SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
สารบัญ
ประเภทของปุย
๋
ปุย หมายถึง สารที่ใส่ลงในดินเพื่อให้ปลดปล่ อยธาต ุ
๋
อาหารแก่พืช โดยเฉพาะธาต ุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และโพแทสเซียม ช่วยให้พืชเจริญเติบโตงอกงามดี
และให้ผลผลิตสูง
ประเภทของปุย
๋
ประเภทของปุย
๋
โดยทัวไปปุยแบ่งออกเปนสองประเภท คือ ปุยอินทรีย ์
่ ๋
็
๋
และปุยวิทยาศาสตร์หรือปุยเคมี
๋
๋
ประเภทของปุย
๋
ปุยอินทรีย ์
๋
เปนปุยธรรมชาติที่ได้จากการเน่าเปอยผ ุพังของซาก
็ ๋
ื่
สิ่งมีชีวิต เช่น ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืช สด ปุยอินทรีย ์
๋
๋
๋
๋
ชีวภาพ ฯลฯ
ประเภทของปุย
๋
ข้อดีของและข้อเสียปุยอินทรีย ์
๋
1. ช่วยปรับปร ุงดินให้ดีข้ ึน โดยเฉพาะค ุณสมบัติทาง
กายภาพของดิน เช่น ความโปร่งความร่วนซ ุย
ความสามารถในการอมน้า และการปรับสภาพความ
ุ้
เปนกรดเปนด่างของดิน
็
็
ประเภทของปุย
๋
2. อยูในดินได้นานและค่อย ๆ ปลดปล่อยธาต ุอาหาร
่
พืชอย่างช้าๆจึงมีโอกาสสูญเสียน้อยกว่าปุยเคมี
๋
3. เมื่อใส่รวมกับปุยเคมีจะส่งเสริมปุยเคมี ให้เปน
่
๋
๋
็
ประโยชน์แก่พืชอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ส่งเสริมให้จลชีพในดินโดยเฉพาะพวกที่มีประโยชน์
ุ
ต่อการบาร ุงดินให้ทางานอย่างมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น
กลับหน้าหลัก
ประเภทของปุย
๋
ปุยเคมีหรือปุยวิทยาศาสตร์ เปนปุยที่ได้จากการผลิต
๋
๋
็ ๋
หรือสังเคราะห์จากแร่ธาต ุต่างๆ ซึ่งมีธาต ุอาหารหลักที่
จาเปนต่อการเจริญเติบโตของพืช
็
ประเภทของปุย
๋
ปุยเคมี มี 2 ประเภทได้แก่ ปุยเดี่ยวหรือแม่ ปย และ
๋
๋
ุ๋
ปุยผสม
๋
ประเภทของปุย
๋
1.ปุยเดี่ยวหรือแม่ปย เปนสารประกอบที่มีธาต ุ
๋
ุ๋ ็
อาหารของพืชอยูหนึ่งหรือสองธาต ุเปนองค์ประกอบ
่
็
และมีปริมาณธาต ุอาหารของพืชคงที่ เช่น ปุยยูเรีย
๋
และปุยแอมโมเนียมซัลเฟต
๋

กลับหน้าหลัก
ประเภทของปุย
๋
2.ปุยผสม เปนปุยที่ได้จากการนาปุยเดี่ ยวแต่ละชนิด
๋
็ ๋
๋
มาผสมกัน เพื่อให้ปยผสมที่ได้มีสดส่วนของธาต ุ
ุ๋
ั
อาหาร N ,P, K ตามต้องการ เช่น ปุย สูตร 18 : 18
๋

กลับหน้าหลัก
ปุยไนโตรเจน
๋
ปุยไนโตรเจน
๋
เปนปุยเคมีท่ีให้ธาต ุไนโตรเจนในรปของสารประกอบชนิด
็ ๋
ู
ต่างๆ เช่นแอมโมเนียมซัลเฟต แคลเซียมไนเตรต
แอมโมเนียมไนเตรตและยูเรีย
ปุยไนโตรเจน
๋
การผลิตปุยแอมโมเนียซัลเฟต
๋
ปฏิกิริยาเคมี เตรียมได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างก๊าซ
แอมโมเนียกับกรดกามะถัน ดังสมการนี้

