SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
0
1
ชุดกิจกรรมเรื่องรู้จักสารรู้จักการเปลี่ยนแปลง เป็นชุดกิจกรรมที่จัดทาขึ้น
ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5Es ประกอบด้วยชุดกิจกรรมย่อยรวม 7 เล่ม
กิจกรรมเล่มนี้เป็นกิจกรรมเล่มที่ 1 เรื่องการแยกสารด้วยวิธีการกรอง ภายในเล่ม
ประกอบด้วย
1. แนวคิดของเรื่อง
2. มาตรฐานการเรียนรู้
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
4. แบบทดสอบก่อนเรียน แบบถูกผิด จานวน 15 ข้อ
5. กิจกรรมตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5Es
6. แบบทดสอบหลังเรียน แบบถูกผิด จานวน 15 ข้อ
ชุดกิจกรรมนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้น 90 นาที โดยนักเรียนควรปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ
ทุกขั้นตอนตามลาดับ ดังนี้
1. ศึกษาส่วนประกอบของชุดกิจกรรมอย่างละเอียด (5 นาที)
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (10 นาที)
3. ปฏิบัติกิจกรรม (35 นาที)
4. อภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม (10 นาที)
5. ศึกษาความรู้เพิ่มเติมในขั้นขยายความรู้ (5 นาที)
6. ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม (10 นาที)
7. ทาแบบทดสอบหลังเรียน (10 นาที)
8. ฟังครูเฉลยแบบทดสอบ (5 นาที)
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
2
การกรอง เป็นการแยกสารผสมที่มีสถานะเป็นของแข็ง
ที่ไม่ละลายในของเหลวหนึ่ง ๆ ออกจากของเหลวนั้น ๆ
โดยใช้วัสดุกรองซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็กกว่าอนุภาคที่เป็น
ของแข็ง ทาให้อนุภาคของของแข็งไม่สามารถผ่านวัสดุ
กรองได้ ส่วนอนุภาคของของเหลวซึ่งมีขนาดเล็กกว่า
รูพรุนของวัสดุกรองจะผ่านวัสดุกรองได้
แนวคิด
หากอนุภาคของของแข็งเล็กกว่ารูพรุนของวัสดุกรอง
จะสามารถผ่านวัสดุกรองได้ เช่นเดียวกับอนุภาคของ
ของเหลว
3
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง
สมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 3.1 ม.2/3 ทดลองและอธิบายหลักการแยกสารด้วยวิธีการกรอง
การตกผลึก การสกัด การกลั่น และโครมาโทกราฟี และนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้
4
จุดประสงค์การเรียนรู้
2. ทดลองแยกสารเนื้อผสมด้วยวิธีการกรองได้ (P)
3. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คือ มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน (A)
1. อธิบายหลักการแยกสารเนื้อผสมด้วยวิธีการกรองและ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ได้ (K)
5
คาสั่ง ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเติมเครื่องหมาย 
หน้าข้อความที่ผิด
…..…... 1. “การกรอง” เป็นการแยกสารเนื้อผสมที่ละลายน้าได้
…..…... 2. ถ้ามีฝุ่นผงอยู่ในน้าเชื่อม เราควรแยกฝุ่นผงออกด้วยวิธีการกรอง
…..…... 3. วัสดุที่นามาใช้กรองต้องมีรูพรุนใหญ่กว่าอนุภาคของของแข็งที่อยู่ในของเหลว
…..…... 4. ของแข็งที่มีอนุภาคใหญ่กว่ารุพรุนของวัสดุกรองจะค้างอยู่บนวัสดุกรอง
…..…... 5. การกรองจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการเลือกอุปกรณ์หรือ
วัสดุกรองให้เหมาะสม
…..…... 6. เมื่อสารละลายเกิดการตกผลึก เราสามารถแยกผลึกของสารออกจาก
สารละลายได้โดยการกรอง
…..…... 7. ผ้าขาวบาง ทราย ถ่าน สาลี สามารถนามาใช้เป็นวัสดุกรองได้
…..…... 8. ชนิดและสถานะของตัวทาละลายไม่เกี่ยวข้องกับการกรอง
…..…... 9. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-4
cm ไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้
…..…...10. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-7
cm ใช้กระดาษเซลโลเฟนกรองไม่ได้
(มีต่อด้านหลังอีกนะคะ)
แบบทดสอบก่อนเรียน
(10 นาที)
6
…..…... 11. เราไม่สามารถกรองของแข็งออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวโดยใช้
กระดาษเซลโลเฟน
…..…...12. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้
กระดาษกรอง
…..…...13. กระดาษกรองมีรูพรุนเล็กกว่ากระดาษเซลโลเฟน จึงสามารถแยกตัวละลาย
ที่เป็นของเหลวออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวได้
