SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
โครงสร้างโลก
• เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซในเอกภพบริเวณนี้ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงมีชื่อว่า “โซลาร์
เนบิวลา” (Solar แปลว่า สุริยะ, Nebula แปลว่า หมอกเพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่มก๊าซยุบตัวและหมุนตัว
เป็นรูปจาน ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิวชั่น กลายเป็นดาวฤกษ์ที่ชื่อว่าดวงอาทิตย์ ส่วน
วัสดุที่อยู่รอบๆ มีอุณหภูมิต่ากว่า รวมตัวเป็นกลุ่มๆ มีมวลสารและความหนาแน่นมากขึ้นเป็นชั้นๆ และกลายเป็น
ดาวเคราะห์ในที่สุด
โครงสร้างโลก
• โลกในยุคแรกเป็นของเหลวหนืดร้อน ถูกกระหน่าชนด้วยอุกกาบาตตลอดเวลา องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุหนัก จม
ตัวลงสู่แก่นกลางของโลก ขณะที่องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุเบา เช่น ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสู่เปลือกนอก ก๊าซต่างๆ
พยายามแทรกตัวออกจากพื้นผิว ก๊าซไฮโดรเจนถูกลมสุริยะจากดวงอาทิตย์ทาลายให้แตกเป็นประจุส่วนหนึ่งหลุด
หนีออกสู่อวกาศ อีกส่วนหนึ่งรวมตัวกับออกซิเจนกลายเป็นไอน้า เมื่อโลกเย็นลง เปลือกนอกตกผลึกเป็นของแข็ง
ไอน้าในอากาศควบแน่นเกิดฝน น้าฝนได้ละลายคาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพื้นผิว เกิดทะเลและมหาสมุทร
สองพันล้านปีต่อมาการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ได้นาคาร์บอนไดออกไซด์มาผ่านการสังเคราะห์แสง เพื่อสร้าง
พลังงาน และให้ผลผลิตเป็นก๊าซออกซิเจน ก๊าซออกซิเจนที่ลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศชั้นบน แตกตัวและรวมตัวเป็น
ก๊าซโอโซน ซึ่งช่วยป้ องกันอันตรายจากรังสีอุลตราไวโอเล็ต ทาให้สิ่งมีชีวิตมากขึ้น และปริมาณของออกซิเจนมาก
ขึ้นอีก ออกซิเจนจึงมีบทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลกในเวลาต่อมา
โครงสร้างโลก
• โลกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12,756 กิโลเมตร (รัศมี 6,378 กิโลเมตร) มีมวลสาร 6 x 10^24 กิโลกรัม
และมีความหนาแน่นเฉลี่ย 5,520 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (หนาแน่นกว่าน้า 5,520 เท่า) นักธรณีวิทยา
ทาการศึกษาโครงสร้างภายในของโลก โดยศึกษาการเดินทางของ“คลื่นซิสมิค” (Seismic waves) ซึ่งมี 2
ลักษณะ คือ
โครงสร้างโลก
• คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดย
อนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้
สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เป็นคลื่นที่สถานีวัด
แรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 8 กิโลเมตร/วินาที คลื่น
ปฐมภูมิทาให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
• คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดย
อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิด
นี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมี
ความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิทาให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
