SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
สมาชิกในกลุ่ม 
นางสาวบุษกร ศรีทอง 563050535-3 
นางสาววิสสุตา ชุมอินทอง 563050542-6 
นางสาวศศิมาศ ห้วยหงษ์ทอง 563050544-2
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อ 
ของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ 
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตาม 
เป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึน้นัน้ก็เพราะว่า สื่อการสอน 
ที่ครูสมศรีทาขึน้นัน้สร้างจากแนวคิดและประสบการณ์ของ 
ครูสมศรีเอง ครูสมศรีควรจะสร้างสื่อการสอนโดยคานึงถึง 
ความสามารถ ความคิดของเด็กนักเรียน เด็กนักเรียน 
สามารถคิด สร้างความรู้โดยการสังเกต ลงมือทา และ 
อธิบายความหมายของสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวได้ อย่างเช่น 
การสร้างสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
สื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ 
ตามพืน้ฐานทางทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคตวิิสต์งานที่สาคัญของครูก็ 
คือ ช่วยนักเรียนแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้ โดยมีครูทาหน้าที่จัด 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ 
ที่ตอบสนองกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการ 
ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจาก 
พื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มี 
ความสัมพันธ์กันอย่างไร
พื้นฐานในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้น ต้องมาจาก 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยต้องศึกษาทาความเข้าใจว่ามนุษย์ 
เราเรียนรู้ได้อย่างไร โดยหัวใจสาคัญที่จะนาไปเป็นพื้นฐานในการ 
ออกแบบการสอนและสื่อ มีดังนี้ 
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) 
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม(Cognitivism) 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism)
แต่ละแนวคิดมีความสัมพันธ์กันคือ 
เป็นการเปลี่ยนแปลงจากหลักการ การเรียนรู้ และการสอน มาสู่การงาแผน 
สาหรับจัดกิจกรรมการเรียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของการจัด 
การศึกษา และส่งเสริมการเรียนรู้ แต่การออกแบบการสอน และการจัดการ 
เรียนรู้จะประสบความสาเร็จได้นนั้ จะต้องอาศัยตัวกลางในการนาสารสนเทศ 
ไปสู่ผู้เรียน ตัวกลางดังกล่าวคือ สื่อการสอน(Instructional Media)
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ 
เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ 
ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอน 
และสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง 
อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
พืน้ฐานในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนัน้ ต้องมาจาก 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยต้องศึกษาทาความเข้าใจว่ามนุษย์เรา 
เรียนรู้ได้อย่างไร โดยหัวใจสาคัญที่จะนาไปเป็นพืน้ฐานในการออกแบบ 
การสอนและสื่อ มีดังนี้ 
ทฤษฎี 
พฤติกรรมนิยม 
(Behaviorism) ทฤษฎีพุทธิ 
ปัญญานิยม 
(Cognitivism) ทฤษฎีคอน 
สตรัคติวิสต์ 
(Constructivism)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม(Behaviorism) 
มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจา ความรู้ใหไ้ด้มาก 
ที่สุดผู้เรียนจะเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ ครูผู้สอนจะเป็นผู้นา เสนอ 
ข้อมูลสารสนเทศ เช่น ตา ราเรียน การบรรยายโดยครูผู้สอนจะสร้าง 
สิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนดูดซับข้อมูลสารสนเทศจา นวนมาก เช่น ชุด 
การสอน บทเรียนโปรแกรม
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม(Cognitivism) 
มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการทางปัญญาโดยเฉพาะบทบาทของการใช้ 
หน่วยความจา เพื่อช่วยในการแปลสารสนเทศใหม่ การบันทึกความรู้ และการนา 
ความรู้ที่เก็บไว้กลับมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น (Concept map) การใช้ 
ตัวอักษรหนา เอียง ขีดเส้นใต้
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) 
จะมุ่งเน้นการพัฒนา กระบวนการคิดอย่างอิสระ และสร้างความรู้ได้ด้วย 
ตนเองของผู้เรียน เช่นการสังเกต ลงมือกระทา และอธิบายความหมายโลกรอบ ๆ 
ตัวผู้เรียน

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Dee Arna'
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
Dee Arna'
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
Chantana Papattha
 

Viewers also liked (6)

บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา บทที่ 3

Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
pompompam
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3
LALILA226
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Kunwater Tianmongkon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
Nisachol Poljorhor
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
Nalintip Vongsapat
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
likhit j.
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
Zhao Er
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา บทที่ 3 (20)

สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3สถานการณ์บทที่3
สถานการณ์บทที่3
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาบทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3
 
Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่มChapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่ม
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษาบทท   3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
บทท 3 ม_มมองทางจ_ตว_ทยาท__เก__ยวก_บเทคโนโลย_ และส__อการศ_กษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4 (1)
Chapter4 (1)Chapter4 (1)
Chapter4 (1)
 

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา บทที่ 3