SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
การตรวจสอบ อาจปฏิบัติได้ดังนี้
 ตรวจนับสินค้าคงคลังที่มีมูลค่า
หรือความสาคัญมากตามระบบ 80/20 ทุก 3
เดือน และสินค้าที่มีมูลค่าหรือความสาคัญน้อยทุก 6
เดือน
 ตรวจนับสินค้าคงคลังที่มีมูลค่า
หรือความสาคัญมากตามระบบ 80/20 เป็นจานวน
ชิ้น และสินค้าที่มีมูลค่าหรือความสาคัญน้อยในรูป
กระบะ
 ตรวจนับสินค้าคงคลังเมื่อ
ปริมาณลดลงถึงจุดสั่งซื้อเนื่องจากปริมาณน้อยจะนับ
ได้สะดวก
 ใช้บุคลากรที่มีประสบการณ์
การตรวจสอบสินค้าคงคลัง
ธุรกิจ SMEs ในประเทศไทยส่วนใหญ่จะไม่เห็นความสาคัญของ
การรายงานผลข้อมูลสินค้าคงคลัง เนื่องจากเจ้าของจะเป็นผู้ควบคุมดูแล
เองเกือบทั้งหมด ทาไมต้องสิ้นเปลืองแรงทารายงานขึ้นมา? รูปแบบ
ของการรายงานผลขึ้นกับปัจจัย ดังนี้
ลักษณะของธุรกิจ
ลักษณะของสินค้าคงคลัง
ผู้รับผิดชอบ
ความถื่ในการรายงาน
รายงานผลข้อมูลสินค้าคงคลัง
รายงานผลสินค้าคงคลังเป้าหมาย
จัดทาขึ้นเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลสินค้าคงคลังที่ตั้งเป้าไว้ และสินค้าคงคลังที่บันทึก
ไว้โดยใช้ข้อมูลจากฟอร์มบันทึกข้อมูลวัตถุดิบคงคลัง และสินค้าสาเร็จรูปคงคลัง
รายงานผลสินค้าคงคลังนับได้จริง
จัดทาขึ้นเพื่อเปรียบเทียบปริมาณและมูลค่าของสินค้าคงคลัง (วัตถุดิบ หรือ
สาเร็จรูป) ที่บันทึกไว้ กับที่นับได้จริง เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
บางครั้ง การเปรียบเทียบอัตราหมุนเวียนของสินค้าคงคลังในปัจจุบันกับที่ผ่านมา
จะให้ผลการวิเคราะห์ที่ดีกว่าการเปรียบเทียบปริมาณหรือมูลค่า อัตราหมุนเวียนยิ่งสูง
ยิ่งทาให้คุณได้เงินสดเข้ามาเร็วขึ้น
อัตราหมุนเวียบสินค้าคงคลัง = ปริมาณการระบายสินค้าคงคลัง
ปริมาณ
รายงานผลข้อมูลสินค้าคงคลัง
รายงานผลวัตถุดิบคงคลังเป้าหมาย ประจาเดือน กุมภาพันธ์ 2543
รายงานผลวัตถุดิบคงคลังนับได้จริง ประจาเดือน กุมภาพันธ์ 2543
บ่อยครั้งที่สินค้าคงคลังจะก่อปัญหาความเดือดร้อน
ให้คุณ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
 การขาดแคลนวัตถุดิบชนิดหนึ่งทาให้ไม่สามารถใช้หรือระบายวัตถุดิบชนิดอื่นๆ
 การมีชิ้นส่วนระหว่างการผลิตมากเกินไป ทาให้เงินลงทุนจมอยู่ ขาดสภาพคล่อง
ในการซื้อวัตถุดิบเพิ่ม
 การปล่อยให้ระดับสินค้าคงคลังมากเกินไป อาจทาให้ราคาสินค้าในตลาดต่าลง
ปัญหาเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง และแนวทางแก้ไข
กรณีสินค้าสาเร็จรูปมีมากเกินไป แก้ไขโดย
 การโฆษณาประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสินค้าของคุณให้เป็นที่ยอมรับของตลาดมากขึ้น
 เน้นสิ่งจูงใจในการขาย เช่น การซื้อ 1 แถม 1 หรือ การจัดให้มีการชิงโชค เป็นต้น
 ลองลดราคาสินค้าลงเพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาด
 ขายสินค้าคงคลังราคาถูกมากๆ เพื่อเพิ่มเนื้อที่จัดเก็บ
ปัญหาเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง และแนวทางแก้ไข
กรณีวัตถุดิบคงคลังมากเกินไป แก้ไขโดย
 ติดต่อคืนวัตถุดิบแก่ผู้ขาย
 ลองคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่ต้องใช้วัตถุดิบเหล่านี้
 ติดต่อขายวัตถุดิบแก่ผู้ผลิตรายอื่นในราคาต่า
