SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
ใบงานที่ 5
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
• เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่ วน
ใหญ่จะอยูในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูปซอฟต์แวร์ พิมพ์งาน และ
ซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการ
พิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลราคาซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้
ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ การวาดรูป
พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้
เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับ
ช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดู
วาด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์เพื่อพิจารณาและแก้ไข
ภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวกตัวอย่างโครงการการแข่งขันพัฒนา
ซอฟแวร์โครงการ "การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่ง
ประเทศไทย(National Software Contest: NSC)
• การพัฒนาทักษะในการเขียนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น ประเทศไทยมี
ศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศได้ แต่การผลิตบุคลากรที่จะมาพัฒนา
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะต้องอาศัยบุคลากรจานวนมากเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ
แข่งขันให้กับประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ
(เนคเทค) จึงได้จัดทาโครงการการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศ
ไทยนี้เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาได้มีโอกาสพัฒนาทักษะการ
พัฒนาซอฟต์แวร์และนาเอาความรู้ที่ได้เรียนมาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน
โดยสนับสนุนเงินทุนเพื่อเป็นแรงจูงใจและกระตุนให้นกเรียน นิสิต นักศึกษาทาการ
พัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยตนเองและเปิดโอกาสให้มีการประกวดแข่งขันชิงเงินรางวัลใน
ระดับประเทศ อันจะเป็นการสร้างเวทีสาหรับเยาวชนและผู้ที่สนใจในการพัฒนา
ความรู้สู่การเป็นนักวิจัยระดับอาชีพต่อไป “โครงการสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์
ขนาดเล็ก ”ซึ่งได้เริ่มดาเนินการครั้งแรกตั้งแต่ปีงบประมาณ 2537 เนคเทคได้ปรับ
กลยุทธ์ในการดาเนินโครงการโดยจัดให้มีเวทีการแข่งขันในระดับประเทศและเปลี่ยน
ชื่อเป็น “การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย (National
Software Contest : NSC)” ในปี พ.ศ. 2542 ซึ่งผู้ชนะเลิศในแต่ละ
ประเภทจะได้รับ
ใบงานที่ 6
โครงงานประเภท การทดลองทฤษฎี
• เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่างๆ
ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุด
ระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้
หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการ
ศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ
สูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์
ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่ง
จะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มี
จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง
โครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การ
ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็น
วัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
• การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้
๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่า
อยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือความ
อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน
เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัวเรื่องของ
โครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่าน
หนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการ
หรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์
ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้
- ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
- วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้
- งบประมาณ
- ระยะเวลา
- ความปลอดภัย
- แหล่งความรู้
๒.๒ การวางแผน
ต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอ
ต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป
เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน
๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญ
อย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามี
ได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล
๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่
จะทาได้ชัดเจนขึ้น
๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะ
ถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็น
แนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย
๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บ
ข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง
๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑๐) เอกสารอ้างอิง
2.3 การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือ
ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่
ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจน
การบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้
เป็นระเบียบและครบถ้วน
2.4การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด
วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงาน
ควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
2.5 การนาเสนอผลงาน
การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอ
ผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของ
ผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัด
นิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่ง
สาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมี
ความถูกต้องของเนื้อหา
๓. การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษา
ค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุก
โครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน
องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้
๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย
๑) ชื่อโครงงาน
๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา
๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
๔) คานา
๕) สารบัญ
๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี)
๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา
ระยะเวลา และสรุปผล
๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง
๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย
๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อ
โครงงาน
๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน
๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง
ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด ดังตัวอย่างการ
เขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้
ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้
ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละ
หัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการ
ทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหา
คาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ -
เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล
๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการ
ทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่
๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือปัญหา อุปสรรค
(ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
๓. ส่วนท้าย ประกอบด้วย
๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา
บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น
หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์
บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี.
คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน
ปี. หน้า.
๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์
ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด
คือ
• ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ
• ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น
• ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป
• ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผล
แทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป
ที่มา : http://toffykz.blogspot.com/2012/08/6.html
ใบงานที่ 7
โครงงานประเภท การประยุกต์ใช้งาน
ความหมาย
1. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน
ชีวิต ประจาวัน เช่นซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับ
การผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการ
ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุง
ดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้อง
ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อนแล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ
และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพ
ของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์
โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ
เครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทาง
วิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนา
2. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น
ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ
ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่
มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา
และวิเคราะห์ความต้องการของ
ผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้
ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของ
นั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบ
การทางานหรือทดสอบคุณภาพ
ของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไข
ให้มีความสมบูรณ์ผู้เรียนต้องใช้
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือ
ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
(3) สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและ
ตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น
โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการ
คิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครง
งานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ
ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ
สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โปรแกรมระบบงานการกีฬา
โปรแกรมระบบแฟ้ มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001
ตัวอย่างของโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
1. โปรแกรม สารบรรณสาเร็จรูป : Readymade Archivis
2. โปรแกรมระบบฐานข้อมูลทางการแพทย์เบื้องต้น
3. โปรแกรมระบบแฟ้ มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001
4. เครื่องรดน้าต้นไม้และให้อาหารปลาผ่านโทรศัพท์มือถือ
5. เครื่องให้อาหารไก่ไข่อัตโนมัติ
6. ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน
7. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล
8. ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต
9. ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง
10. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง
11. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ
12. โฮมเพจส่วนบุคคล
ที่มา : http://oumsunipharuamsap.blogspot.com/2012/09/7-thanapongkiatsujja.html
ใบงานที่ 8
โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
โครงงานพัฒนาเกมโครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อ
ความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรงเน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี
หลักการโครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่
ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่
และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เค้าโครงโครงงาน
กราฟประยุกต์เป็นลายผ้าด้วยโปรแกรม GSP
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดย
ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วย
การมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรม
ประมวลคา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วน
ซอฟต์แวร์การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้
เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบ
สิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร
ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่
ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก เป็นต้น
ทีมา : http://yukariisan.blogspot.com/2012/09/8.html

