SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
บทที่ 1
เริ่มต้นการใช้งาน
โปรแกรม Visual Basic (VB) เป็นโปรแกรมสำาหรับพัฒนาโปรแกรม
ประยุกต์ที่กำาลังเป็นที่ นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน โปรแกรม Visual Basic เป็น
โปรแกรมที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการเขียนโปรแกรมใหม่ โดยมีชุดคำาสั่งมาสนับสนุ
นการทำางาน มีเครื่องมือต่าง ๆ ที่เรียกกันว่า คอนโทรล(Controls) ไว้สำาหรับ
ช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้นการออกแบบหน้าจอแบบกราฟฟิก หรือ
ที่เรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทำาให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็นไป
ได้ง่าย และในการเขียนโปรแกรมนั้นจะเขียนแบบ Event - Driven
Programming คือ โปรแกรมจะทำางานก็ต่อเมื่อเหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้น
ตัวอย่างของเหตุการณ์ได้แก่ ผู้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู้ใช้กดปุ่มบนคีย์บอร์ด ผู้ใช้กดปุ่ม
เมาส์ เป็นต้น
เครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่า
จะเป็น Form TextBox Label ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ (Object ในที่นี้ขอใช้คำาว่า
ออบเจ็กต์) นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือใด ๆ ใน Visual Basic จะ
เป็นออบเจ็กต์ทั้งสิ้น สามารถที่จะควบคุมการทำางาน แก้ไขคุณสมบัติของออบ
เจ็กต์นั้นได้โดยตรง ในทุกๆ ออบเจ็กต์จะมีคุณสมบัติ (properties) และเมธอด
(Methods) ประจำาตัว ซึ่งในแต่ละออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติและเมธอดที่
เหมือน หรือต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของออบเจ็กต์
ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic การเขียนโค้ดจะถูก
แบ่งออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า โพรซีเดอร์ (procedure) แต่ละโพรซีเดอร์จะ
ประกอบไปด้วย ชุดคำาสั่งที่พิมพ์เข้าไปแล้ว ทำาให้คอนโทรลหรือออบเจ็กต์นั้น ๆ
ตอบสนองการกระทำาของผู้ใช้ ซึ่งเรียกว่าการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object
Oriented Programming-OOP) แต่ตัวภาษา Visual Basic ยังไม่ถือว่า
เป็นการเขียนโปรแกรมแบบ OOP อย่างแท้จริง เนื่องจากข้อจำากัดหลายๆ อย่าง
ที่ Visual Basic ไม่สามารถทำาได้
เข้าสู่โปรแกรม Visual Basic
เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic จะแสดงกรอบโต้ตอบสำาหรับเลือกชนิดของ
โปรแกรมประยุกต์ ที่ต้องการ
รูปที่ 1-1 กรอบโต้ตอบเมื่อเริ่มเปิด Visual Basic
ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่ว ๆ ไป
ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่สามาระใช้งานและเชื่อมโยงกับโปรแกรม
ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX
เป็นโปรแกรมประยุกต์ชนิดเดียวกันกับ ActiveX.EXE แต่จะเก็บเป็น
ไฟล์ไลบราลี่ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง จะต้องถูกเรียกใช้
งานจากโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ
ใช้สร้างคอนโทรล ActiveX ขึ้นมาใช้งานเอง
2
เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถสร้างโปรแกรมประยุกต์ได้อย่างรวดเร็ว
โดยจะสร้างองค์ประกอบเบื้องต้นหลัก ๆ ของโปรแกรมประยุกต์ จากขั้น
ตอนที่ได้เลือกไว้
ใช้สำาหรับสร้างโปรแกรมการจัดการต่าง ๆ เช่น การติดต่อกับฐาน
ข้อมูล เป็นต้น
เป็นชนิดโปรเจ็กต์ที่เป็นแบบฟอร์ม เพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลโดยผ่าน