โครงสร้างโลก
• โครงสร้างภายในของโลกแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี
• นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น3 ส่วน โดยพิจารณาจากองค์ประกอบทางเคมี
• เปลือกโลก (Crust) เป็นผิวโลกชั้นนอก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกอนไดออกไซด์ และอะลูมิเนียม
ออกไซด์
• แมนเทิล (Mantle) คือส่วนซึ่งอยู่อยู่ใต้เปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900 กิโลเมตร มีองค์ประกอบ
หลักเป็นซิลิคอนออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ และเหล็กออกไซด์
• แก่นโลก (Core) คือส่วนที่อยู่ใจกลางของโลก มีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก และนิเกิล
โครงสร้างโลก
• โครงสร้างภายในของโลกแบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ
• นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น 5 ส่วน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติทางกายภาพ
• ลิโทสเฟียร์ คือ ส่วนชั้นนอกสุดของโลก ประกอบด้วย เปลือกโลกและแมนเทิลชั้นบนสุด ดังนี้
• เปลือกทวีป ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิตมีความหนาเฉลี่ย 35 กิโลเมตร ความหนาแน่น 2.7 กรัม/ลูกบาศก์
เซนติเมตร
• เปลือกสมุทร เป็นหินบะซอลต์ความหนาเฉลี่ย 5 กิโลเมตร ความหนาแน่น 3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร (มากกว่า
เปลือกทวีป)
• แมนเทิลชั้นบนสุด (เป็นวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและเปลือกสมุทรอยู่ลึกลงมาถึงระดับลึก 100
กิโลเมตร
• แอสทีโนสเฟียร์ เป็นแมนเทิลชั้นบนซึ่งอยู่ใต้ลิโทสเฟียร์ลงมาจนถึงระดับ 700 กิโลเมตร เป็นวัสดุเนื้ออ่อนอุณหภูมิ
ประมาณ 600 – 1,000 เคลื่อนที่ด้วยกลไกการพาความร้อน มีความหนาแน่นประมาณ 3.3 กรัม/เซนติเมตร
• เมโซสเฟียร์ เป็นแมนเทิลชั้นล่างซึ่งอยู่ลึกลงไปจนถึงระดับ 2,900 กิโลเมตร มีสถานะเป็นของแข็งอุณหภูมิประมาณ
1,000 – 3,500ฐC มีความหนาแน่นประมาณ 5.5 กรัม/เซนติเมตร
• แก่นชั้นนอก อยู่ลึกลงไปถึงระดับ 5,150 กิโลเมตร เป็นเหล็กหลอมละลายมีอุณหภูมิสูง 1,000 – 3,500ฐC
เคลื่อนตัวด้วยกลไกการพาความร้อนทาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก มีความหนาแน่น 10 กรัม/ลูกบาศก์
เซนติเมตร
• แก่นชั้นใน เป็นเหล็กและนิเกิลในสถานะของแข็งซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 5,000 ความหนาแน่น 12 กรัมต่อลูกบาศก์
เซนติเมตร จุดศูนย์กลางของโลกอยู่ที่ระดับลึก 6,370 กิโลเมตร
โครงสร้างโลก
• สนามแม่เหล็กโลก แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก แก่นโลกชั้นใน มีความกดดันสูงจึงมี
สถานะเป็นของแข็ง ส่วน
• แก่นชั้นนอก มีความกดดันน้อยกว่าจึงมีสถานะเป็นของเหลวหนืด แก่นชั้นในมีอุณหภูมิสูงกว่า
แก่นชั้นนอก พลังงานความร้อนจากแก่นชั้นใน จึงถ่ายเทขึ้นสู่แก่นชั้นนอกด้วยการพาความร้อน
เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวนอย่างช้าๆ ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้ า และ
เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก
คาถามท้ายบท
1 โครงสร้างเปลือกโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารชั้นใหญ่ๆ3ชั้นคือ
• ก ชั้นเปลือกโลก ใต้โลก แก่นโลก
• ข ชั้นเปลือก เนื้อ ธรณีภาค
• ค.ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
• ง ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด
2 เปลือกโลกแบ่งออกได้2บริเวณ คือ
ก เปลือกโลกภาคพื้นทวีป เปลือกโลกพื้นน้า
ข เปลือกโลกภาคพื้นดิน เปลือกโลกภาคพื้นน้า
ค เปลือกโลกชั้นนอก เปลือกโลกชั้นใน
ง. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป เปลือกโลกใต้มหาสมุทร
3. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง
ก ธาตุซิลิคอน และ ซิลิกา ข ธาตุซิลิคอน และ อลูมิเนียม
ค. ธาตุเหล็ก และ ทองแดง ง. ธาตุซิลิคอน และ แมกนีเซียม
คาถามท้ายบท
4 ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเนื้อโลก รวมกัน เรียกว่าอะไร
ก แมนเทิล ข.ธรณีภาค ค.ธรณีภาคพื้นทวีป ง.ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก
5 หินหลอมละลายในชั้นเนื้อโลกเรียกว่าอะไร
ก.ลาวา ข.แมกมา ค.หินหนืด ง.หินใหม่
6 แก่นโลกประกอบด้วยธาตุใดมากที่สุด
ก. ธาตุเหล็ก และ นิกเกิล
ข. ธาตุเหล็ก และ ซิลิคอน
ค. ธาตุซิลิคอน และ แมกนีเซียม
ง .ธาตุซิลิคอน และ อลูมิเนียม
7 สาเหตุสาคัญที่สุดทาให้เปลือกโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง คือ ข้อใด
ก มนุษย์ ข. ธรรมชาติ ค.สัตว์และพืช ง สิ่งแวดล้อม
คาถามท้ายบท
8 นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างภายในพื้นที่โลกโดยวิธีใด
ก สัญญาณภาพผ่านดาวเทียม ข.ซากดึกดาบรรพ์ ค คลื่นความสั่นสะเทือนขณะเกิดแผ่นดินไหว ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
9.ชั้นใดของโลกมีอุณภูมิสูงที่สุด
ก แมนเทิล ข แก่นโลก ค เปลือกโลกชั้นบน ง ระหว่างแก่นโลกกับแมนเทิล
10.คาใดกล่าวผิด
ก โลกกาเนิดมาได้4600ปี ข แก่นโลกชั้นนอกเป็นของเหลว ค แก่นโลกชั้นในเป็นของแข็ง ง ทั้งแก่นโลกชั้นนอกและในเป็นของเหลว
11. นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างภายในพื้นโลกโดยวิธีใด
ก. สัญญาณภาพผ่านดาวเทียม ข. ซากดึกดาบรรพ์ ค. คลื่นความสั่นสะเทือนขณะเกิดแผ่นดินไหว ง.คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
12. ชั้นใดของโลกมีอุณหภูมิสูงที่สุด
ก. แมนเทิล ข.แก่นโลก ค.เปลือกโลกชั้นนอก ง. ระหว่างแก่นโลกกับแมนเทิล
13. หินที่เกิดจากการระเบิดของภูเขไฟ ลักษณะของผลึกจะเป็นอย่างไร
ก. ผลึกขนาดใหญ่กระจายอยู่ทั่วไปในเนื้อหิน ข. ผลึกขนาดใหญ่อยู่บางบริเวณของหิน ค. ผลึกขนาดเล็กสลับกับผลึกขนาดใหญ่
ง. ไม่มีผลึก
คาถามท้ายบท
14. คลื่นพื้นผิวคือ
ก. คลื่นปฐมภูมิหรือคลื่น P ข. คลื่นทุติภูมิหรือคลื่น S ค. คลื่นแรงเฉือนหรือคลื่น S ง. คลื่น P และ S
15. แผ่นดินไหวขนาด 6 ริคเตอร์ทาให้เกิด
ก. อาคารที่มีการออกแบบและโครงสร้างที่ไม่ดีเสียหาย กาแพงพังล้ม
ข. อาคารสิ่งก่อสร้างโดยมากเสียหาย สะพานพังทลาย
ค. .ทุกสิ่งทุกอย่างเสียหายวัตถุทุกอย่างกระเด็นปลิวว่อนในอากาศ