…..…...14. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้
กระดาษกรอง
…..…...15. เราสามารถใช้กระดาษกรอง กรองสารประเภทคอลลอยด์ได้
7
คาสั่ง : นักเรียนสังเกตภาพต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม
ขั้นสร้างความสนใจ
(5 นาที)
ที่มา : http://www.thaicoffeelove.com
- นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
8
ที่มา : http://115.31.137.49/sakaeo
- นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/saleman/2009/05/17/entry-1
- นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
9
ที่มา : http://www. http://oknation.nationtv.tv/blog/jarinasa/
2012/12/11/entry-1
- นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/civil/2009/09/12/entry-3
- นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
10
ขั้นสารวจและค้นหา
(30 นาที)
การกรอง เป็นวิธีการแยกสารที่เป็นของแข็งออกจาก
ของเหลว หรือใช้แยกสารแขวนลอยออกจากน้า โดยใช้วัสดุ
กรองซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็ก ทาให้อนุภาคของของแข็งที่มี
ขนาดใหญ่กว่ารูพรุนนั้นไม่สามารถผ่านวัสดุกรองได้ ส่วน
อนุภาคของของเหลวหรือน้าจะผ่านรูพรุนของวัสดุกรองได้
ในชีวิตประจาวันเราจะคุ้นเคยกับการกรองในรูปของการใช้
ผ้าขาวบางหรือกระชอนในการคั้นน้ากะทิจากมะพร้าว
แผ่นกรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์กรอง
น้าสะอาดในเครื่องกรองน้า เป็นต้น
11
คาสั่ง ให้นักเรียนออกแบบการแยกอนุภาคของของแข็งออกจากน้าโคลนและ
และน้าผสมสี ด้วยการกรองโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่กาหนดให้ดังกิจกรรมเรื่องการกรอง และ
บันทึกข้อมูลต่าง ๆ ลงในแบบบันทึกกิจกรรม
การกรอง
1. ปัญหา ...................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
2. สมมติฐาน ............................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. ตัวแปร
3.1 ตัวแปรต้น : ....................................................................................................................
3.2 ตัวแปรตาม : ..................................................................................................................
3.3 ตัวแปรควบคุม : ............................................................................................................
เราไปทากิจกรรม เรื่องการแยกสารด้วยวิธี
การกรอง กันดีกว่าครับ
12
4. อุปกรณ์การทดลอง
1. น้าโคลน
2. น้าผสมสี
3. กระดาษกรอง
4. กรวยกรอง
5. แท่งแก้วคนสาร
6. บีกเกอร์
7. ขวดรูปกรวย
5. วิธีทดลอง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
13
6. ผลการทดลอง
สาร การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้เมื่อผ่านการกรอง
น้าโคลน
...................................................................................
...................................................................................
..................................................................................
น้าผสมสี
...................................................................................
...................................................................................
..................................................................................
7. อภิปรายและสรุปผลการทดลอง
อภิปรายผลการทดลอง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
14
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
(10 นาที)
เป็นอย่างไรบ้างครับ จากที่ได้ช่วยกันศึกษาเกี่ยวกับ
การกรองไปแล้ว เพื่อน ๆ ลองช่วยกันวิเคราะห์
ผลการทดลอง โดยอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้นะครับ
(1) น้าโคลนและน้าผสมสีมีลักษณะอย่างไร ?
(2) หลังจากที่นาสารนี้ไปกรองแล้วได้ผลอย่างไร ?
(3) นักเรียนคิดว่าเราสามารถแยกองค์ประกอบของสารเนื้อผสมที่ไม่ละลายน้า
ได้โดยวิธีการใด ?
