโครงการเบื้องต้น (กลุ่มย่อย ครั้งที่ 1) โครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจร บนทางหลวงหมายเลข 345 ช่วงแยกบางบัวทอง – แยกบางคูวัด รูปที่ 11-1 ขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็น 11.2 การลงพื้นที่เพื่อหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในช่วงที่ผ่านมา หน่วยงานที่เข้าหารือ ข้อคิดเห็น นายคำรณ บางจริง นายก อบต.คลองข่อย และ นายวิชัย เกิดน้อย รองนายก อบต.คลองข่อย 1. ขอให้พิจารณาตำแหน่งกลับรถขนาดใหญ่ เช่น รถบรรทุก ให้ มีความเหมาะสม เพราะปัจจุบันต้องไปกลับที่ถนนราชพฤกษ์ 2. จุดกลับรถที่ใต้สะพานข้ามคลองพระอุดม ปัจจุบันค่อนข้าง แคบ และมีความสูงไม่มากนัก ในอนาคตอยากให้มีการปรับปรุง แก้ไขจุดกลับรถดังกล่าว นายก อบต.ลำโพ และ นายสมศักดิ์ โขงรัมย์ ปลัด อบต.ลำโพ 1. การวางระบบระบายน้ำของถนน 345 อยากให้มีประตูปิด- เปิด เพื่อป้องกันน้ำท่วมย้อนเข้าเส้นท่อ และขอให้มีจุดที่ระบบ ระบายน้ำของกรมทางหลวงเชื่อมโยงกับระบบรวบรวมน้ำเสีย ของ อบต.ลำโพ 2. ระบบไฟฟ้า แสงสว่าง บริเวณจุดกลับรถใต้สะพาน ขอให้มี อย่างเพียงพอ 3. ขอให้มีสะพานลอยคนข้าม ในจุดที่เหมาะสม ถ้าเป็นไปได้ ควรอยู่ในเขตทางเพื่อป้องกันปัญหากับชาวบ้าน