2NH3 (g) + H2SO4 (aq)
(s)



(NH4)2SO4
ปุยไนโตรเจน
๋
การเตรียมปุยแอมโมเนียมซัลเฟต อาจเตรียมได้จาก
๋
ปฏิกิริยาเคมีระหว่าง แอมโมเนียม คาร์บอเนต
(NH4)2CO3 กับ ยิปซัม (CaSO4) ดังนี้
(NH4)2CO3 + CaSO4  (NH4)2SO4 (s)+
CaCO3 (s)
ปุยไนโตรเจน
๋
การเตรียมวัตถ ุดิบที่ใช้เปนสารตังต้นในการเตรียมปุย
็
้
๋
แอมโมเนียมซัลเฟต
การเตรียมก๊าซแอมโมเนีย โดยกระบวนการฮาเบอร์
เตรียมจากก๊าซ N2 และ H2
ปุยไนโตรเจน
๋
ทาปฏิกิริยากันโดยใช้ความดันสูงและอ ุณหภมิ ต่า
ู
และเติมตัวเร่งปฏิกิริยา แต่ในอ ุตสาหกรรมใช้
อ ุณหภมิ 5000C สูงปานกลางเพื่อจะเกิด NH3
ู
เร็วขึ้นดังสมการ
N2 (g) + 3H2 (g)  2NH3 (g) + 92 kJ
ปุยไนโตรเจน
๋
ก๊าซไนโตรเจนเตรียมได้จากการใช้อากาศเหลวมา
กลันลาดับส่วน
่
ก๊าซไนโตรเจนมีจดเดือดต่ากว่าก๊าซออกซิเจน จึง
ุ
แยกก๊าซออกซิเจนออกมาก่อน ส่วนก๊าซไนโตรเจน
จะถกแยกออกมาที หลัง
ู
ปุยไนโตรเจน
๋
ก๊าซไฮโดรเจนเตรียมจากก๊าซออกซิเจนที่แยกออกมา
จากอากาศเหลว ทาปฏิกิริยากับก๊าซมีเทนที่ มีมาก
ในก๊าซธรรมชาติ ดังสมการ
2CH4 (g) + O2 (g)  2CO (g) + 4H2 (g)
ปุยไนโตรเจน
๋
หรืออาจจะใช้ไอน้าทาปฏิกิริยากับก๊าซมีเทน ดัง
สมการ
CH4 (g) + H2O (g)  2CO (g) + 4H2 (g)
นาก๊าซผสม (CO + H2) ไปทาปฏิกิริยากับก๊าซมี เทน
ต่อ ดังนี้
ปุยไนโตรเจน
๋
CO (g) + H2O (g)  CO2 (g) + H2
จากนันผ่านก๊าซ CO2 (g) และ H2 ลงในน้าจะได้
้
H2CO3 ดังสมการ
CO2 + H2O  H2CO3
ปุยไนโตรเจน
๋
แยกเอาก๊าซ H2 ออกแล้วนาไปเปนวัตถ ุดิบในการ
็
เตรียมก๊าซ NH3 ต่อไป ส่วนสารละลาย H2CO3
นาไปลดความดันและเพิ่มอ ุณหภมิก็จะได้ก๊าซ CO2
ู
แยกออกมา และนาไปเตรียมปุยยูเรียต่อไป
๋
ปุยไนโตรเจน
๋
การเตรียมกรดกามะถัน
สามารถเตรียมกรดกามะถันได้โดยอาศัยกระบวนการ
คอนแทค (Contact process) โดยเตรียมจากการเผา
S กับก๊าซ O2 ในอากาศจะได้กาซ SO2 เผาต่อไปจะ
๊
ได้กาซ SO3 ผ่านก๊าซที่ได้ลงไปใน กรดกามะถัน
๊
เข้มข้นเกือบบริสุทธิ์ได้ H2S2O7 (โอเลียม) ดังสมการ
นี้
ปุยไนโตรเจน
๋
S (s) + O2 (g)  SO2 (g)
2SO2 (g) + 3O2 (g)  2SO3 + 54 kJ