15
เก่งมากครับเพื่อน ๆ ต่อไปเรามาทาความรู้จักกับ
กระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน ซึ่งเป็นวัสดุ
กรองที่เรามักใช้กันในห้องปฏิบัติการนะครับ
กระดาษกรอง มีรูพรุนขนาด 10-4
cm จึงใช้กรอง
สารแขวนลอย ซึ่งมีขนาดอนุภาคของของแข็ง
ในของเหลวที่ใหญ่กว่า 10-4
cm
กระดาษเซลโลเฟน มีรูพรุนขนาด 10-7
cm จึงใช้
กรองสารที่มีขนาดอนุภาคของของแข็งในของเหลว
ที่ใหญ่กว่า 10-7
cm ได้ สารดังกล่าวได้แก่ สาร
แขวนลอย และคอลลอยด์ ซึ่งมีขนาดอนุภาค
ของแข็งอยู่ระหว่าง 10-7
- 10-4
cm
ถ้าเป็นสาระละลาย จะมีขนาดอนุภาคของของแข็ง
ในของเหลวที่เล็กกว่า 10-7
cm จึงไม่สามารถแยก
ของแข็งออกจากของเหลวได้ด้วยวิธีการกรองครับ
16
สารที่จะสามารถแยกได้ด้วยวิธีการกรองจะต้องมีลักษณะเป็นอย่างไร ?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
......................................................................................................................................
หลักการแยกสารด้วยการกรองมีอย่างไรบ้าง ?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
เพื่อน ๆ ลองตอบคาถามต่อไปนี้
เพื่อทดสอบความรู้กันนะครับ
17
ถ้าเราต้องการแยกเศษฝุ่นผงเล็ก ๆ ออกจากน้าเชื่อม เราสามารถใช้อะไร
เป็นวัสดุกรองได้บ้าง ?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
เราสามารถนาวิธีแยกสารด้วยการกรองมาใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง ?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ถ้าเราต้องการแยกเกลือที่ละลายอยู่ในน้าเกลือออกมา โดยวิธีการกรอง
เราสามารถใช้อะไรเป็นวัสดุกรองได้บ้าง ?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
18
เพื่อน ๆ คงพอจะสรุปได้แล้วนะครับว่า สารที่เราจะ
นามาแยกด้วยการกรองนั้นต้องเป็นสารผสมระหว่าง
ของแข็งกับของเหลว โดยที่อนุภาคของของแข็งต้องมี
ขนาดใหญ่กว่ารูพรุนของวัสดุกรอง ดังนั้นจึงต้องเลือก
วัสดุกรองให้เหมาะสม จึงจะสามารถแยกสารได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
สาหรับการกรองสารในห้องปฏิบัติการนั้น
เรามักใช้วัสดุกรอง เช่น
- กระดาษกรอง ใช้กรองสารแขวนลอย ซึ่งมี
ขนาดอนุภาคของของแข็งใหญ่กว่า 10-4
cm
- กระดาษเซลโลเฟน ใช้กรองสารที่มีขนาด
อนุภาคของของแข็งใหญ่กว่า 10-7
cm
19
ขั้นขยายความรู้
(5 นาที)
รูปแบบการกรองน้าโดยทั่วไปซึ่งเป็นที่รู้จักนั้น
ส่วนใหญ่จะเป็นการนาน้าประปาหรือน้าบาดาล
มากรองเพื่อทาให้น้านั้นสะอาดขึ้นและปราศจาก
กลิ่นรบกวนต่าง ๆ ทั้งนี้ก็เพื่อทาให้เกิดความมั่นใจ
ในการบริโภคเพิ่มมากขึ้น
ทั้งนี้การกรองน้าโดยทั่วไปนั้น เราสามารถพบ
ได้ว่ามีรูปแบบต่าง ๆ กันมากมาย โดยรูปแบบ
ที่เรารู้จัก เช่น สารกรอง เช่น ทรายกรอง
กรวดกรอง คาร์บอนเม็ด เรซิ่น หรือไส้กรอง
แบบแท่ง เช่น ไส้กรองใยโพลีโพไพลีน
ไส้กรองคาร์บอนอัดแท่ง ไส้กรองเซรามิก
ฯลฯ
20
การกรองน้าตามที่พักอาศัยนั้นส่วนใหญ่จะมีคาร์บอน เป็น
ส่วนประกอบอยู่ด้วยเสมอเพื่อกรองหรือดูดซับกลิ่น สี หรือคลอรีน
ซึ่งเป็นตัวการทาให้เกิดกลิ่นในน้าประปา ทั้งนี้เมื่อน้าผ่านการกรอง
ด้วยคาร์บอนกลิ่นของคลอรีนหรือกลิ่นต่าง ๆ ที่อยู่ในน้าก็จะ
หมดไป ทาให้เราอาจจะคิดว่า น้านั้นสะอาด แต่ความจริงแล้ว
น้านั้นยังไม่ได้สะอาดอย่างแท้จริง เพราะการกรองไม่สามารถกรอง
เชื้อโรคต่าง ๆ ได้
การกรองน้าทุกรูปแบบต้องได้รับการดูแลในเรื่อง
การเปลี่ยนหรือการล้างสารกรองหรือไส้กรองเมื่อ
ถึงเวลาที่กาหนด ไม่เช่นนั้นประสิทธิภาพในการกรอง
จะลดลง หรือไม่สามารถกรองสิ่งใดได้เลย ดังนั้น เราจึง
ควรดูแลทาความสะอาดหรือเปลี่ยนไส้กรอง
อย่างสม่าเสมอเพื่อให้คงประสิทธิภาพในการกรองไว้
21
ภาพเครื่องกรองน้าอย่างง่าย
ที่มา : www.pinterest.com/jacksontang/
เราสามารถนาความรู้เรื่องหลักการกรองไปใช้ผลิต
เครื่องกรองน้าแบบง่าย ๆ ได้ ดังภาพ
22
