SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเชื่อว่าการเรียนรุ้ของมนุษย์จะได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า และตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้านั้น ทาให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเมื่อมีแรงขับหรือความต้องการของผู้เรียนที่มีต่อบางสิ่งบางอย่าง
ที่จูงใจให้หาหนทางตอบสนองพร้อมได้รับการเสริมแรง คือ รางวัล คาชม ก็ยิ่งทาให้ผู้เรียนดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปเรื่อยๆจนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ได้ กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับ
พฤติกรรมมากเพราะเป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่สังเกตเห็นได้สามารถวัดและทดสอบได้แม้ว่าจะสนใจกระบวนการ
คิดและปฏิกิริยาภายในเหมือนกัน แต่ก็ไม่ยอมรับเพราะเป็นสิ่งที่สังเกตได้ยากและไม่ใช่ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์อย่าง
แท้จริง แนวคิดทางทฤษฏีดังกล่าวนาไปสู่การออกแบบการเรียนการสอน อาทิ การสอนแบบเคลเลอร์ (Keller
Plan) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) และการออกแบบระบบการเรียนการสอน เช่น ระบบการเรียนการสอนของ
กาเย (Gagne) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนี้มีนักจิตวิทยาคนสาคัญ ได้แก่
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนี้มีนักจิตวิทยาคนสาคัญ ได้แก่
อิวาน เพโทวิช พาฟลอฟ เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ จอห์น บรอวดัส วัตสัน
คลาร์ก เลโอนาร์ด ฮัลล์
เอ็ดวิน เรย์ กัทธรี
วิธีสอนที่เหมาะสาหรับกลุ่มพฤติกรรมนิยม
1.การสอนแบบบรรยาย หรือการสาธิต/แสดงให้ดูเป็นตัวอย่าง
2.การให้ทาแบบฝึกหัด การฝึกปฏิบัติ หรือการทาซ้าๆ
3.การเล่นเกมต่างๆ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมสามารถส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดประสิทธิผลภาพ
การเรียนรู้มากที่สุดเมื่อ
1.ผู้เรียนมีประสบการณ์น้อยมาก หรือไม่มีองค์ความรู้เดิมของเนื้อหารายวิชานั้นๆ
2.ผู้เรียนสามารถระลึกถึงจดจาความรู้ ข้อเท็จจริงต่างๆหรือตอบสนองได้อย่างอัตโนมัติ
3.ผู้เรียนได้รับความรู้จากการเสริมแรงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
4.ผู้สอนต้องการให้เกิดผลสาเร็จและความรวดเร็วในการเรียนรู้ภายในช่วงระยะเวลาอันสั้น
ข้อเด่น – ข้อจากัด
ข้อเด่น ผู้เรียนสามารถระลึกถึงจดจาความรู้ ข้อเท็จจริงต่างๆ หรือตอบสนองได้อย่างอัติโนมัติและผู้เรียน
ได้รับความรู้จากการเสริมแรงอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ
ข้อจากัด ผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในการเรียนและผลป้ อนกลับต้องเกิดขึ้นทันที แต่ละขั้นของการเรียนรู้ต้องสั้น
ไม่ต่อเนื่องยืดยาว
การปรับใช้กับการสอนเนื้อหาภาษาไทย
1.ควรแบ่งเนื้อหาบทเรียนออกเป็นหน่วยย่อย และแต่ละหน่วยย่อยควรบอกเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ได้ชัดเจนว่าต้องการให้ผู้เรียนศึกษาอะไรและศึกษาอย่างไร
2.ผู้เรียนสามารถเลือกความยากง่ายของเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการและความสามารถของตนเองได้
3.เกณฑ์วัดผลต้องมีความชัดเจน น่าสนใจ บอกได้ว่าผู้ทดสอบอยู่ในตาแหน่งใดเมื่อเทียบกับเกณฑ์ปกติ และการวัดผลควรทาอย่างต่อเนื่องตลอดบทเรียน
4.ควรให้ผลป้ อนกลับในรูปแบบที่น่าสนใจทันที ผลป้ อนกลับควรบอกผู้เรียนได้ว่าถูกหรือผิดอย่างไร เพราะเหตุใด และไม่ควรใช้ผลป้ อนกลับซ้าๆเมื่อตอบผิดหรือ
ต้องการกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจ
5.ควรใช้ภาพที่เหมาะสมกับเนื้อหาและวัยของผู้เรียน
6.กระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างจินตนาการที่เหมาะสมกับวับ โดยการใช้ข้อความ ภาพ เสียง หรือจาลองสถานการณ์โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับสถานการณ์นั้นๆ
7.การนาเสนอเนื้อหาและให้ผลป้ อนกลับควรสร้างความแปลกใหม่ ซึ่งอาจใช้ภาพ เสียง หรือกราฟิกแทนการใช้ข้อความเพียงอย่างเดียว
8.เสนอข้อมูลในลักษณะความขัดแย้งทางความคิด และคาตอบต้องชัดเจน ตายตัวไม่มีทางเลือกมากมายหรือยืดหยุ่นมากเกินไป
9.ควรสอดแทรกคาถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสงสัย หรือประหลาดใจเมื่อเริ่มต้นเรียน หรือระหว่างเนื้อหาแต่ละตอน
10.ให้ตัวอย่างหรือหลักเกณฑ์กว้างๆเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดค้นหาคาตอบเอง การชี้แนะหรือบอกใบ้อาจจาเป็น เพราะจะช่วยสร้างและรักษาระดับความอยากเรียน
11.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกซ้าในเนื้อหาที่เป็นกฎเกณฑ์
12.ควรเน้นการประเมินผลปลายทางมากกว่าการประเมินผลระหว่างทาง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
หลักการของทฤษฎีพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมเชื่อว่าเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวผู้เรียน โดยมี
โครงสร้างทางปัญญาทาหน้าที่รับข้อมูลและจัดระบบควารมรู้ ดังนั้น โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลจึง
มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาเมื่อได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น
ในการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จะเกิดจากแรงจูงใจที่ทาให้
อยากเรียนรู้ การจัดโครงสร้างความรู้ การจัดลาดับขั้นของสาระความรู้และการเสริมแรง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนี้มีนักจิตวิทยาคนสาคัญ ได้แก่
แม็กซ์ เวิร์ธ ไทเมอร์ เอ็ดวาร์ด เชช ทอลแมน เคร์ท คอฟฟ์ คา
วูล์ฟแกง โคห์เลอร์ เคิร์ท ซาเด็ก เลวิน ฌอง เพียเจต์
เจอร์โรม เซมอร์ บรูเนอร์ เดวิด พอล ออซุเบล สมองทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูล
วิธีการสอนที่เหมาะสมกับพุทธินิยม คือ
1.การโต้วาที การอภิปรายและการให้เหตุผล
2.การคิดแก้ปัญหาและการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นหลัก
3.การเปรียบเทียบ (อุปมา) ถ้อยคา หรือสานวนอุปมาอุปไมย
4.การจาแนกแยกแยะ หรือการคิดวิเคราะห์-สังเคราะห์
5.การให้เขียนสานวนหรือคาประพันธ์สั้นๆ
ข้อเด่น-ข้อจากัด
ข้อเด่น ส่วนมากวิธีการสอนที่เหมาะสมคือ การโต้วาาที การอภิปราย การให้เหตุผล ใช้การเปรียบเทียบ
อุปมาหรือการเขียนสานวนคาประพันธ์สั้นๆ
ข้อจากัด ใช้เวลาในการสอนพอสมควร ไม่ควรจากัดเวลาเข้มงวด
การปรับใช้กับการสอนเนื้อหาภาษาไทย
1.ควรวิเคราะห์ลักษณะของผู้เรียน เพื่อออกแบบนวัตกรรมและสื่อการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม ให้ผู้เรียนมีโอกาส
เลือกกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถและความต้องการ
2.เตรียมแหล่งข้อมูลจานวนมากเพื่อช่วยผู้เรียนเชื่อมโยงองค์ความรู้เดิมไปสู่องค์ความรู้ใหม่
3.ให้เวลาในการเรียนการสอนพอสมควร ไม่ควรจากัดเวลาอย่างเข้มงวด
4.ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด ค้นคว้าหาคาตอบได้ด้วยตนเอง
5.การใช้ขนาดของตัวอักษร สี ควรให้รับรู้หรืออ่านได้ง่าย สบายตา ภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา เสียงบรรยายต้องมีความ
ชัดเจน โดยไม่ควรแสดงข้อความตามคาบรรยายบนหน้าจอ แต่อาจขึ้นหัวข้อย่อย หรือข้อความสั้นๆแทน
6.จัดองค์ประกอบหน้าจอให้เป็นระเบียบ ใช้สี กราฟิกให้น่าสนใจ มีปุ่มนาทางเพื่อให้ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
หากมีการใช้สัญลักษณ์แทนปุ่มต้องมีคาอธิบายประกอบเพื่อไม่ให้ผู้ใช้เกิดความสับสน
7.ต้องให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับนวัตกรรมและสื่อการเรียนการสอน การให้ผลป้ อนกลับจะช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้อย่างตื่นตัว
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์
หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์
การเรียนการสอนในแนวคอนสตรัคติวิสซึม จึงมักเป็นไปในแบบที่ให้นักเรียนสร้างความรู้จากการช่วยกัน
แก้ปัญหา (Cooperative problem solving) กระบวนการเรียนการสอนจะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่
ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive conflict) นั่นคือประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญา
ที่มีอยู่เดิม ไม่สามารถจัดการแก้ปัญหานั้นได้ลงตัวพอดีเหมือนปัญหาที่เคยแก้มาแล้ว ต้องมีการคิดค้นเพิ่มเติม