SO3 (g) + H2SO4 (aq)  H2S2O7 (aq)
ปุยไนโตรเจน
๋
ถ้าต้องการกรดกามะถันกลับคืนมา
ให้นาเอาโอเลียมไปทาปฏิกิริยากับน้า
H2SO4 (aq) + H2O (l)  2H2S2O7 (aq)
ปุยไนโตรเจน
๋
การผลิตปุยยูเรีย
๋
วัตถุดิบที่ใช้ คือ ก๊าซแอมโมเนีย (NH3) กับก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
(ก๊าซทั้งสองชนิ ดได้จากกระบวนการเตรียมปุย
๋
แอมโมเนียมซัลเฟต)
ปุยไนโตรเจน
๋
ปฏิกิริยาเคมี เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างก๊าซ
แอมโมเนีย (NH3)
กับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ดังสมการนี้
2NH3 (g) + CO2 (g)  (NH2)2CO (s) + H2O
(l)
ปุยไนโตรเจน
๋
ปุยไนโตรเจนท ุกชนิดจะให้ธาต ุอาหารหลักคือ ธาต ุ
๋
ไนโตรเจนซึ่งช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี
มีลาต้นและใบแข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่ าง
เพียงพอ
ปุยไนโตรเจน
๋

กลับหน้าหลัก
ปุยฟอสเฟต
๋
ปุยฟอสเฟต เปนปุยเคมีที่ให้ธาต ุฟอสฟอรัสใน
๋
็ ๋
รปของสารประกอบฟอสเฟต ช่วยสร้างเสริมการ
ู
เจริญเติบโตและความแข็งแรงของพืชทังส่วนราก
้
ลาต้น ใบ ตลอดจนการออกดอกออกผล การผลิต
ปุยฟอสเฟตในปัจจุบนใช้หินฟอสเฟตเปนวัตถ ุดิบ
๋
ั
็
ปุยฟอสเฟต
๋
แต่หินฟอสเฟตละลายน้าได้นอยมาก พืชจึงนา
้
ฟอสฟอรัสไปใช้ประโยชน์ได้ไม่เกินร้อยละ 5 ของ
P2O5 ที่มีอยู่ ทาให้ตองใช้หินฟอสเฟตใน ปริมาน
้
มากซึ่งไม่คมค่า จึงมีการนาหินฟอสเฟตมาใช้ผลิต
ุ้
ปุยฟอสเฟต
๋
ปุยฟอสเฟต
๋
หินฟอสเฟตมีอยูมากในหลายจังหวัด เช่น
่
ร้อยเอ็ด กาญจนบ ุรี ลาพูน เพชรบูรณ์ ราชบ รี เปน
ุ ็
ต้น จากแหล่งหินดังกล่าวมีฟอสฟอรัสคิดเปน ปริ
็
มานของ P2O5 อยูรอยละ 20 – 40 จึงมีการนาหิน
่ ้
ฟอสเฟตที่บดละเอียดแล้วใส่ลงในดินเพื่อใช้เป นปุย
็ ๋
โดยตรง
ปุยฟอสเฟต
๋
ขันตอนในการผลิตปุยฟอสเฟต
้
๋
การผลิตปุยฟอสเฟตเริ่มจากการนาหิน
๋
ฟอสเฟตมาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่
อ ุณหภมิ 1000-1200 ◦c ประมาณ 2 ชัวโมง จะเกิด
ู
่
การเปลี่ยนแปลงดังนี้
2(CaF2. 3Ca3(PO4)2) + 5SiO2 + 6Na2CO3 →
12CaNaPO4 + 4Ca2SiO4 + SiF4 + 6CO2
ปุยฟอสเฟต
๋
นอกจากนี้ยงมีการนาหินฟอสเฟตมาทา
ั
ปฏิกิริยากับกรดซัลฟวริก จะทาให้ได้ปยที่ มี
ิ
ุ๋
ค ุณภาพสูงขึ้น ซึ่งมีขนตอนการผลิต ดังนี้
ั้