ภาพตัวอย่างระบบเครื่องกรองน้า 2-3 ขั้นตอน และลาดับไส้กรองน้า
ที่มา : www.duan-daw.com/article/10
อาจนาความรู้เรื่องหลักการกรองน้าไปผลิตเป็น
เครื่องกรองน้าสาหรับอุปโภคบริโภคได้
ดังภาพ
23
ภาพถังกรองน้าอย่างง่าย
ที่มา : http://www.banidea.com/biochar-water-treatment-systems/
จากที่ได้ศึกษาเรื่องการกรอง และตัวอย่างการนาความรู้
เรื่องการกรองไปใช้ประโยชน์มากมาย ถ้าเพื่อน ๆ จะ
ออกแบบเครื่องกรองน้าเพื่อใช้ในบ้านโดยใช้วัสดุดังนี้
(1) ถ่าน
(2) หินขรุขระ
(3) ทรายก่อสร้าง
เพื่อน ๆ จะเลือกใช้วัสดุใดใส่ลงไปในภาชนะขนาดใหญ่
ทั้ง 3 ดังรูป ลองช่วยกันคิดและบอกเหตุผลด้วยนะคะ
..............
..............
………………
………………
……………
……………
4.น้า
สะอาด
24
บันทึกการเรียนรู้ เรื่อง.............................................................
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 วันที่..........เดือน.................................พ.ศ.................
รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์ 3 ครูผู้สอน นางชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
1. ในการจัดการเรียนรู้เรื่องนี้ นักเรียนได้ทากิจกรรมอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จากข้อ 1 กิจกรรมที่นักเรียนประทับใจมีอะไรบ้าง เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. นักเรียนได้เรียนรู้ และเกิดความคิด/แนวคิดใหม่อะไรบ้าง และความคิด/แนวคิดนั้น
เชื่อมโยงกับความรู้เดิมอะไรบ้าง อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขั้นประเมิน
(10 นาที)
25
4. นักเรียนจะนาประสบการณ์ ความคิด และสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในครั้งนี้ไปใช้
ประโยชน์อย่างไร เมื่อใด เพื่ออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ข้อสงสัยที่เกิดจากการเรียนรู้ในเรื่องนี้/สิ่งที่ต้องการหาคาตอบต่อไป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)...........................................................นักเรียน
26
คาสั่ง ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเติมเครื่องหมาย 
หน้าข้อความที่ผิด
……….. 1. “การกรอง” เป็นการแยกสารเนื้อผสมที่ละลายน้าได้
……….. 2. วัสดุที่นามาใช้กรองต้องมีรูพรุนใหญ่กว่าอนุภาคของของแข็งที่อยู่ในของเหลว
……….. 3. การกรองจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการเลือกอุปกรณ์หรือ
วัสดุกรองให้เหมาะสม
……….. 4. ผ้าขาวบาง ทราย ถ่าน สาลี สามารถนามาใช้เป็นวัสดุกรองได้
……….. 5. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-4
cm ไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้
……….. 6. เราไม่สามารถกรองของแข็งออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวโดยใช้
กระดาษเซลโลเฟน
……….. 7. กระดาษกรองมีรูพรุนเล็กกว่ากระดาษเซลโลเฟน จึงสามารถแยกตัวละลาย
ที่เป็นของเหลวออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวได้
……….. 8. ถ้ามีฝุ่นผงอยู่ในน้าเชื่อม เราควรแยกฝุ่นผงออกด้วยวิธีการกรอง
……….. 9. ของแข็งที่มีอนุภาคใหญ่กว่ารุพรุนของวัสดุกรองจะค้างอยู่บนวัสดุกรอง
………..10. เมื่อสารละลายเกิดการตกผลึก เราสามารถแยกผลึกของสารออกจาก
สารละลายได้โดยการกรอง
(มีต่อด้านหลังอีกนะคะ)
แบบทดสอบหลังเรียน
(10 นาที)
27
………..11. ชนิดและสถานะของตัวทาละลายไม่เกี่ยวข้องกับการกรอง
………..12. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-7
cm ใช้กระดาษเซลโลเฟนกรองไม่ได้
………..13. เราสามารถใช้กระดาษกรอง กรองสารประเภทคอลลอยด์ได้
………..14. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้
กระดาษกรอง
………..15. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้
กระดาษกรอง
28
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ (2551) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