ทางคอนโทรล ADO Data Control
โปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ใช้กับ Web Server
ใช้สำาหรับเพิ่มเติม utility เข้าไปใน Visual Basic เพื่อเพิ่มความ
ประสิทธิภาพ
ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ที่ประมวลผลบน Internet จะเก็บอยู่ในรูป
ไฟล์ .dll ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง ต้องให้โปรแกรม
ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX เรียกใช้งาน เช่น
Internet Explorer เป็นต้น
ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ประมวลผลบน Internet เช่นกัน แต่
จะเก็บอยู่ในรูปไฟล์ .exe สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวเอง แต่ server
จะต้องสนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX ด้วยเช่นกัน เช่น Internet
Explorer เป็นต้น
ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์รูปแบบของเอกสาร Dynamic HTML ซึ่ง
จะเป็นมาตรฐานใหม่ของการแสดงผลบน web
ใช้สำาหรับโหลด Visual Basic ในรูปแบบที่ใช้พัฒนาโปรแกรม
ประยุกต์ในระดับ Enterprise ซึ่ง Visual Basic จะเพิ่มคอนโทรล
ActiveX อีกจำานวนหนึ่งขึ้นมาโดยอัตโนมัติ
สำาหรับ แท็ป Existing ใช้สำาหรับเปิดโปรเจ็กต์ที่คุณมีอยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยเปิด
ใช้
แท็ป Recent จะแสดงรายชื่อโปรเจ็กต์ที่เคยเรียกใช้แล้ว
3
เมื่อเลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์เป็นแบบ Standard EXE จะเข้าสู่หน้าต่าง
ของ Visual Basic ดังรูปที่ 1- 2
รูปที่ 1-2 หน้าต่างของ Visual Basic เมื่อเริ่มโปรแกรม
ในแต่ละส่วนของ Visual Basic จะมีหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งในระหว่างการ
พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ จะต้องใช้ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ในการพัฒนาโปรแกรม
ประยุกต์
ทูลบาร์ (Toolbars)
เป็นแถบสัญลักษณ์ที่ใช้สำาหรับเข้าถึงชุดคำาสั่งของ Visual Basic ได้ทันที โดย
จะนำาคำาสั่งที่ถูกใช้งานบ่อย ๆ มาแสดง
4
รูปที่ 1-3 Toolbars
ทูลบาร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. Standard Toolbars เป็นทูลบาร์มาตรฐานประกอบด้วยคำาสั่งที่เกี่ยวกับการ
จัดการ Project
2. Edit Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับช่วยในการ
เขียนโค้ดใน code editor
3. Debug Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับตรวจสอบ
การทำางานการประมวลผลโปรแกรม
4. Form Editor Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับ
ช่วยในการปรับขนาด, ย้าย, เปลี่ยนตำาแหน่งคอนโทรลต่าง ๆ ที่อยู่บนฟอร์ม
Toolboxs
คือแถบสัญลักษณ์ Controls ต่าง ๆ ที่ใช้สำาหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ แบ่ง
เป็น 2 กลุ่ม คือ
รูปที่ 1-4
Toolboxs
1. คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เป็นชุด
คอนโทรลมาตรฐานของ Visual Basic ทุก ๆ ครั้งที่มีการ
เรียกใช้ Form เพื่อสร้างโปรแกรมประยุกต์ คอลโทรลชุดนี้
จะถูกเรียกขึ้นมาอัตโนมัติ สามารถเลือกใช้งานคอลโทรล
กลุ่มนี้ได้ทันที
5
รูปที่ 1-5 แสดงรายการคอนโทรล ActiveX เพิ่ม
เติม
2. คอนโทรล ActiveX
(ActiveX controls) เป็นชุด
คอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโคร
ซอฟท์จัดเตรียมไว้ เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการพัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ การเพิ่ม
คอนโทรลกลุ่มนี้เข้ามาในทูล
บ๊อกซ์ทำาโดยเลือกเมนู