ที่เรียกว่า “การปรับโครงสร้าง” หรือ “การสร้างโครงสร้างใหม่” ทางปัญญา (Cognitive restructuring)
โดยการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ถกเถียงปัญหา ซักค้านจนกระทั่งหาเหตุผล หรือหลักฐานในเชิงประจักษ์มาขจัด
ความขัดแย้งทางปัญญาภายในตนเอง และระหว่างบุคคลได้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มนี้มีนักจิตวิทยาคนสาคัญ ได้แก่
ความรู้ของผู้เรียนแต่ละคน
เปรียบเสมือนจิ๊กซอที่จะนามา
ต่อเชื่อมกันเป็นความรู้ใหม่
เลฟ เซมยอนโนวิน วิก๊อตสกี จอห์น ดิวอี้ ฌอง เพียเจต์
อัลริค ไนซ์เซอร์ เซมอร์ เพเพิร์ท
วิธีการสอนตามทฤษฎี
1.กรณีศึกษา (Case Studies) หรือการแก้ปัญหาเพื่อการเรียนรู้
2.การนาเสนอผลงาน/ชิ้นงานให้ปรากฎแก่สายตาหลายด้านหลายมิติ หรือการจัดทาสื่อแนะแนวทางให้คาแนะนา
3.การกากับดูแลหรือการฝึกงาน
4.การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative learning)
5.การเรียนรู้ด้วยการสืบค้น (Discovery learning)
6.การเรียนรู้เชิงสถานการณ์ (Situated learning)
ข้อเด่น-ข้อจากัด
ข้อเด่น ผู้เรียนเลือกวิธีการเรียนรู้ด้วยวิธีการและความถนัดของตน โดยร่วมมือกะผู้สอนออกแบบกิจกรรม เลือก
วิธีการเรียนรู้และสืบค้นข้อมูล มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน
ข้อจากัด มโนทัศน์ที่สร้างขึ้นเมื่อประเมินผลแล้วอาจเป็นที่ยอมรับรึไม่เป็นที่ยอมรับก็ได้
การปรับใช้กับการสอนเนื้อหาภาษาไทย
1.เชื่อมโยงความรู้เดิมเข้ากับความรู้ใหม่ ด้วยการกระตุ้นผู้เรียนด้วยสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
2.บูรณาการเนื้อหาข้ามกลุ่มสาระเข้าด้วยกัน โดยจัดให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์ของเนื้อหามาเป็น
อย่างดี
3.เน้นกิจกรรมที่สนันสนุนการเรียนรู้แบบร่วมมือ
4.มีแหล่งข้อมูลเป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศที่ผู้เรียนจะใช้ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่ผู้เรียนเผชิญ
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถค้นหาคาตอบด้วยตนเอง
5.มีผู้เชี่ยวชาญให้คาแนะนากับผู้เรียน ในกรณีที่ผู้เรียนมีข้อสงสัย
6.มีฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding) โดยจัดสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับสถานการณ์ที่เป็นคาถาม เพื่อให้ผู้เรียน
เชื่อมโยงความรู้ได้
7.มีการร่วมกันทางาน ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง มีแหล่งที่เปิด
โอกาสให้ทั้งผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู้อื่น
ผู้จัดทา
1.นางสาวนิอร หมั่นกิจ 001
2.นางสาวปิยวรรณ สิงหกมล 038
3.นางสาวภัทรธิณี โพธิสระ 040
4.นางสาวอุสรา วงศ์น้านอง 064

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)Kanchana Changkor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3Dee Arna'
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้eaktcfl
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 

Viewers also liked

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้name_bwn
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6nichaphat22
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์fateemeenorm
 
วัตสัน
วัตสันวัตสัน
วัตสันfateemeenorm
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลimmyberry
 

Viewers also liked (6)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
วัตสัน
วัตสันวัตสัน
วัตสัน
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
 

Similar to ทฤษฎี

Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036MooHnoon Choiyz
 
Problem base
Problem baseProblem base
Problem basenilobon66
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยาnan1799
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 

Similar to ทฤษฎี (20)

Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
 
Problem base
Problem baseProblem base
Problem base
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 

ทฤษฎี