กิ่งฟ้า สินธุวงษ์ (2550) "พื้นฐานทางจิตวิทยาของการเรียนการสอน" ใน ประมวลชุดวิชา
สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 6 หน้า 15-21 นนทบุรี
บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
นันทยา ศรีขาว (2552) เจาะลึกตารางธาตุ กรุงเทพฯ สานักพิมพ์แพนสยาม จากัด
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2553) วิทยาศาสตร์ 3 กรุงเทพฯ
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว
แหล่งอ้างอิงออนไลน์
ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.scimath.org
(วันที่ค้นข้อมูล 20 เมษายน 2558)
ธาตุกัมมันตรังสี ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.vcharkarn.com
(วันที่ค้นข้อมูล 20 เมษายน 2558)
ภาพการกรองกะทิ ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก :
http://www.oknation.net/blog/saleman/2009/05/17/entry-1
(วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558)
ภาพการกรองกาแฟ ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.thaicoffeelove.com
(วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558)
ภาพการกรองเนื้อตาล ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : จัดหางานจังหวัดสระแก้ว,
http://115.31.137.49/sakaeo (วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558)
ภาพการกรองน้า ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/civil/
2009/09/12/entry-3 (วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558)
ระบบการกรองน้าโดยทั่วไป ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.waternetplc.com/th/
(วันที่ค้นข้อมูล 18 เมษายน 2558)
29

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง

อบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำอบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำpoomarin
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...Ketsarin Prommajun
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...Kroo Keng
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learningKruthai Kidsdee
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7fernfielook
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารWilawon Jatinei
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...riyanma
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง (20)

อบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำอบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำ
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Lesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowthLesson3 plantgrowth
Lesson3 plantgrowth
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learning
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหารชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
ชุดที2 ระบบย่อยอาหาร
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง

  • 1. 0
  • 2. 1 ชุดกิจกรรมเรื่องรู้จักสารรู้จักการเปลี่ยนแปลง เป็นชุดกิจกรรมที่จัดทาขึ้น ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5Es ประกอบด้วยชุดกิจกรรมย่อยรวม 7 เล่ม กิจกรรมเล่มนี้เป็นกิจกรรมเล่มที่ 1 เรื่องการแยกสารด้วยวิธีการกรอง ภายในเล่ม ประกอบด้วย 1. แนวคิดของเรื่อง 2. มาตรฐานการเรียนรู้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. แบบทดสอบก่อนเรียน แบบถูกผิด จานวน 15 ข้อ 5. กิจกรรมตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5Es 6. แบบทดสอบหลังเรียน แบบถูกผิด จานวน 15 ข้อ ชุดกิจกรรมนี้ ใช้เวลาทั้งสิ้น 90 นาที โดยนักเรียนควรปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ ทุกขั้นตอนตามลาดับ ดังนี้ 1. ศึกษาส่วนประกอบของชุดกิจกรรมอย่างละเอียด (5 นาที) 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (10 นาที) 3. ปฏิบัติกิจกรรม (35 นาที) 4. อภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการทากิจกรรม (10 นาที) 5. ศึกษาความรู้เพิ่มเติมในขั้นขยายความรู้ (5 นาที) 6. ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม (10 นาที) 7. ทาแบบทดสอบหลังเรียน (10 นาที) 8. ฟังครูเฉลยแบบทดสอบ (5 นาที) คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
  • 3. 2 การกรอง เป็นการแยกสารผสมที่มีสถานะเป็นของแข็ง ที่ไม่ละลายในของเหลวหนึ่ง ๆ ออกจากของเหลวนั้น ๆ โดยใช้วัสดุกรองซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็กกว่าอนุภาคที่เป็น ของแข็ง ทาให้อนุภาคของของแข็งไม่สามารถผ่านวัสดุ กรองได้ ส่วนอนุภาคของของเหลวซึ่งมีขนาดเล็กกว่า รูพรุนของวัสดุกรองจะผ่านวัสดุกรองได้ แนวคิด หากอนุภาคของของแข็งเล็กกว่ารูพรุนของวัสดุกรอง จะสามารถผ่านวัสดุกรองได้ เช่นเดียวกับอนุภาคของ ของเหลว
  • 4. 3 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง สมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 3.1 ม.2/3 ทดลองและอธิบายหลักการแยกสารด้วยวิธีการกรอง การตกผลึก การสกัด การกลั่น และโครมาโทกราฟี และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐานการเรียนรู้
  • 5. 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ทดลองแยกสารเนื้อผสมด้วยวิธีการกรองได้ (P) 3. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คือ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน (A) 1. อธิบายหลักการแยกสารเนื้อผสมด้วยวิธีการกรองและ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ได้ (K)
  • 6. 5 คาสั่ง ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด …..…... 1. “การกรอง” เป็นการแยกสารเนื้อผสมที่ละลายน้าได้ …..…... 2. ถ้ามีฝุ่นผงอยู่ในน้าเชื่อม เราควรแยกฝุ่นผงออกด้วยวิธีการกรอง …..…... 3. วัสดุที่นามาใช้กรองต้องมีรูพรุนใหญ่กว่าอนุภาคของของแข็งที่อยู่ในของเหลว …..…... 4. ของแข็งที่มีอนุภาคใหญ่กว่ารุพรุนของวัสดุกรองจะค้างอยู่บนวัสดุกรอง …..…... 5. การกรองจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการเลือกอุปกรณ์หรือ วัสดุกรองให้เหมาะสม …..…... 6. เมื่อสารละลายเกิดการตกผลึก เราสามารถแยกผลึกของสารออกจาก สารละลายได้โดยการกรอง …..…... 7. ผ้าขาวบาง ทราย ถ่าน สาลี สามารถนามาใช้เป็นวัสดุกรองได้ …..…... 8. ชนิดและสถานะของตัวทาละลายไม่เกี่ยวข้องกับการกรอง …..…... 9. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-4 cm ไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้ …..…...10. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-7 cm ใช้กระดาษเซลโลเฟนกรองไม่ได้ (มีต่อด้านหลังอีกนะคะ) แบบทดสอบก่อนเรียน (10 นาที)
  • 7. 6 …..…... 11. เราไม่สามารถกรองของแข็งออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวโดยใช้ กระดาษเซลโลเฟน …..…...12. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้ กระดาษกรอง …..…...13. กระดาษกรองมีรูพรุนเล็กกว่ากระดาษเซลโลเฟน จึงสามารถแยกตัวละลาย ที่เป็นของเหลวออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวได้ …..…...14. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้ กระดาษกรอง …..…...15. เราสามารถใช้กระดาษกรอง กรองสารประเภทคอลลอยด์ได้
  • 8. 7 คาสั่ง : นักเรียนสังเกตภาพต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขั้นสร้างความสนใจ (5 นาที) ที่มา : http://www.thaicoffeelove.com - นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