กรณีชิ้นส่วนระหว่างการผลิตมีจานวนมาก แก้ไขโดย
 วิเคราะห์งานระหว่างกระบวนการโดยละเอียด ค้นหาปัญหาการกระจุกตัว/ปัญหาคอ
ขวดของการผลิต และทาการแปรสภาพให้เป็นสินค้าสาเร็จรูปโดยเร็ว
 พิจาณาเครื่องจักรที่ใช้ผลิตแต่ละชนิด ว่าจาเป็นต้องเพิ่มความเร็วหรือจานวนหรือไม่
 ให้มีการทางานล่วงเวลาพื่อระบายความแออัดของชิ้นส่วนระหว่างกระบวนการ
ปัญหาเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง และแนวทางแก้ไข
กรณีขาดแคลนสินค้าสาเร็จรูป แก้ไขโดย
 เร่งการผลิตโดยใช้การทางานล่วงเวลา/การรับช่วงการผลิต/จัดอันดับการผลิต
ใหม่
 หาสาเหตุของการขาดแคลนวัตถุดิบที่เป็นอุปสรรคต่อการผลิต ทาให้เกิดล่าช้า
 วิเคราะห์งานระหว่างการผลิตทั้งระบบว่ามีจุดใดที่สามารถเร่งให้เสร็จเร็วขึ้น
กรณีขาดแคลนวัตถุดิบ แก้ไขโดย
 สั่งซื้อวัตถุดิบโดยเร็ว และอาจไม่สนใจเรื่องส่วนลดพิเศษหรือค่าระวาง ถ้าคุณคิด
ว่าคุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น
 เสาะหาแหล่งจาหน่ายอื่นๆ
 ติดต่อขอซื้อวัตถุดิบจากผู้ผลิตรายอื่น
 ใช้วัตถุดิบชนิดอื่นทดแทน
 ใช้วัตถุดิบจากกระบวนการอื่นทดแทน
ปัญหาเกี่ยวกับสินค้าคงคลัง และแนวทางแก้ไข
การบริหารการผลิตสมัยใหม่
คานา
การบริหารการผลิตที่จะกล่าวถึงนี้จะเน้นการปรับปรุงขบวนการ
ให้สามารถเพิ่มคุณค่าในตัวผลิตภัณฑ์
เพิ่มความรวดเร็วในการผลิตและส่งมอบ
ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มความยืดหยุ่น และเพิ่มรายได้ให้แก่บริษัท
โดยถือหลักบริหารการผลิตแบบพอเหมาะ (Lean Production)
จัดทำเนื้อหำโดย เดชำ อัครศรีสวัสด์
ลักษณะการผลิตแบบดั้งเดิม
ให้ผลผลิตต่า เสียค่าใช้จ่ายสูง การส่งมอบบ่อยครั้งไม่ทันเวลา มีความยืดหยุ่นต่า
ระบบการผลิตแบบดั้งเดิมที่ใช้ในหมู่ SMEs ปัจจุบันมีลักษณะดังนี้
ตารางการผลิตขึ้นกับการคาดการณ์
ผลิตเพื่อเก็บในสต็อก
ผลิตคราวละมากๆ
ผังดาเนินการแยกตามแผนกและหน้าที่
พื้นที่ในโรงงานใช้เป็นที่วางสินค้า
สุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจสอบคุณภาพ
ระบบการผลิตแบบพอเหมาะ (Lean Production)
มีแนวคิดมาจากระบบการผลิตของญี่ปุ่ น
เน้นการปรับปรุงกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง
ลดความสูญเสียที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายในระบบทั้งหมด
ลดขั้นตอนในการทางาน
คุณภาพ
ได้รับการ
ปรับปรุง
ให้ดีขึ้น
เรื่อยๆ
ส่วนพัฒนาสินค้า
ส่วนการผลิต
ส่วนจัดเก็บสินค้า
ส่วนจัดส่งเก็บสินค้า
ส่วนจัดส่ง
ส่วนลูกค้าสัมพันธ์
ลดความซ้าซ้อน
ลดวัสดุคงคลัง
ระบบการผลิตแบบพอเหมาะ (Lean Production) (ต่อ)
ความเสียหายหลักที่พบได้จานวน 7 ชนิด ได้แก่
ผลิตมากเกินความจาเป็น
การซ่อมแซมแก้ไขสินค้าที่เสียหาย
การขนย้าย
การมีสินค้าคงคลังจานวนมาก
การเคลื่อนที่
การรอคอย
กระบวนการที่ยุ่งยากซับซ้อน
การปรับเปลี่ยนกระบวนการ
การไหลของชิ้นงานทีละหนึ่ง
ชิ้นส่วนถูกผลิตและเคลื่อนที่ไปยังแผนกต่อไป คราวละ 1 ชิ้น
ทาให้งานคงค้างใน
สายการผลิต (Work In
Process) มีจานวนน้อย
ช่วยลดเวลานา (Lead Time)
เพิ่มความยืดหยุ่นในการ
เปลี่ยนชิ้นงาน
ทาให้แก้ปัญหา
ที่ซ่อนอยู่ได้
ตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้าได้รวดเร็วขึ้น
การไหลของชิ้นงานในการผลิตคราวละ 1 ชิ้น
กระบวนการ 1 กระบวนการ 2 กระบวนการ 3
กระบวนการ 1 กระบวนการ 2 กระบวนการ 3
การไหลของชิ้นงานในการผลิตแบบเป็นงวด
การคานวณเวลานาในการผลิต (Lead Time)
เวลานาในการผลิต = เวลาที่ใช้ตั้งแต่เริ่มกระบวนการแรกจนสิ้นสุดกระบวนการ
ผลิตทั้งหมด
= รอบเวลาการผลิต (Cycle Time) * จานวนงานคงค้าง
(WIP)
ตัวอย่างเช่น ถ้าแต่ละกระบวนการมีรอบเวลาการผลิต 1 นาที
กระบวนการไหลของชิ้นงานคราวละหนึ่ง
จะได้เวลานาในการผลิต = (1 * 1) + (1 * 1) + (1 * 1)
= 3 นาที
กระบวนการผลิตแบบงวด
จะได้เวลานาในการผลิต = (1 * 6) + ( 1 * 6) + (1 * 6)
= 18 นาที
ระบบการดึง(Pull System)
การผลิตแบบพอเหมาะเป็นการใช้ระบบดึง (Pull)
การผลิตถูกควบคุมด้วยการดึงผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปออกไปให้ลูกค้า
หรือไว้ใช้ในกระบวนการอื่นโดยใช้คัมบังการ์ด (Kanban Card)
เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกดึงออกไป
คัมบังการ์ดถูกส่งไปยังสายการผลิต
สายการผลิตจะผลิตสินค้าเพิ่มตามจานวนที่กาหนด
โดยมีจานวนชิ้นงานคงค้างมาตรฐาน (Standard WIP หรือ SWIP)
จานวนเล็กน้อยเพื่อชิ้นส่วนสามารถถูกดึงไปใช้เมื่อต้องการเท่านั้น
การผลิตแบบงวดเป็นระบบผลัก (Push)
ตารางการผลิตจัดทาไว้ล่วงหน้าพร้อมสั่งวัตถุดิบมาตุนไว้ก่อน
การตอบสนองความต้องการความเปลี่ยนแปลงแบบเร่งด่วนทาได้ยาก
ระบบการดึงด้วยการ์ด 1 ใบ
แผนกที่ 1
แผนกที่ 1
แผนกที่ 1
แผนกที่ 1
แผนกที่ 2
แผนกที่ 2
แผนกที่ 2
แผนกที่ 2
ส่งมอบ
ส่งมอบ
ส่งมอบ
ส่งมอบ
A
B C A B C
B C
A B C
A B C
A
B C
A
B C
A B C
A ชิ้นส่วน A คัมบังการ์ด
การสมดุลปริมาณการผลิต
การผลิตสินค้าในปริมาณที่ใกล้เคียงกันในแต่ละวันหรือแต่ละครั้ง
โดยการปรับความแปรปรวนของความต้องการในแต่ละวัน
หรือแต่ละคาสั่งการผลิตด้วยวิธีที่เหมาะสม
ทาให้คนงานสะดวกในการผลิตตามอัตราและลาดับที่ค่อนข้างคงที่
คนงานไม่เกิดการว่างงานในช่วงขาดการสั่งซื้อ
หรือทางานล่วงเวลาในช่วงที่มีคาสั่งซื้อจานวนมาก
การสมดุลปริมาณการผลิต (ต่อ)
การผลิตแบบสมดุลนี้
เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้าจานวน 1 ชิ้น เรียกว่า “เท็กไทม์” (Takt Time)
คานวณโดย
จานวนเวลาที่สามารถผลิตใน 1 วัน
จานวนสินค้าที่ต้องผลิตในวันนั้น
เวลาที่คนงานใช้ในการผลิตให้เสร็จตามกระบวนการควร <= Takt Time
เพื่อความมั่นใจว่า คนงานกาลังทางานเพื่อให้ได้จานวนสินค้าตามความ
ต้องการของลูกค้าเสมอ
การลดเวลาในการติดตั้งหรือปรับระบบ
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นและผลิตตามความต้องการของลูกค้า
การผลิตแบบงวด (Batch)
เวลาในการติดตั้งเครื่องจักรหรือปรับระบบคงที่
ทาการผลิตชิ้นส่วนใดชิ้นหนึ่งคราวละมากๆ
แล้วจึงปรับตั้งเครื่องจักรเพื่อผลิตชิ้นส่วนอื่น
ลดค่าใช้จ่ายในการผลิตลง
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยต่าลง แต่ ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บสินค้าคงคลังต่อหน่วยเพิ่มขึ้น
การลดเวลาในการติดตั้งหรือปรับระบบ (ต่อ)
นาปริมาณการสั่งผลิตแบบประหยัด (EOQ)