Project/Components (หรือ
คลิ๊กขวาตรงแถบ
ทูลบ๊อกซ์เลือกคำาสั่ง
Form Designer
เป็นส่วนที่ใช้ออกแบบการแสดงผลส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ ฟอร์มเป็นออบเจ็กต์
แรกที่ถูกเตรียมไว้ให้ใช้งาน คอลโทรลทุกตัวที่ต้องการใช้งานจะต้องนำาไป
บรรจุไว้ในฟอร์ม นำาคอลโทรลมาประกอบกันขึ้นเป็นโปรแกรมประยุกต์ ทุกครั้ง
ที่เปิด Visual Basic ขึ้นมา หรือ สร้าง Project ใหม่จะมีฟอร์มว่าง 1 ฟอร์มถูก
สร้างเตรียมไว้เสมอ
6
รูปที่ 1-6 Form Designer
Project Explorer
Project Explorer ใช้สำำหรับบริหำรและจัดกำรโปรเจ็กซ์ โดยจะแสดงองค์
ประกอบของแต่ละโปรเจ็กต์แบบโครงร่ำงต้นไม้ (tree-view)ตัวโปรเจ็กตจะ
หมำยถึงโปรแกรมประยุกต์ซึ่งจะอยู่ส่วนบนสุด ถัดมำ จะแสดงส่วนประกอบต่ำง
ๆ ของโปรเจ็กต์นั้น ๆ ว่ำประกอบด้วยอะไรบ้ำง เช่น ฟอร์มโมดูล รำยงำน
เป็นต้น ถ้ำมี 2 โปรเจ็กต์ขึ้นไป ก็จะแสดง แยกออกเป็นส่วนต่ำงหำกอีกโปร
เจ็กต์ ถ้ำต้องกำรใช้งำนส่วนใด ของโปรเจ็กต์ไหนก็สำมำรถคลิ๊กเลือกได้ทันที
รูปที่ 1-7 Project Explorer แบบโปรเจ็กต์เดียว และ แบบหลำยโปรเจ็กต์
ส่วนประกอบของโปรเจ็กต์
Project(
n)
คือโปรแกรมประยุกต์ที่พัฒนำอยู่ มีนำมสกุล .vbp
Form(n)
เป็นฟอร์มที่มีอยู่ในโปรเจ็กต์นั้น ๆ ใน 1 โปรเจ็กต์อำจมีมำกกว่ำ 1
ฟอร์มก็ได้ มีนำมสกุล .frm
7
Modules
เป็นที่เก็บชุดคำำสั่งที่คุณเขียนขึ้นมำ โดยจะเก็บชุดคำำสั่งที่ใช้บ่อย ๆมี
นำมสกุล .bas
Class
Modules
เป็นโมดูลชนิดพิเศษที่มีลักษณะเป็นอ๊อบเจ็กต์ ที่สำมำรถสร้ำงขึ้นมำ
ได้ จะมีนำมสกุล .cls
User
controls
เป็นส่วนที่เก็บคอนโทรล ActiveX ที่คุณสร้ำงขึ้นมำ มีนำมสกุล .ctl
Designe
rs
เป็นส่วนของรำยงำนที่ถูกสร้ำงขึ้นมีนำมสกุลเป็น .dsr
Properties Window
หน้ำต่ำงคุณสมบัติเป็นส่วนที่ใช้กำำหนดคุณสมบัติของออบเจ็กต์ที่ถูกเลือก
(adtive) หรือได้รับควำมสนใจ (focus) อยู่ขณะนั้น ซึ่งสำมำรถที่จะปรับ
เปลี่ยนค่ำต่ำง ๆ ของคอลโทรลเพื่อให้เกิดควำมเหมำะสมและตรงกับควำม
ต้องกำรใช้งำนได้ทันที
รูปที่ 1-8 Properties Window
ในหน้ำต่ำงคุณสมบัติ จะประกอบไปด้วยแท็ป 2 แท็ป คือ
1. แท็ป Alphabetic เป็นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ เรียงตำมตัวอักษรใน
ภำษำอังกฤษ
2. แท็ป Categorized เป็นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ โดยกำรจัดกลุ่มของ
คุณสมบัติที่มีหน้ำที่คล้ำยกัน หรือมีควำมสัมพันธ์กัน
หน้ำต่ำง Form Layout
8
เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นตำำแหน่งของฟอร์ม และสำมำรถกำำหนดตำำแหน่งของ
ฟอร์ม ที่ปรำกฎบนจอภำพในขณะประมวลผลได้ โดยกำรเคลื่อนย้ำยฟอร์ม
จำำลอง ที่อยู่ในจอภำพจำำลองด้วยกำร drag เมำส์ ไปยังตำำแหน่งทีคุณต้องกำร
โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเท่ำนั้น
รูปที่ 1-9 Form Layout
Immediate Window
เป็นหน้ำต่ำงที่ให้ประโยชน์ ในกรณีทีคุณต้องกำรทรำบผล กำรประมวลผลโดย
ทันที เช่น กำรทดสอบโปรแกรมย่อย ต่ำง ๆ เป็นต้น เมื่อคุณสั่งประมวลผลโปร
เจ็กต์ หน้ำต่ำงนี้จะปรำกฎขึ้นโดยอัตโนมัติ
รูปที่ 1-10 Immediate Window
หน้ำต่ำง New Project
หน้ำต่ำง New Project จะปรำกฎขึ้นมำเมื่อเลือกเมนู File/New Project
กรอบโต้ตอบนี้ จะแสดงชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่คุณต้องกำรพัฒนำ ซึ่งจะ
9
คล้ายกับตอนที่เปิดโปรแกรม Visual Basic ขึ้นมาครั้งแรก
รูปที่ 1-11 กรอบโต้ตอบ New Project
หน้าต่าง Code Editor
เป็นส่วนที่ใช้ในการเขียนชุดคำาสั่งสำาหรับการประมวลผล และควบคุมการ
ทำางานของคอลโทรลต่าง ๆ
รูปที่ 1-12 Code Editor
10