  • 9. 8 ที่มา : http://115.31.137.49/sakaeo - นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด ที่มา : http://www.oknation.net/blog/saleman/2009/05/17/entry-1 - นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
  • 10. 9 ที่มา : http://www. http://oknation.nationtv.tv/blog/jarinasa/ 2012/12/11/entry-1 - นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด ที่มา : http://www.oknation.net/blog/civil/2009/09/12/entry-3 - นักเรียนคิดว่าภาพนี้เกี่ยวข้องกับสิ่งใด
  • 11. 10 ขั้นสารวจและค้นหา (30 นาที) การกรอง เป็นวิธีการแยกสารที่เป็นของแข็งออกจาก ของเหลว หรือใช้แยกสารแขวนลอยออกจากน้า โดยใช้วัสดุ กรองซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็ก ทาให้อนุภาคของของแข็งที่มี ขนาดใหญ่กว่ารูพรุนนั้นไม่สามารถผ่านวัสดุกรองได้ ส่วน อนุภาคของของเหลวหรือน้าจะผ่านรูพรุนของวัสดุกรองได้ ในชีวิตประจาวันเราจะคุ้นเคยกับการกรองในรูปของการใช้ ผ้าขาวบางหรือกระชอนในการคั้นน้ากะทิจากมะพร้าว แผ่นกรองอากาศในเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์กรอง น้าสะอาดในเครื่องกรองน้า เป็นต้น
  • 12. 11 คาสั่ง ให้นักเรียนออกแบบการแยกอนุภาคของของแข็งออกจากน้าโคลนและ และน้าผสมสี ด้วยการกรองโดยใช้วัสดุอุปกรณ์ที่กาหนดให้ดังกิจกรรมเรื่องการกรอง และ บันทึกข้อมูลต่าง ๆ ลงในแบบบันทึกกิจกรรม การกรอง 1. ปัญหา ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. สมมติฐาน ............................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... 3. ตัวแปร 3.1 ตัวแปรต้น : .................................................................................................................... 3.2 ตัวแปรตาม : .................................................................................................................. 3.3 ตัวแปรควบคุม : ............................................................................................................ เราไปทากิจกรรม เรื่องการแยกสารด้วยวิธี การกรอง กันดีกว่าครับ
  • 13. 12 4. อุปกรณ์การทดลอง 1. น้าโคลน 2. น้าผสมสี 3. กระดาษกรอง 4. กรวยกรอง 5. แท่งแก้วคนสาร 6. บีกเกอร์ 7. ขวดรูปกรวย 5. วิธีทดลอง ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................
  • 14. 13 6. ผลการทดลอง สาร การเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้เมื่อผ่านการกรอง น้าโคลน ................................................................................... ................................................................................... .................................................................................. น้าผสมสี ................................................................................... ................................................................................... .................................................................................. 7. อภิปรายและสรุปผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ สรุปผลการทดลอง ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................
  • 15. 14 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (10 นาที) เป็นอย่างไรบ้างครับ จากที่ได้ช่วยกันศึกษาเกี่ยวกับ การกรองไปแล้ว เพื่อน ๆ ลองช่วยกันวิเคราะห์ ผลการทดลอง โดยอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้นะครับ (1) น้าโคลนและน้าผสมสีมีลักษณะอย่างไร ? (2) หลังจากที่นาสารนี้ไปกรองแล้วได้ผลอย่างไร ? (3) นักเรียนคิดว่าเราสามารถแยกองค์ประกอบของสารเนื้อผสมที่ไม่ละลายน้า ได้โดยวิธีการใด ?