ซึ่งใช้เป็นตัวกาหนดปริมาณการผลิต มาเป็นตัวปรับตั้งเครื่องจักรแต่ละครั้ง
พิจารณาทั้ง 2 ตัวแปรพร้อมกันดังนี้
ค่าจัดเก็บสินค้าคงคลังต่อหน่วย ค่าใช้จ่ายการผลิตต่อหน่วย
พิจารณาหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมที่สุดดังกราฟต่อไปนี้
ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อหน่วย
กราฟปริมาณการสั่งผลิตแบบประหยัด
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
ค่าจัดเก็บสินค้า
คงคลังต่อหน่วย
ค่าใช้จ่ายการผลิตต่อหน่วย
บาท
ปริมาณการผลิต
หลักการปรับตั้ง
โดยทั่วไปมีการปรับตั้งอยู่ 2 แบบ
แบบภายใน
ต้องให้เครื่องจักรหยุดทางาน
ก่อนจะทาการปรับตั้ง
การเปลี่ยนหัวสว่านของแท่นเจาะ
ภายนอก
ปรับตั้งได้ในขณะที่เครื่องจักร
กาลังทางานอยู่
การเตรียมอุปกรณ์สาหรับการ
ปรับเปลี่ยนให้พร้อมก่อนการ
ปรับตั้ง
การที่เครื่องเจาะมีแท่นเจาะหลายชุด
สามารถเปลี่ยนหัวเจาะได้
ในขณะที่เครื่องทางานอยู่
หลักการปรับตั้ง (ต่อ)
ผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่ นชื่อ Shigeo Shingo ได้เสนอวิธีการลดเวลาการปรับตั้ง 4 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ให้หากิจกรรมหรือขั้นตอนที่เกี่ยวกับการปรับตั้งทั้งหมด
ขั้นที่ 2 พิจารณาว่าขั้นตอนเหล่านี้เป็นแบบภายในหรือภายนอก
ขั้นที่ 3 ทาการเปลี่ยนแปลงภายในเป็นแบบภายนอก
เพื่อลดเวลาในการหยุดเครื่อง
ขั้นที่ 4 ปรับกระบวนการปรับตั้งให้ง่ายและรวดเร็ว
การป้องกันความผิดพลาด (Pokayoke)
การป้องกันความผิดพลาดล่วงหน้า
แทนการยอมรับว่าต้องมีชิ้นส่วนชารุดเป็นจานวนกี่ %
ไม่ผลิตสินค้าที่ชารุดเสียหาย นั่นคือ ความเสียหาย = 0
เมื่อมีชิ้นส่วนเสียหายหรือชารุดในระบบการผลิตแบบพอเหมาะ
หยุดระบบการผลิตชั่วคราว
หาข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น
หาทางแก้ไขข้อผิดพลาด
อุปกรณ์หรือกระบวนการ Pokayoke จะถูกติดตั้งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดอีก
การป้องกันความผิดพลาด (Pokayoke) (ต่อ)
อุปกรณ์ Pokayoke ส่วนใหญ่จะเป็นแท่นยึดจับ หรือเซนเซอร์ เพื่อให้แน่ใจว่า
มีการวางตัวอย่างถูกต้อง และผลิตอย่างถูกต้อง
อุปกรณ์ Pokayoke แบบง่ายๆ
วางถูก วางผิด
ก่อน Pokayoke
ชิ้นส่วนอาจถูกวางผิดด้าน
หลัง Pokayoke
ชิ้นส่วนถูกวางได้แบบเดียว
การผลิตแบบเซลลูล่าร์ (Cellular Manufacturing)
ทาให้ฝ่ ายผลิตมีความยืดหยุ่นต่อปริมาณ และรูปแบบผลิตภัณฑ์
คนงานสามารถเปลี่ยนงานไปอยู่ในลักษณะต่างๆ ได้ง่าย
ทาให้มีความเป็นไปได้ในการผลิตสินค้าหลายๆ รูปแบบ
ในเซลหรือส่วนการผลิตเดียวกัน
ปรับให้เข้ากับความต้องการอันหลากหลายของลูกค้า
จานวนคนงานในเซลมีการเปลี่ยนแปลงได้
เซลการผลิตที่ใช้ 1 คนผลิต
8 6
7
1 2 3
4
5
ชิ้นส่วน
ชิ้นส่วน
เซลการผลิตที่ใช้ 2 คนผลิต
8 6
7
1 2 3
4
5
ชิ้นส่วน
ชิ้นส่วน
คนงาน คนงาน
การแปลงระบบการผลิตแบบพอเหมาะ
ระบบการผลิตแบบพอเหมาะไม่ใช่
สูตรสาเร็จรูปที่ใช้ในระบบการผลิตที่มีอยู่เดิม
แต่การเปลี่ยนแปลงระบบเดิมไปสู่ระบบการ
ผลิตแบบพอเพียงจาเป็นต้อง
 เข้าใจระบบเดิมถึงจุด
แข็งและจุดอ่อนต่างๆ
 ทาไมถึงใช้ระบบเดิม
ตั้งแต่แรก
 เข้าใจหลักการผลิต
แบบพอเหมาะ