ขันที่ 1 นาหินฟอสเฟต (CaF2. 3Ca3(PO4)2 )ที่
้
บดแล้วมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟวริกเข้มข้น 4 - 5
ิ
mol / dm3 จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรวดเร็วได้กรด
ฟอสฟอริก (H3PO4 )ดังนี้
CaF2. 3Ca3(PO4)2 + 10H2SO4 → 6H3PO4 +
10CaSO4 + 2HF
ปุยฟอสเฟต
๋
ขันที่ 2 นากรดฟอสฟอริก(H3PO4 ) ที่เกิดขึ้น
้
ทาปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือปฏิกิริ ยาในขันนี้
้
เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ต้องเก็บหรือบ่มไว้ประมาน 1
เดือน เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ได้มอนอ
แคลเซียมฟอสเฟต(ปุยซ ุปเปอร์ฟอสเฟต
๋
Ca(H2PO4)2 ) ดังสมการ
ปุยฟอสเฟต
๋
CaF2. 3Ca3(PO4)2 + 14H2PO4 → 10
Ca(H2PO4)2 + 2HF
มอนอแคลเซียมฟอสเฟตหรือปุยซ ุปเปอร์
๋
ฟอสเฟต Ca(H2PO4)2 ละลายน้าได้ดี พืชจึง
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ขั้นตอน
การผลิตปุยซ ุปเปอร์ฟอสเฟต แสดงได้ดงนี้
๋
ั
ปุยฟอสเฟต
๋
แสดงขันตอนการผลิตปุยซ ุปเปอร์ฟอสเฟต
้
๋
ปุยฟอสเฟต
๋
นอกจากนี้ยงสามารถผลิตปุยฟอสเฟตโดยนา
ั
๋
ฟอสเฟต มาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟวริกดัง สมการ
ิ
CaF2. 3Ca3(PO4)2 + 7 H2SO4 + 3 H2O →
3Ca(H2PO4)2 + 2HF + 7CaSO4
หินฟอสเฟตส่วนมากจะมีทราย (Sio2 ) ปนอยู่
ด้วย แก๊ส HF ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตปุย
๋
บางส่วนจะทาปฏิกิริยากับทรายเกิดแก๊ส SiF4 ซึ่ง
รวมกับ H2O ได้ทนทีเกิดเปน H2SiF6 หรืออาจนา
ั
็
Sio2
ปุยฟอสเฟต
๋
มาทาปฏิกิริยาโดยตรงกับแก๊ส HF ที่เกิดขึ้นเพื่อให้
เกิดเปน H2SiF6 และเมื่อนามาทาปฏิกิริยาต่อ กับ MgO
็
จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟล ูออไรด์ ( MgSiF6 ) ซึ่งใช้เปน
็
สารกาจัดแมลงได้ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเขียนแสดงได้
ดังนี้
6HF + Sio2 → H2SiF6 + 2H2O
H2SiF6 + MgO → MgSiF6 + H2O
ปุยฟอสเฟต
๋
HF ส่วนใหญ่ระเหยกลายเปนไอ จึงกาจัดโดย
็
การผ่านแก๊สลงในน้า ทาให้ได้สารละลายที่มี สภาพ
เปนกรดซึ่งทาให้เปนกลางได้โดยทาปฏิกิริย ากับ
็
็
โซดาแอชหรือหินปูนเกิดปฏิกิริยาดังนี้
2HF + Na2CO3 → 2NaF + H2O + CO2
2HF + CaCO3 → CaF2 + H2O + CO2