More Related Content

What's hot

ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Chatchaphun Sent Work
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทSunipha Ruamsap
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์sirirat28
 
Presentation 2 3
Presentation 2 3Presentation 2 3
Presentation 2 3KTPH2348
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์คนไม่มีชื่อ จริงนะ
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Sunipha Ruamsap
 
สองถ งแปด
สองถ งแปดสองถ งแปด
สองถ งแปดbmbeam
 
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8ploypapas45091
 
Computer project reallll
Computer project reallllComputer project reallll
Computer project reallllTatpicha
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectTatpicha
 
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Sendงานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Sendploypapas45091
 
งานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆงานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆWi Nit
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 84315609
 

What's hot (18)

ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5 6-7-8
5 6-7-85 6-7-8
5 6-7-8
 
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 5 เรื่อง โครงงานประเภท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation 2 3
Presentation 2 3Presentation 2 3
Presentation 2 3
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สองถ งแปด
สองถ งแปดสองถ งแปด
สองถ งแปด
 
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
งานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่2 8
 
Computer project reallll
Computer project reallllComputer project reallll
Computer project reallll
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Pp2
Pp2Pp2
Pp2
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
คอม 5 8
คอม 5 8คอม 5 8
คอม 5 8
 
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Sendงานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
งานวิชาคอมพิวเตอร์ Send
 
งานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆงานๆๆๆๆๆ
งานๆๆๆๆๆ
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 

Similar to ใบงานคอม 5 8

โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีmcf_cnx1
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีmcf_cnx1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Sunipha Ruamsap
 
งานคอมแบง
งานคอมแบงงานคอมแบง
งานคอมแบงFah Phatcharida
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMoomy Momay
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Bt B'toey
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Bai'mon Chankaew
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5naaikawaii
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Pimnutchaya
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5aom08
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Porna Saow
 

Similar to ใบงานคอม 5 8 (20)

โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมแบง
งานคอมแบงงานคอมแบง
งานคอมแบง
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
K3
K3K3
K3
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
4
44
4
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
K5
K5K5
K5
 
K5
K5K5
K5
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
5
55
5
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
5
55
5
 

More from IRainy Cx'cx

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1IRainy Cx'cx
 
2557 project คอม
2557 project คอม2557 project คอม
2557 project คอมIRainy Cx'cx
 
ใบงานที่ 2-4
ใบงานที่ 2-4ใบงานที่ 2-4
ใบงานที่ 2-4IRainy Cx'cx
 
ใบงานคอม2-8
ใบงานคอม2-8ใบงานคอม2-8
ใบงานคอม2-8IRainy Cx'cx
 
ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552IRainy Cx'cx
 
GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554
GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554
GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554IRainy Cx'cx
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555IRainy Cx'cx
 
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55IRainy Cx'cx
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองIRainy Cx'cx
 

More from IRainy Cx'cx (11)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
2557 project คอม
2557 project คอม2557 project คอม
2557 project คอม
 
ใบงานที่ 2-4
ใบงานที่ 2-4ใบงานที่ 2-4
ใบงานที่ 2-4
 
ใบงานคอม2-8
ใบงานคอม2-8ใบงานคอม2-8
ใบงานคอม2-8
 
ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552ข้อสอบสังคม O-NET  ปี2552
ข้อสอบสังคม O-NET ปี2552
 
Thai53
Thai53Thai53
Thai53
 
PAT2 2554
PAT2 2554PAT2 2554
PAT2 2554
 
GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554
GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554
GATภาษาอังกฤษ, มีนาคม 2554
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
 
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
โจทย์ ฟิสิกส์ กสพท.'55
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 