More Related Content

More from Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA

การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchPathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
National policy on climate change and Thailand status in the world
National policy on climate change and Thailand status in the worldNational policy on climate change and Thailand status in the world
National policy on climate change and Thailand status in the worldKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 

More from Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA (20)

Clean Technology
Clean TechnologyClean Technology
Clean Technology
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
งานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิตงานระหว่าการผลิต
งานระหว่าการผลิต
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
 
Circular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero WasteCircular economy to Zero Waste
Circular economy to Zero Waste
 
TCAC2022
TCAC2022TCAC2022
TCAC2022
 
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORTTHAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
THAILAND THIRD BIENNIAL UPDATE REPORT
 
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy ResearchPathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
Pathways to Net Zero: The Impact of Clean Energy Research
 
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อม | State of environment quality 2021
 
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย | Thailand state of pollution report 2021
 
Enabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the ClimateEnabling Asia to Stabilise the Climate
Enabling Asia to Stabilise the Climate
 
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable BusinessKBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
KBank Public-Low Carbon and Sustainable Business
 
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable BusinessONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
 
GC-Low Carbon and Sustainable Business
GC-Low Carbon and Sustainable BusinessGC-Low Carbon and Sustainable Business
GC-Low Carbon and Sustainable Business
 
DOW-Low Carbon and Sustainable Business
DOW-Low Carbon and Sustainable BusinessDOW-Low Carbon and Sustainable Business
DOW-Low Carbon and Sustainable Business
 
SCB-Low Carbon and Sustainable Business
SCB-Low Carbon and Sustainable BusinessSCB-Low Carbon and Sustainable Business
SCB-Low Carbon and Sustainable Business
 
TGO - Low Carbon and Sustainable Business
TGO - Low Carbon and Sustainable BusinessTGO - Low Carbon and Sustainable Business
TGO - Low Carbon and Sustainable Business
 
FTIPC-Low Carbon and Sustainable Business
FTIPC-Low Carbon and Sustainable BusinessFTIPC-Low Carbon and Sustainable Business
FTIPC-Low Carbon and Sustainable Business
 
TBA-Low Carbon and Sustainable Business
TBA-Low Carbon and Sustainable BusinessTBA-Low Carbon and Sustainable Business
TBA-Low Carbon and Sustainable Business
 
National policy on climate change and Thailand status in the world
National policy on climate change and Thailand status in the worldNational policy on climate change and Thailand status in the world
National policy on climate change and Thailand status in the world
 

การครวจสอบสินค้าคงคลัง