กลับหน้าหลัก
ปุยโพแทส
๋
ปุยโพแทส คือ ปุยเคมีที่มีธาต ุโพแทสเซี ยมเปน
๋
๋
็
องค์ประกอบ ปุยชนิดนี้นิยมบอกความเข้มข้น เปน
๋
็
ค่าร้อยละโดยมวลของ K2O ในสมัยก่อนแหล่งของ
ปุยโพแทสได้จากเตาถ่าน หรือการเผากิ่งไม้ ใบไม้
๋
และเศษเหลือของพืช
ปุยโพแทส
๋
โพแทสเซียมเปนธาต ุอาหารหลักที่จาเปนต่ อพืช
็
็
มากทาให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้างภมิ
ู
ต้านทานโรค และเปนตัวเร่งให้เซลล์ทางานได้ดี ข้ ึน
็
ถ้าพืชขาดธาต ุโพแทสเซียมจะทาให้มีปริมาณแป งต่า
้
กว่าปกติ ผลผลิตลดน้อยลง ขอบใบมีสีซีด ลาต้น
อ่อน แคระแกร็นและเมล็ดลีบ
ปุยโพแทส
๋
ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทส เปนจานวนมาก
็
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรปของแร่คาร์นลไลต์
ู
ั
(KCl∙MgC12∙6H2O) และแร่ซิลวาไนต์ (KCl∙NaCl) ซึ่ง
ใช้เปนวัตถ ุดิบในการผลิตปุยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น
็
๋
โพแทสเซียมคลอไรด์ ( KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต
(K2SO4) โพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) และ
โพแทสเซียมแมกนีเซียมซัลเฟต (K2SO4∙2MgSO4)
ปุยโพแทส
๋
ปุยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวา
๋
ไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วทาให้บริส ุทธิ์ โดยละลายแร่
ในน้าอ ุณหภมิประมาณ 90 องศาเซลเซียส เติม
ู
สารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวลงไป กรองแยกโคลนและ
ตะกอนออก ระเหยน้าเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้น
มากขึ้นจนทาให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้
แห้ง จะได้ปย KCl ตามต้องการ นอกจากนี้
ุ๋
ปุยโพแทส
๋
ปุยโพแทสซียมซัลเฟตผลิตได้จากการนาแร่
๋
แลงบี ไนต์ (K2SO4∙2MgSO4)มาละลายในน้าอ ุณหภมิ
ู
ประมาณ 50 องศาเซลเซียส จนเปนสารละลายอิ่มตัว
็
แล้วเติมสารละลาย KClเข้มข้นลงไปจะได้ผลึก K2SO4
แยกออกมาดังสมการK2SO4∙2MgSO4 + 4KCl —>
2MgCl2 + 3 K2SO4
ปุยโพแทส
๋
ยังสามารถผลิตปุยชนิดนี้จากน้าทะเล โดยการระเหย
๋
น้าทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให้มี ความ
เข้มข้นสูงขึ้น เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน
นาสารละลายที่ได้ไประเหยน้าออกเพื่อทาให้มี ความ
เข้มข้นมากขึ้นทาให้ KCl ตกผลึกออกมาและใช้เปนปุย
็ ๋
KCl ได้
ปุยโพแทส
๋
นอกจากนี้ถานา KCl มาทาปฏิกริยากับ NaNO3 จะได้
้
ปุยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) ดังสมการ
๋
KCl + NaNO3 —> NaCl + KNO3
ปุยโพแทส
๋
โพแทสเซียมเปนธาต ุอาหารหลักที่จาเปนต่อพื ชมาก
็
็
ทาให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้างภมิตา นทานโรค
ู ้
และเปนตัวเร่งให้เซลล์ทางานได้ดีข้ ึน ถ้าพื ชขาด
็
โพแทสเซียมจะทาให้มีปริมาณแปงต่ากว่าปกติ
้
ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสีซีด ลาต้นอ่อน แคระแกร็น
และเมล็ดลีบ