ใบงานคอม 5 8

  • 2. • เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่ วน ใหญ่จะอยูในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูปซอฟต์แวร์ พิมพ์งาน และ ซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการ พิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลราคาซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้ เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับ ช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดู วาด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์เพื่อพิจารณาและแก้ไข ภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวกตัวอย่างโครงการการแข่งขันพัฒนา ซอฟแวร์โครงการ "การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่ง ประเทศไทย(National Software Contest: NSC)
  • 3. • การพัฒนาทักษะในการเขียนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์นั้น ประเทศไทยมี ศักยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศได้ แต่การผลิตบุคลากรที่จะมาพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะต้องอาศัยบุคลากรจานวนมากเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ แข่งขันให้กับประเทศ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) จึงได้จัดทาโครงการการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศ ไทยนี้เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาได้มีโอกาสพัฒนาทักษะการ พัฒนาซอฟต์แวร์และนาเอาความรู้ที่ได้เรียนมาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยสนับสนุนเงินทุนเพื่อเป็นแรงจูงใจและกระตุนให้นกเรียน นิสิต นักศึกษาทาการ พัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยตนเองและเปิดโอกาสให้มีการประกวดแข่งขันชิงเงินรางวัลใน ระดับประเทศ อันจะเป็นการสร้างเวทีสาหรับเยาวชนและผู้ที่สนใจในการพัฒนา ความรู้สู่การเป็นนักวิจัยระดับอาชีพต่อไป “โครงการสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ขนาดเล็ก ”ซึ่งได้เริ่มดาเนินการครั้งแรกตั้งแต่ปีงบประมาณ 2537 เนคเทคได้ปรับ กลยุทธ์ในการดาเนินโครงการโดยจัดให้มีเวทีการแข่งขันในระดับประเทศและเปลี่ยน ชื่อเป็น “การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทย (National Software Contest : NSC)” ในปี พ.ศ. 2542 ซึ่งผู้ชนะเลิศในแต่ละ ประเภทจะได้รับ
  • 5. • เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุด ระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการ ศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ สูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อมทั้งการจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่ง จะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทาโครงงานประเภทนี้มี จุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง โครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การ ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็น วัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
  • 6. • การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วยตนเองว่า อยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือความ อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัวเรื่องของ โครงงานนั้นมีแหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่าน หนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการ หรืองานประกวดโครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้ - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้
  • 7. ๒.๒ การวางแผน ต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอ ต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่องนี้มีความสาคัญ อย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามี ได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่ จะทาได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะ ถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็น แนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บ ข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง
  • 8. 2.3 การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือ ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการทางาน ตลอดจน การบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้ เป็นระเบียบและครบถ้วน 2.4การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงาน ควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน 2.5 การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอ ผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของ ผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัด นิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่ง สาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมี ความถูกต้องของเนื้อหา
  • 9. ๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุก โครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คานา ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง
  • 10. ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวข้อ โครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด ดังตัวอย่างการ เขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้ าหมาย มีการวางแผนการทางาน จะเห็นได้ ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็จะเรียงลาดับทีละ หัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุกข้อ สิ่งที่ต้องการ ทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของโครงงานที่ต้องการหา คาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู-ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยที่ต้องการ ทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัดหรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
  • 11. ๓. ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ ในการทาโครงงานประเภททดลอง ต้องมีการจัดการกับตัวแปรที่จะมีผลต่อการทดลอง ซึ่งจะมี 4 ชนิด คือ • ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมายถึง เหตุของการทดลองนั้นๆ • ตัวแปรตาม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น • ตัวแปรควบคุม หมายถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆกัน มิฉะนั้นจะมีผลทาให้ตัวแปรตามเปลี่ยนไป • ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆแล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่บางครั้งเราจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผล แทรกซ้อน ทาให้ผลการทดลองผิดไป แต่แก้ไขได้โดยการตัดข้อมูลที่ผิดพลาดทิ้งไป ที่มา : http://toffykz.blogspot.com/2012/08/6.html
  • 13. ความหมาย 1. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน ชีวิต ประจาวัน เช่นซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับ การผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการ ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุง ดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้อง ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อนแล้วนา ข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพ ของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และ เครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทาง วิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนา
  • 14. 2. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่ มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา และวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของ นั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบ การทางานหรือทดสอบคุณภาพ ของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไข ให้มีความสมบูรณ์ผู้เรียนต้องใช้ ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือ ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
  • 15. (3) สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและ ตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการ คิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครง งานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โปรแกรมระบบงานการกีฬา โปรแกรมระบบแฟ้ มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001
  • 16. ตัวอย่างของโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 1. โปรแกรม สารบรรณสาเร็จรูป : Readymade Archivis 2. โปรแกรมระบบฐานข้อมูลทางการแพทย์เบื้องต้น 3. โปรแกรมระบบแฟ้ มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001 4. เครื่องรดน้าต้นไม้และให้อาหารปลาผ่านโทรศัพท์มือถือ 5. เครื่องให้อาหารไก่ไข่อัตโนมัติ 6. ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน 7. ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล 8. ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต 9. ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง 10. โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง 11. โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ 12. โฮมเพจส่วนบุคคล ที่มา : http://oumsunipharuamsap.blogspot.com/2012/09/7-thanapongkiatsujja.html
  • 18. โครงงานพัฒนาเกมโครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อ ความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรงเน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี หลักการโครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆตัวอย่างโครงงานการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เค้าโครงโครงงาน กราฟประยุกต์เป็นลายผ้าด้วยโปรแกรม GSP โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดย ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วย การมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรม ประมวลคา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วน ซอฟต์แวร์การวาดรูป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบ สิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก เป็นต้น ทีมา : http://yukariisan.blogspot.com/2012/09/8.html