More Related Content

What's hot

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานThachanok Plubpibool
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0พลอย จ้า
 
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0Bass Bass
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Kamonthip Konkaew
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1ABELE Snvip
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 pom_2555
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)Anekphongtupan
 
Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorwarepui3327
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
ใบงานคอม 5 8
ใบงานคอม 5 8ใบงานคอม 5 8
ใบงานคอม 5 8IRainy Cx'cx
 

What's hot (16)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Visual basic 6.0
 
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
ส่งงาน Microsoft Visual Basic 6.0
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
Eng prac (2)
Eng prac (2)Eng prac (2)
Eng prac (2)
 
คอม 1
คอม 1คอม 1
คอม 1
 
2.1
2.12.1
2.1
 
Work3
Work3Work3
Work3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
 
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
งานนำเสนอ(เริ่มต้นกับAuthorware)
 
Authorware
AuthorwareAuthorware
Authorware
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
 
ใบงานคอม 5 8
ใบงานคอม 5 8ใบงานคอม 5 8
ใบงานคอม 5 8
 

Similar to Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน

หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร
หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร  หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร
หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร ณัฐพล บัวพันธ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5natnardtaya
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1patchareepoim
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Moo Mild
 
ใบงานท 5
ใบงานท   5ใบงานท   5
ใบงานท 5Milk MK
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Bai'mon Chankaew
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทChully Nack
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทWattanachai Nilapan
 

Similar to Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน (20)

Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application Vb6 4 การสร้าง Application
Vb6 4 การสร้าง Application
 
K5
K5K5
K5
 
บุญนภา วสันต์
บุญนภา วสันต์บุญนภา วสันต์
บุญนภา วสันต์
 
หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร
หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร  หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร
หน่วยที่ 3 โปรแกรมจัดการด้านเอกสาร
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอยินดีนำเสนอ
ยินดีนำเสนอ
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
K5
K5K5
K5
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานท 5
ใบงานท   5ใบงานท   5
ใบงานท 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงาน5
ใบงาน5ใบงาน5
ใบงาน5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
4
44
4
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 

More from ณัฐพล บัวพันธ์

เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh ณัฐพล บัวพันธ์
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 

More from ณัฐพล บัวพันธ์ (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่นรายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
 
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียนกำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
 
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา  บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
 
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรีบทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
 
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright  บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
 
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright  บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
 
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุกบทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
ผลการสอบม4
ผลการสอบม4ผลการสอบม4
ผลการสอบม4
 
การจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียนการจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียน
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน

  • 1. บทที่ 1 เริ่มต้นการใช้งาน โปรแกรม Visual Basic (VB) เป็นโปรแกรมสำาหรับพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ที่กำาลังเป็นที่ นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน โปรแกรม Visual Basic เป็น โปรแกรมที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการเขียนโปรแกรมใหม่ โดยมีชุดคำาสั่งมาสนับสนุ นการทำางาน มีเครื่องมือต่าง ๆ ที่เรียกกันว่า คอนโทรล(Controls) ไว้สำาหรับ ช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้นการออกแบบหน้าจอแบบกราฟฟิก หรือ ที่เรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทำาให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็นไป ได้ง่าย และในการเขียนโปรแกรมนั้นจะเขียนแบบ Event - Driven Programming คือ โปรแกรมจะทำางานก็ต่อเมื่อเหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้น ตัวอย่างของเหตุการณ์ได้แก่ ผู้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู้ใช้กดปุ่มบนคีย์บอร์ด ผู้ใช้กดปุ่ม เมาส์ เป็นต้น เครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่า จะเป็น Form TextBox Label ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ (Object ในที่นี้ขอใช้คำาว่า ออบเจ็กต์) นั่นหมายความว่า ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือใด ๆ ใน Visual Basic จะ เป็นออบเจ็กต์ทั้งสิ้น สามารถที่จะควบคุมการทำางาน แก้ไขคุณสมบัติของออบ เจ็กต์นั้นได้โดยตรง ในทุกๆ ออบเจ็กต์จะมีคุณสมบัติ (properties) และเมธอด (Methods) ประจำาตัว ซึ่งในแต่ละออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติและเมธอดที่ เหมือน หรือต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของออบเจ็กต์ ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic การเขียนโค้ดจะถูก แบ่งออกเป็นส่วนๆ เรียกว่า โพรซีเดอร์ (procedure) แต่ละโพรซีเดอร์จะ ประกอบไปด้วย ชุดคำาสั่งที่พิมพ์เข้าไปแล้ว ทำาให้คอนโทรลหรือออบเจ็กต์นั้น ๆ ตอบสนองการกระทำาของผู้ใช้ ซึ่งเรียกว่าการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming-OOP) แต่ตัวภาษา Visual Basic ยังไม่ถือว่า เป็นการเขียนโปรแกรมแบบ OOP อย่างแท้จริง เนื่องจากข้อจำากัดหลายๆ อย่าง ที่ Visual Basic ไม่สามารถทำาได้
  • 2. เข้าสู่โปรแกรม Visual Basic เมื่อเข้าสู่โปรแกรม Visual Basic จะแสดงกรอบโต้ตอบสำาหรับเลือกชนิดของ โปรแกรมประยุกต์ ที่ต้องการ รูปที่ 1-1 กรอบโต้ตอบเมื่อเริ่มเปิด Visual Basic ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทั่ว ๆ ไป ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่สามาระใช้งานและเชื่อมโยงกับโปรแกรม ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX เป็นโปรแกรมประยุกต์ชนิดเดียวกันกับ ActiveX.EXE แต่จะเก็บเป็น ไฟล์ไลบราลี่ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง จะต้องถูกเรียกใช้ งานจากโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ ใช้สร้างคอนโทรล ActiveX ขึ้นมาใช้งานเอง 2