กลับหน้าหลัก
ปุยผสม
๋
ปุยผสมได้จากการนาปุยไรโตรเจน ฟอสเฟสและ
๋
๋
โพแทสมาผสมรวมกันเพื่อให้ได้สดส่วนของธาต ุ
ั
อาหารพืชตามต้องการ หรือปุยที่ได้จากการนาเอาปุย
๋
๋
ตังแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกัน เมื่อผสมแล้ว อาจมี
้
ธาต ุหลัก ( primary nutrient) เพียงธาต ุเดียวก็ได้ เช่น
การนาเอา MgSO 4 .7H 2 O มาผสมกับ triple
supper phosphate (TSP) เปนต้น
็
วิธีการผลิต มี 2 ลักษณะ ดังนี้
ปุยผสม
๋
1. การผลิตในลักษณะเชิงผสม เปนวิธีที่ใช้อยู่
็
ในโรงงานส่วนใหญ่ในประเทศ ซึ่งอาจเปนแบบผสม
็
เปนเนื้อเดียวโดยการนาแม่ปยและส่วนผสมต่ างๆมา
็
ุ๋
บดให้เข้ากันแล้วอัดเปนเม็ด ในแต่ละเม็ดจะมี ธาต ุ
็
อาหารตรงตามสูตรที่ตองการ เก็บไว้นาน ๆ จะไม่จบ
้
ั
กันเปนก้อนแข็ง สะดวกแก่การใช้เปนอย่างยิ่ง
็
็
ปุยผสม
๋
ส่วนอีกแบบหนึ่งคือการนาแม่ปยที่มีขนาดเล็ก
ุ๋
ใกล้เคียงกันมาผสมกัน เพื่อให้ได้สตรตามความ
ู
ต้องการ และอาจมีการบดให้ละเอียดจนเข้ากันดี ทา
ให้ปยแต่ละเม็ดอาจมีธาต ุอาหารแตกต่างกัน การปั้น
ุ๋
เปนเม็ดขนาดสม่าเสมอสะดวกในการใส่ลงไปในไร่น า
็
ปุยพวกนี้เก็บไว้นาน ๆ จะไม่จบกันเปนก้อนแข็ง
๋
ั
็
สะดวกแก่
ปุยผสม
๋
2. การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ เปนการนา
็
วัตถ ุดิบที่ใช้ในการผลิตแม่ปยมาผสมและให้ทา
ุ๋
ปฏิกิริยากัน เกิดเปนสารประกอบต่างๆ เพื่อให้ได้ปย
็
ุ๋
ตามสูตรที่ ตองการ
้
ข้อดีของปุยผสม
๋
มีธาต ุอาหารหลายธาต ุในหีบห่อเดียวกัน ทาให้สะดวก
ต่อการขนส่งและการใช้
ปุยผสม
๋
ปุยผสมมีสมบัติทางกายภาพดี ลดปัญหาการ
๋
ด ูดความชื้น และการจับตัวกันเปนก้อน ปุยเม็ ดที่จบ
็
๋
ั
ตัวกันเปนก้อนจะสร้างปัญหาให้กบเครื่องหว่านปุย
็
ั
๋
มาก
สามารถผลิตให้เหมาะกับชนิดของพืชที่ปล ูก และชนิด
ของดินที่เกษตรกรครอบครองอยู่ ง่ายต่อการแนะนา
เกษตรกร
ปุยผสม
๋
ปุยผสมสามารถจาแนกได้เปน 2 ชนิด ตาม
๋
็
กรรมวิธีการผลิต
1. ปุยผสมคล ุกเคล้า ( bulk blend) ปุยผสมชนิดนี้ ผลิต
๋
๋
โดยนาแม่ปยตังแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมคล ุกเคล้ากัน
ุ๋ ้
ด้วยวิธีกล ( mechanical mixing) การผลิตปุยผสมชนิ ด
๋
นี้มีตนท ุนในการผลิตต่า ในประเทศไทยมีโรงงานผลิต
้
ปุยผสมแบบนี้มากกว่า 10 โรง ปุยผสมชนิดนี้ เลือกใช้
๋
๋
แม่ปยได้นอยชนิด
ุ๋
้
ปุยผสม
๋
เนื่องจากแม่ปยจะต้องไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี ต่อกัน มี
ุ๋
ขนาดเม็ดปุยและความหนาแน่นใกล้เคียงกัน เพื่ อ
๋
ไม่ให้ปยแยกออกจากกันระหว่างการขนส่ง
ุ๋
ข้อดีของวิธี bulk blending
ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงงานต่อ
ต้นท ุนในการผลิตต่า
ปุยผสม
๋
ข้อเสียของวิธี bulk blending
ปุ๋ ยผสมที่ได้มีแนวโน้มแยกจากกันในระหว่างบรรจุกระสอบ
และขนส่ง โดยเฉพาะเมื่อแม่ปุ๋ยแต่ละชนิดมีขนาด รูปร่าง
และความหนาแน่นต่างกันมาก
ยากต่อการผสมปุ๋ ยปริมาณน้อย ๆ เช่น ปุ๋ ยจุลธาตุลงไปใน
แม่ปุ๋ยที่มีปริมาณมาก เพื่อให้ได้ส่วนผสมที่ กระจาย
ตัวอย่างสมาเสมอ ยากต่อการกาหนดสูตรปุ๋ ยที่ แน่นอน
่
โดยเฉพาะเมื่อแม่ปุ๋ยที่นามาผสมแยกจากกันได้ง่าย
ปุยผสม
๋
ไม่เหมาะกับแม่ปยที่เกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่ างกัน ทา
ุ๋
ให้จานวนแม่ปยที่สามารถนามาผสมได้มีจานวน
ุ๋
จากัด
2. ปุยผสมแบบปั้นเม็ด ( steam granulation) ปุยผสม
๋
๋
ชนิดนี้ผลิตโดยนาแม่ปยตังแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสม
ุ๋ ้
กับสารถ่องน้าหนัก (filler) และ/หรือสารเติมแต่ง (
fortilizer additive) มาผสมกัน
ปุยผสม
๋
ฉีดพ่นไอน้า หรือสารละลายต่าง ๆ เช่น NH4OH
H2SO4 หรือ H3PO4 เปนต้น ลงไปเพื่อให้ส่วนผสม
็
ชื้น ปล่อยให้ปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ เกิดขึ้นจนสมบูรณ์
แล้วจึงปั้นส่วนผสมทังหมดให้เปนเม็ด
้
็