ง. ต้นไม้โอนเอน เครื่องประดับบ้านเคลื่อนที่ได้ สิ่งก่อสร้างเสียหายเล็กน้อย
16 . อัลเฟรดเวเกเนอร์ เสนอทฤษฎีทวีปเลื่อนหลักฐานข้อใดสนับสนุน
ก. ปร่างของทวีปประกบกันได้พอดี
ข. ความคล้ายคลึงกันของซากดึกดาบรรพ์ที่พบในบราซิลและแอฟริกา
ค. หลักฐานในการเคลื่อนที่ของเกาะบางเกา
ง. ทุกข้อรวมกัน
คาถามท้ายบท
17. กลไกที่ทาให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจาก
ก การหมุนของโลกและแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ชักจูงให้เกิดกระบวนการของทวีปเลื่อน
ข. เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง
ค. การพาความร้อนในแมนเทิล
ง. การแยกของแผ่นทวีป
18. 300 - 200 ล้านปีที่แล้ว ทวีปต่างๆอยู่รวมกันเป็น
ก. ลอราเซีย ข. แพนเจีย ค. กอนด์วานาแลน ง. ทีทีส
19. รอยต่อที่แยกแผ่นโลกออกจากกัน คือ
ก. รอยแตกที่แยกออกจากกัน ข. รอยต่อที่ชนกัน ค. รอยต่อแบบเฉือนกัน ง. ถูกทุกข้อ
20. การวางตัวของชั้นหินโดยเอียงเทเป็นมุมกับแนวระดับของชั้นหินปกติเกิดจาก
ก. การเปลี่ยนแปลงทิศทางของกระแสน้า ข. การเปลี่ยนแปลงกระแสลม ค. การเกิดภูเขาไฟ ง. ทั้งข้อ ก และข้อ ข
โครงสร้างโลก บท1

More Related Content

What's hot

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

What's hot (20)

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

Similar to โครงสร้างโลก บท1

โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลfarimfilm
 
วัฎจักรของดาวฤกษ์
วัฎจักรของดาวฤกษ์วัฎจักรของดาวฤกษ์
วัฎจักรของดาวฤกษ์singhngam
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 

Similar to โครงสร้างโลก บท1 (20)

โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
วัฎจักรของดาวฤกษ์
วัฎจักรของดาวฤกษ์วัฎจักรของดาวฤกษ์
วัฎจักรของดาวฤกษ์
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 

โครงสร้างโลก บท1

  • 1. โครงสร้างโลก • เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซในเอกภพบริเวณนี้ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงมีชื่อว่า “โซลาร์ เนบิวลา” (Solar แปลว่า สุริยะ, Nebula แปลว่า หมอกเพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่มก๊าซยุบตัวและหมุนตัว เป็นรูปจาน ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิวชั่น กลายเป็นดาวฤกษ์ที่ชื่อว่าดวงอาทิตย์ ส่วน วัสดุที่อยู่รอบๆ มีอุณหภูมิต่ากว่า รวมตัวเป็นกลุ่มๆ มีมวลสารและความหนาแน่นมากขึ้นเป็นชั้นๆ และกลายเป็น ดาวเคราะห์ในที่สุด
  • 2. โครงสร้างโลก • โลกในยุคแรกเป็นของเหลวหนืดร้อน ถูกกระหน่าชนด้วยอุกกาบาตตลอดเวลา องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุหนัก จม ตัวลงสู่แก่นกลางของโลก ขณะที่องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุเบา เช่น ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสู่เปลือกนอก ก๊าซต่างๆ พยายามแทรกตัวออกจากพื้นผิว ก๊าซไฮโดรเจนถูกลมสุริยะจากดวงอาทิตย์ทาลายให้แตกเป็นประจุส่วนหนึ่งหลุด หนีออกสู่อวกาศ อีกส่วนหนึ่งรวมตัวกับออกซิเจนกลายเป็นไอน้า