  • 3. เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้สามารถสร้างโปรแกรมประยุกต์ได้อย่างรวดเร็ว โดยจะสร้างองค์ประกอบเบื้องต้นหลัก ๆ ของโปรแกรมประยุกต์ จากขั้น ตอนที่ได้เลือกไว้ ใช้สำาหรับสร้างโปรแกรมการจัดการต่าง ๆ เช่น การติดต่อกับฐาน ข้อมูล เป็นต้น เป็นชนิดโปรเจ็กต์ที่เป็นแบบฟอร์ม เพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลโดยผ่าน ทางคอนโทรล ADO Data Control โปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ใช้กับ Web Server ใช้สำาหรับเพิ่มเติม utility เข้าไปใน Visual Basic เพื่อเพิ่มความ ประสิทธิภาพ ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ที่ประมวลผลบน Internet จะเก็บอยู่ในรูป ไฟล์ .dll ไม่สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวมันเอง ต้องให้โปรแกรม ประยุกต์อื่น ๆ ที่สนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX เรียกใช้งาน เช่น Internet Explorer เป็นต้น ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์ชนิดที่ประมวลผลบน Internet เช่นกัน แต่ จะเก็บอยู่ในรูปไฟล์ .exe สามารถประมวลผลได้ด้วยตัวเอง แต่ server จะต้องสนับสนุนเทคโนโลยี ActiveX ด้วยเช่นกัน เช่น Internet Explorer เป็นต้น ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์รูปแบบของเอกสาร Dynamic HTML ซึ่ง จะเป็นมาตรฐานใหม่ของการแสดงผลบน web ใช้สำาหรับโหลด Visual Basic ในรูปแบบที่ใช้พัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ในระดับ Enterprise ซึ่ง Visual Basic จะเพิ่มคอนโทรล ActiveX อีกจำานวนหนึ่งขึ้นมาโดยอัตโนมัติ สำาหรับ แท็ป Existing ใช้สำาหรับเปิดโปรเจ็กต์ที่คุณมีอยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยเปิด ใช้ แท็ป Recent จะแสดงรายชื่อโปรเจ็กต์ที่เคยเรียกใช้แล้ว 3
  • 4. เมื่อเลือกชนิดของโปรแกรมประยุกต์เป็นแบบ Standard EXE จะเข้าสู่หน้าต่าง ของ Visual Basic ดังรูปที่ 1- 2 รูปที่ 1-2 หน้าต่างของ Visual Basic เมื่อเริ่มโปรแกรม ในแต่ละส่วนของ Visual Basic จะมีหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งในระหว่างการ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ จะต้องใช้ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ในการพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ ทูลบาร์ (Toolbars) เป็นแถบสัญลักษณ์ที่ใช้สำาหรับเข้าถึงชุดคำาสั่งของ Visual Basic ได้ทันที โดย จะนำาคำาสั่งที่ถูกใช้งานบ่อย ๆ มาแสดง 4
  • 5. รูปที่ 1-3 Toolbars ทูลบาร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1. Standard Toolbars เป็นทูลบาร์มาตรฐานประกอบด้วยคำาสั่งที่เกี่ยวกับการ จัดการ Project 2. Edit Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับช่วยในการ เขียนโค้ดใน code editor 3. Debug Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับตรวจสอบ การทำางานการประมวลผลโปรแกรม 4. Form Editor Toolbars เป็นทูลบาร์ที่ประกอบไปด้วยคำาสั่งที่ใช้สำาหรับ ช่วยในการปรับขนาด, ย้าย, เปลี่ยนตำาแหน่งคอนโทรลต่าง ๆ ที่อยู่บนฟอร์ม Toolboxs คือแถบสัญลักษณ์ Controls ต่าง ๆ ที่ใช้สำาหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ แบ่ง เป็น 2 กลุ่ม คือ รูปที่ 1-4 Toolboxs 1. คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เป็นชุด คอนโทรลมาตรฐานของ Visual Basic ทุก ๆ ครั้งที่มีการ เรียกใช้ Form เพื่อสร้างโปรแกรมประยุกต์ คอลโทรลชุดนี้ จะถูกเรียกขึ้นมาอัตโนมัติ สามารถเลือกใช้งานคอลโทรล กลุ่มนี้ได้ทันที 5