กลับสูสารบัญ
่
แบบฝึ กหัด
1 .ต่อไปนี้ ข้อใดที่ไม่นำมำใช้เป็ นวัตถุดิบในกำรผลิตปุยยูเรียและปุยแอมโมเนี ยซัลเฟต
๋
๋
ก. กำมะถัน
ข. อำกำศ
ค. มีเทน
ง. คำร์บอนไดออกไซด์
2 . ในกำรผลิตปุยซูเปอร์ฟอสเฟตจำกหินฟอสเฟต จะเกิดสำรมลพิษในข้อใด
๋
ก. P2O3
ข. SO3
ค. HF
ง. CO
3.จงพิจำรณำว่ำข้อควำมที่เกี่ยวข้องกับกำรผลิตปุยไนโตรเจนข้อใดไม่ถูกต้อง
๋
ก. สำรตั้งต้นในกำรผลิตปุยยูเรียคือ อำกำศและแก๊สธรรมชำติ
๋
ข. สำรตั้งต้นที่ใช้ผลิตปุยแอมโมเนี ยมซัลเฟต คืออำกำศแก๊สธรรมชำติ และกำมะถัน
๋
ค. ถ้ำนำ H2S2O7,H2OและNH3มำทำปฏิกิริยำกันจะได้ปุยแอมโมเนี ย ซัลเฟต
๋
ง. ปุยยูเรียและปุยแอมโมเนี ยมซัลเฟต ถ้ำใช้ในปริมำณมำกจะทำให้ดินมี สมบัติเป็ นกรด
๋
๋
4. ต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรผลิตปุยโพแทส
๋
ก. นิ ยมบอกควำมเข้มข้นเป็ นค่ำร้อยละของ K2O
ข. กำรผลิตปุย KClด้วยกำรบดแร่ KCl + NaClละลำยน้ ำเย็นปล่อยไว้ จนตกผลึก
๋
ค. ปุยKClสำมำรถผลิตได้จำกน้ ำทะเลจะเกิดกำรตกผลึกภำยหลัง NaCl
๋
ง. ผลิตปุย KNO3 โดยนำ KCl ทำปฏิกิริยำเคมีกบ NaNO3
๋
ั
5 .ปุ๋ ยใดให้ร้อยละโดยมวลของไนโตรเจนมากที่สุด
ก. ปุ๋ ยยูเรี ย
ข. ปุ๋ ยแอมโมเนี ยมซัลเฟต
ค. ปุ๋ ยโซเดียมไนเตรต
ง. ปุ๋ ยแอมโมเนี ยมฟอสเฟต
6. การกาจัด HF ซึ่ งเป็ นสารมลพิษจากกระบวนการผลิตปุ๋ ยซุปเปอร์ ฟอสเฟตในอุต สาหกรรม
โดยให้แก๊ส HF ทาปฏิกิริยากับสารใด