เมื่อโลกเย็นลง เปลือกนอกตกผลึกเป็นของแข็ง ไอน้าในอากาศควบแน่นเกิดฝน น้าฝนได้ละลายคาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพื้นผิว เกิดทะเลและมหาสมุทร สองพันล้านปีต่อมาการวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ได้นาคาร์บอนไดออกไซด์มาผ่านการสังเคราะห์แสง เพื่อสร้าง พลังงาน และให้ผลผลิตเป็นก๊าซออกซิเจน ก๊าซออกซิเจนที่ลอยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศชั้นบน แตกตัวและรวมตัวเป็น ก๊าซโอโซน ซึ่งช่วยป้ องกันอันตรายจากรังสีอุลตราไวโอเล็ต ทาให้สิ่งมีชีวิตมากขึ้น และปริมาณของออกซิเจนมาก ขึ้นอีก ออกซิเจนจึงมีบทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงบนพื้นผิวโลกในเวลาต่อมา
  • 3. โครงสร้างโลก • โลกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12,756 กิโลเมตร (รัศมี 6,378 กิโลเมตร) มีมวลสาร 6 x 10^24 กิโลกรัม และมีความหนาแน่นเฉลี่ย 5,520 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (หนาแน่นกว่าน้า 5,520 เท่า) นักธรณีวิทยา ทาการศึกษาโครงสร้างภายในของโลก โดยศึกษาการเดินทางของ“คลื่นซิสมิค” (Seismic waves) ซึ่งมี 2 ลักษณะ คือ
  • 4. โครงสร้างโลก • คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดย อนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้ สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เป็นคลื่นที่สถานีวัด แรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 8 กิโลเมตร/วินาที คลื่น ปฐมภูมิทาให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน • คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดย อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิด นี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมี ความเร็วประมาณ 3 – 4 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิทาให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
  • 5. โครงสร้างโลก • โครงสร้างภายในของโลกแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี • นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น3 ส่วน โดยพิจารณาจากองค์ประกอบทางเคมี • เปลือกโลก (Crust) เป็นผิวโลกชั้นนอก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกอนไดออกไซด์ และอะลูมิเนียม ออกไซด์ • แมนเทิล (Mantle) คือส่วนซึ่งอยู่อยู่ใต้เปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก 2,900 กิโลเมตร มีองค์ประกอบ หลักเป็นซิลิคอนออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ และเหล็กออกไซด์ • แก่นโลก (Core) คือส่วนที่อยู่ใจกลางของโลก มีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก และนิเกิล