  • 6. รูปที่ 1-5 แสดงรายการคอนโทรล ActiveX เพิ่ม เติม 2. คอนโทรล ActiveX (ActiveX controls) เป็นชุด คอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโคร ซอฟท์จัดเตรียมไว้ เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการพัฒนา โปรแกรมประยุกต์ การเพิ่ม คอนโทรลกลุ่มนี้เข้ามาในทูล บ๊อกซ์ทำาโดยเลือกเมนู Project/Components (หรือ คลิ๊กขวาตรงแถบ ทูลบ๊อกซ์เลือกคำาสั่ง Form Designer เป็นส่วนที่ใช้ออกแบบการแสดงผลส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้ ฟอร์มเป็นออบเจ็กต์ แรกที่ถูกเตรียมไว้ให้ใช้งาน คอลโทรลทุกตัวที่ต้องการใช้งานจะต้องนำาไป บรรจุไว้ในฟอร์ม นำาคอลโทรลมาประกอบกันขึ้นเป็นโปรแกรมประยุกต์ ทุกครั้ง ที่เปิด Visual Basic ขึ้นมา หรือ สร้าง Project ใหม่จะมีฟอร์มว่าง 1 ฟอร์มถูก สร้างเตรียมไว้เสมอ 6
  • 7. รูปที่ 1-6 Form Designer Project Explorer Project Explorer ใช้สำำหรับบริหำรและจัดกำรโปรเจ็กซ์ โดยจะแสดงองค์ ประกอบของแต่ละโปรเจ็กต์แบบโครงร่ำงต้นไม้ (tree-view)ตัวโปรเจ็กตจะ หมำยถึงโปรแกรมประยุกต์ซึ่งจะอยู่ส่วนบนสุด ถัดมำ จะแสดงส่วนประกอบต่ำง ๆ ของโปรเจ็กต์นั้น ๆ ว่ำประกอบด้วยอะไรบ้ำง เช่น ฟอร์มโมดูล รำยงำน เป็นต้น ถ้ำมี 2 โปรเจ็กต์ขึ้นไป ก็จะแสดง แยกออกเป็นส่วนต่ำงหำกอีกโปร เจ็กต์ ถ้ำต้องกำรใช้งำนส่วนใด ของโปรเจ็กต์ไหนก็สำมำรถคลิ๊กเลือกได้ทันที รูปที่ 1-7 Project Explorer แบบโปรเจ็กต์เดียว และ แบบหลำยโปรเจ็กต์ ส่วนประกอบของโปรเจ็กต์ Project( n) คือโปรแกรมประยุกต์ที่พัฒนำอยู่ มีนำมสกุล .vbp Form(n) เป็นฟอร์มที่มีอยู่ในโปรเจ็กต์นั้น ๆ ใน 1 โปรเจ็กต์อำจมีมำกกว่ำ 1 ฟอร์มก็ได้ มีนำมสกุล .frm 7
  • 8. Modules เป็นที่เก็บชุดคำำสั่งที่คุณเขียนขึ้นมำ โดยจะเก็บชุดคำำสั่งที่ใช้บ่อย ๆมี นำมสกุล .bas Class Modules เป็นโมดูลชนิดพิเศษที่มีลักษณะเป็นอ๊อบเจ็กต์ ที่สำมำรถสร้ำงขึ้นมำ ได้ จะมีนำมสกุล .cls User controls เป็นส่วนที่เก็บคอนโทรล ActiveX ที่คุณสร้ำงขึ้นมำ มีนำมสกุล .ctl Designe rs เป็นส่วนของรำยงำนที่ถูกสร้ำงขึ้นมีนำมสกุลเป็น .dsr Properties Window หน้ำต่ำงคุณสมบัติเป็นส่วนที่ใช้กำำหนดคุณสมบัติของออบเจ็กต์ที่ถูกเลือก (adtive) หรือได้รับควำมสนใจ (focus) อยู่ขณะนั้น ซึ่งสำมำรถที่จะปรับ เปลี่ยนค่ำต่ำง ๆ ของคอลโทรลเพื่อให้เกิดควำมเหมำะสมและตรงกับควำม ต้องกำรใช้งำนได้ทันที รูปที่ 1-8 Properties Window ในหน้ำต่ำงคุณสมบัติ จะประกอบไปด้วยแท็ป 2 แท็ป คือ 1. แท็ป Alphabetic เป็นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ เรียงตำมตัวอักษรใน ภำษำอังกฤษ 2. แท็ป Categorized เป็นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ โดยกำรจัดกลุ่มของ คุณสมบัติที่มีหน้ำที่คล้ำยกัน หรือมีควำมสัมพันธ์กัน หน้ำต่ำง Form Layout 8
  • 9. เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นตำำแหน่งของฟอร์ม และสำมำรถกำำหนดตำำแหน่งของ ฟอร์ม ที่ปรำกฎบนจอภำพในขณะประมวลผลได้ โดยกำรเคลื่อนย้ำยฟอร์ม จำำลอง ที่อยู่ในจอภำพจำำลองด้วยกำร drag เมำส์ ไปยังตำำแหน่งทีคุณต้องกำร โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเท่ำนั้น รูปที่ 1-9 Form Layout Immediate Window เป็นหน้ำต่ำงที่ให้ประโยชน์ ในกรณีทีคุณต้องกำรทรำบผล กำรประมวลผลโดย ทันที เช่น กำรทดสอบโปรแกรมย่อย ต่ำง ๆ เป็นต้น เมื่อคุณสั่งประมวลผลโปร เจ็กต์ หน้ำต่ำงนี้จะปรำกฎขึ้นโดยอัตโนมัติ รูปที่ 1-10 Immediate Window หน้ำต่ำง New Project หน้ำต่ำง New Project จะปรำกฎขึ้นมำเมื่อเลือกเมนู File/New Project กรอบโต้ตอบนี้ จะแสดงชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่คุณต้องกำรพัฒนำ ซึ่งจะ 9
  • 10. คล้ายกับตอนที่เปิดโปรแกรม Visual Basic ขึ้นมาครั้งแรก รูปที่ 1-11 กรอบโต้ตอบ New Project หน้าต่าง Code Editor เป็นส่วนที่ใช้ในการเขียนชุดคำาสั่งสำาหรับการประมวลผล และควบคุมการ ทำางานของคอลโทรลต่าง ๆ รูปที่ 1-12 Code Editor 10