ก. NaOH และ Na2CO3
ข. Na2CO3 และ CaCO3
ค. CaCO3 และ Ca(OH)2

ง. HCl และ NaOH
7.ถ้ำ H2SO4 รำคำลดลงกว่ำปั จจุบน 50% รำคำปุยชนิ ดใดจะมีตนทุนกำรผลิ ตที่ลดลง
ั
๋
้
ก.ปุยฟอสเฟต ปุยยูเรีย
๋
๋
ข. ปุยยูเรีย ปุยแอมโมเนี ยมซัลเฟต
๋
๋
ค. ปุยแอมโมเนี ยมซัลเฟต ปุยโพแทส
๋
๋

ง. ปุยฟอสเฟต ปุยแอมโมเนี ยมซัลเฟต
๋
๋
8. ในกำรผลิตปุยแอมโมเนี ยมซัลเฟต (NH4)2SO4 และยูเรีย CO(NH2)2มีสำรเคมี
๋
ที่เกี่ยวข้องในกระบวนกำรผลิตอยู่หลำยชนิ ด จงพิจำรณำว่ำสำรชนิ ดใดต่อไปนี้ เป็ น
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกปฏิกิริยำระหว่ำงแก๊สมีเทนกับแก๊สออกซิเจน

ก. CO และ CO2
ข. NH3 และ H2
ค. H2 และ CO

ง. H2 และ CO2
9. ข้อใดเป็ นปุยวิทยำศำสตร์
๋
ก. ฮิวมัส
ข. ปุยคอก
๋
ค. ปุยยูเรีย
๋
ง. ปุยพืชสด
๋
10. กำรใช้ปุยวิทยำศำสตร์มำกเกินไปจะทำให้ดินเสียหรือเรียกว่ำดินเปรี้ ยว ปุยประเภทนี้
๋
๋
คือข้อใด

ก. ปุยแอมโมเนี ยซัลเฟต
๋
ข. ปุยโพแทส
๋
ค. ปุยยูเรีย
๋

ง. ปุยแอมโมเนี ย
๋

เฉลย

กลับสูสารบัญ
่
เฉลยแบบทดสอบ
1.ง
2.ค
3.ง
4.ข
5.ก
6.ข
7.ง
8.ค
9.ก
10.ก
จัดทาโดย
นายเกียรติศกดิ์ ถานาเรือ ชันมัธยมศึกษาปที่ 5/3 เลขที่ 1
ั
้
ี
นายกริชรัตน์ เสธา

ชันมัธยมศึกษาปที่ 5/3 เลขที่ 2
้
ี

นายส ุรเสก ติคารัมย์

ชันมัธยมศึกษาปที่ 5/3 เลขที่ 10
้
ี

นางสาวพิญชินี สมศักดิ์ ชันมัธยมศึกษาปที่ 5/3 เลขที่ 17
้
ี
นางสาวจริณพร เทพสืบ ชัน มัธยมศึกษาปที่ 5/3 เลขที่ 22
้
ี

More Related Content

Similar to 01 (6)

Ppt
PptPpt
Ppt
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
Minboi
MinboiMinboi
Minboi
 
เบส
เบสเบส
เบส
 

More from Surasek Tikomrom

More from Surasek Tikomrom (11)

สำเร๊จ
สำเร๊จสำเร๊จ
สำเร๊จ
 
01
0101
01
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
 
8ปลา
8ปลา8ปลา
8ปลา
 
7กระต่าย
7กระต่าย 7กระต่าย
7กระต่าย
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
3แมว
3แมว3แมว
3แมว
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
กลุ่ม 3
กลุ่ม 3กลุ่ม 3
กลุ่ม 3
 

01