  • 6. โครงสร้างโลก • โครงสร้างภายในของโลกแบ่งตามคุณสมบัติทางกายภาพ • นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น 5 ส่วน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติทางกายภาพ • ลิโทสเฟียร์ คือ ส่วนชั้นนอกสุดของโลก ประกอบด้วย เปลือกโลกและแมนเทิลชั้นบนสุด ดังนี้ • เปลือกทวีป ส่วนใหญ่เป็นหินแกรนิตมีความหนาเฉลี่ย 35 กิโลเมตร ความหนาแน่น 2.7 กรัม/ลูกบาศก์ เซนติเมตร • เปลือกสมุทร เป็นหินบะซอลต์ความหนาเฉลี่ย 5 กิโลเมตร ความหนาแน่น 3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร (มากกว่า เปลือกทวีป) • แมนเทิลชั้นบนสุด (เป็นวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและเปลือกสมุทรอยู่ลึกลงมาถึงระดับลึก 100 กิโลเมตร • แอสทีโนสเฟียร์ เป็นแมนเทิลชั้นบนซึ่งอยู่ใต้ลิโทสเฟียร์ลงมาจนถึงระดับ 700 กิโลเมตร เป็นวัสดุเนื้ออ่อนอุณหภูมิ ประมาณ 600 – 1,000 เคลื่อนที่ด้วยกลไกการพาความร้อน มีความหนาแน่นประมาณ 3.3 กรัม/เซนติเมตร • เมโซสเฟียร์ เป็นแมนเทิลชั้นล่างซึ่งอยู่ลึกลงไปจนถึงระดับ 2,900 กิโลเมตร มีสถานะเป็นของแข็งอุณหภูมิประมาณ 1,000 – 3,500ฐC มีความหนาแน่นประมาณ 5.5 กรัม/เซนติเมตร • แก่นชั้นนอก อยู่ลึกลงไปถึงระดับ 5,150 กิโลเมตร เป็นเหล็กหลอมละลายมีอุณหภูมิสูง 1,000 – 3,500ฐC เคลื่อนตัวด้วยกลไกการพาความร้อนทาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก มีความหนาแน่น 10 กรัม/ลูกบาศก์ เซนติเมตร • แก่นชั้นใน เป็นเหล็กและนิเกิลในสถานะของแข็งซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 5,000 ความหนาแน่น 12 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร จุดศูนย์กลางของโลกอยู่ที่ระดับลึก 6,370 กิโลเมตร
  • 7. โครงสร้างโลก • สนามแม่เหล็กโลก แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก แก่นโลกชั้นใน มีความกดดันสูงจึงมี สถานะเป็นของแข็ง ส่วน • แก่นชั้นนอก มีความกดดันน้อยกว่าจึงมีสถานะเป็นของเหลวหนืด แก่นชั้นในมีอุณหภูมิสูงกว่า แก่นชั้นนอก พลังงานความร้อนจากแก่นชั้นใน จึงถ่ายเทขึ้นสู่แก่นชั้นนอกด้วยการพาความร้อน เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวนอย่างช้าๆ ทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้ า และ เหนี่ยวนาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก
  • 8. คาถามท้ายบท 1 โครงสร้างเปลือกโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารชั้นใหญ่ๆ3ชั้นคือ • ก ชั้นเปลือกโลก ใต้โลก แก่นโลก • ข ชั้นเปลือก เนื้อ ธรณีภาค • ค.ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก • ง ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด 2 เปลือกโลกแบ่งออกได้2บริเวณ คือ ก เปลือกโลกภาคพื้นทวีป เปลือกโลกพื้นน้า ข เปลือกโลกภาคพื้นดิน เปลือกโลกภาคพื้นน้า ค เปลือกโลกชั้นนอก เปลือกโลกชั้นใน ง. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป เปลือกโลกใต้มหาสมุทร 3. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง ก ธาตุซิลิคอน และ ซิลิกา ข ธาตุซิลิคอน และ อลูมิเนียม ค. ธาตุเหล็ก และ ทองแดง ง. ธาตุซิลิคอน และ แมกนีเซียม
  • 9. คาถามท้ายบท 4 ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเนื้อโลก รวมกัน เรียกว่าอะไร ก แมนเทิล ข.ธรณีภาค ค.ธรณีภาคพื้นทวีป ง.ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก 5 หินหลอมละลายในชั้นเนื้อโลกเรียกว่าอะไร ก.ลาวา ข.แมกมา ค.หินหนืด ง.หินใหม่ 6 แก่นโลกประกอบด้วยธาตุใดมากที่สุด ก. ธาตุเหล็ก และ นิกเกิล ข. ธาตุเหล็ก และ ซิลิคอน ค. ธาตุซิลิคอน และ แมกนีเซียม ง .ธาตุซิลิคอน และ อลูมิเนียม 7 สาเหตุสาคัญที่สุดทาให้เปลือกโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง คือ ข้อใด ก มนุษย์ ข. ธรรมชาติ ค.สัตว์และพืช ง สิ่งแวดล้อม
  • 10. คาถามท้ายบท 8 นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างภายในพื้นที่โลกโดยวิธีใด ก สัญญาณภาพผ่านดาวเทียม ข.ซากดึกดาบรรพ์ ค คลื่นความสั่นสะเทือนขณะเกิดแผ่นดินไหว ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า 9.ชั้นใดของโลกมีอุณภูมิสูงที่สุด ก แมนเทิล ข แก่นโลก ค เปลือกโลกชั้นบน ง ระหว่างแก่นโลกกับแมนเทิล 10.คาใดกล่าวผิด ก โลกกาเนิดมาได้4600ปี ข แก่นโลกชั้นนอกเป็นของเหลว ค แก่นโลกชั้นในเป็นของแข็ง ง ทั้งแก่นโลกชั้นนอกและในเป็นของเหลว 11. นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างภายในพื้นโลกโดยวิธีใด ก. สัญญาณภาพผ่านดาวเทียม ข. ซากดึกดาบรรพ์ ค. คลื่นความสั่นสะเทือนขณะเกิดแผ่นดินไหว ง.คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า 12. ชั้นใดของโลกมีอุณหภูมิสูงที่สุด ก. แมนเทิล ข.แก่นโลก ค.เปลือกโลกชั้นนอก ง. ระหว่างแก่นโลกกับแมนเทิล 13. หินที่เกิดจากการระเบิดของภูเขไฟ ลักษณะของผลึกจะเป็นอย่างไร ก. ผลึกขนาดใหญ่กระจายอยู่ทั่วไปในเนื้อหิน ข. ผลึกขนาดใหญ่อยู่บางบริเวณของหิน ค. ผลึกขนาดเล็กสลับกับผลึกขนาดใหญ่ ง. ไม่มีผลึก
  • 11. คาถามท้ายบท 14. คลื่นพื้นผิวคือ ก. คลื่นปฐมภูมิหรือคลื่น P ข. คลื่นทุติภูมิหรือคลื่น S ค. คลื่นแรงเฉือนหรือคลื่น S ง. คลื่น P และ S 15. แผ่นดินไหวขนาด 6 ริคเตอร์ทาให้เกิด ก. อาคารที่มีการออกแบบและโครงสร้างที่ไม่ดีเสียหาย กาแพงพังล้ม ข. อาคารสิ่งก่อสร้างโดยมากเสียหาย สะพานพังทลาย ค. .ทุกสิ่งทุกอย่างเสียหายวัตถุทุกอย่างกระเด็นปลิวว่อนในอากาศ ง. ต้นไม้โอนเอน เครื่องประดับบ้านเคลื่อนที่ได้ สิ่งก่อสร้างเสียหายเล็กน้อย 16 . อัลเฟรดเวเกเนอร์ เสนอทฤษฎีทวีปเลื่อนหลักฐานข้อใดสนับสนุน ก. ปร่างของทวีปประกบกันได้พอดี ข. ความคล้ายคลึงกันของซากดึกดาบรรพ์ที่พบในบราซิลและแอฟริกา ค. หลักฐานในการเคลื่อนที่ของเกาะบางเกา ง. ทุกข้อรวมกัน
  • 12. คาถามท้ายบท 17. กลไกที่ทาให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจาก ก การหมุนของโลกและแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ชักจูงให้เกิดกระบวนการของทวีปเลื่อน ข. เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง ค. การพาความร้อนในแมนเทิล ง. การแยกของแผ่นทวีป 18. 300 - 200 ล้านปีที่แล้ว ทวีปต่างๆอยู่รวมกันเป็น ก. ลอราเซีย ข. แพนเจีย ค. กอนด์วานาแลน ง. ทีทีส 19. รอยต่อที่แยกแผ่นโลกออกจากกัน คือ ก. รอยแตกที่แยกออกจากกัน ข. รอยต่อที่ชนกัน ค. รอยต่อแบบเฉือนกัน ง. ถูกทุกข้อ 20. การวางตัวของชั้นหินโดยเอียงเทเป็นมุมกับแนวระดับของชั้นหินปกติเกิดจาก ก. การเปลี่ยนแปลงทิศทางของกระแสน้า ข. การเปลี่ยนแปลงกระแสลม ค. การเกิดภูเขาไฟ ง. ทั้งข้อ ก และข้อ ข