  • 16. 15 เก่งมากครับเพื่อน ๆ ต่อไปเรามาทาความรู้จักกับ กระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน ซึ่งเป็นวัสดุ กรองที่เรามักใช้กันในห้องปฏิบัติการนะครับ กระดาษกรอง มีรูพรุนขนาด 10-4 cm จึงใช้กรอง สารแขวนลอย ซึ่งมีขนาดอนุภาคของของแข็ง ในของเหลวที่ใหญ่กว่า 10-4 cm กระดาษเซลโลเฟน มีรูพรุนขนาด 10-7 cm จึงใช้ กรองสารที่มีขนาดอนุภาคของของแข็งในของเหลว ที่ใหญ่กว่า 10-7 cm ได้ สารดังกล่าวได้แก่ สาร แขวนลอย และคอลลอยด์ ซึ่งมีขนาดอนุภาค ของแข็งอยู่ระหว่าง 10-7 - 10-4 cm ถ้าเป็นสาระละลาย จะมีขนาดอนุภาคของของแข็ง ในของเหลวที่เล็กกว่า 10-7 cm จึงไม่สามารถแยก ของแข็งออกจากของเหลวได้ด้วยวิธีการกรองครับ
  • 17. 16 สารที่จะสามารถแยกได้ด้วยวิธีการกรองจะต้องมีลักษณะเป็นอย่างไร ? ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................... หลักการแยกสารด้วยการกรองมีอย่างไรบ้าง ? ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ เพื่อน ๆ ลองตอบคาถามต่อไปนี้ เพื่อทดสอบความรู้กันนะครับ
  • 18. 17 ถ้าเราต้องการแยกเศษฝุ่นผงเล็ก ๆ ออกจากน้าเชื่อม เราสามารถใช้อะไร เป็นวัสดุกรองได้บ้าง ? ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ เราสามารถนาวิธีแยกสารด้วยการกรองมาใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง ? ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ถ้าเราต้องการแยกเกลือที่ละลายอยู่ในน้าเกลือออกมา โดยวิธีการกรอง เราสามารถใช้อะไรเป็นวัสดุกรองได้บ้าง ? ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................
  • 19. 18 เพื่อน ๆ คงพอจะสรุปได้แล้วนะครับว่า สารที่เราจะ นามาแยกด้วยการกรองนั้นต้องเป็นสารผสมระหว่าง ของแข็งกับของเหลว โดยที่อนุภาคของของแข็งต้องมี ขนาดใหญ่กว่ารูพรุนของวัสดุกรอง ดังนั้นจึงต้องเลือก วัสดุกรองให้เหมาะสม จึงจะสามารถแยกสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับการกรองสารในห้องปฏิบัติการนั้น เรามักใช้วัสดุกรอง เช่น - กระดาษกรอง ใช้กรองสารแขวนลอย ซึ่งมี ขนาดอนุภาคของของแข็งใหญ่กว่า 10-4 cm - กระดาษเซลโลเฟน ใช้กรองสารที่มีขนาด อนุภาคของของแข็งใหญ่กว่า 10-7 cm
  • 20. 19 ขั้นขยายความรู้ (5 นาที) รูปแบบการกรองน้าโดยทั่วไปซึ่งเป็นที่รู้จักนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการนาน้าประปาหรือน้าบาดาล มากรองเพื่อทาให้น้านั้นสะอาดขึ้นและปราศจาก กลิ่นรบกวนต่าง ๆ ทั้งนี้ก็เพื่อทาให้เกิดความมั่นใจ ในการบริโภคเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้การกรองน้าโดยทั่วไปนั้น เราสามารถพบ ได้ว่ามีรูปแบบต่าง ๆ กันมากมาย โดยรูปแบบ ที่เรารู้จัก เช่น สารกรอง เช่น ทรายกรอง กรวดกรอง คาร์บอนเม็ด เรซิ่น หรือไส้กรอง แบบแท่ง เช่น ไส้กรองใยโพลีโพไพลีน ไส้กรองคาร์บอนอัดแท่ง ไส้กรองเซรามิก ฯลฯ
  • 21. 20 การกรองน้าตามที่พักอาศัยนั้นส่วนใหญ่จะมีคาร์บอน เป็น ส่วนประกอบอยู่ด้วยเสมอเพื่อกรองหรือดูดซับกลิ่น สี หรือคลอรีน ซึ่งเป็นตัวการทาให้เกิดกลิ่นในน้าประปา ทั้งนี้เมื่อน้าผ่านการกรอง ด้วยคาร์บอนกลิ่นของคลอรีนหรือกลิ่นต่าง ๆ ที่อยู่ในน้าก็จะ หมดไป ทาให้เราอาจจะคิดว่า น้านั้นสะอาด แต่ความจริงแล้ว น้านั้นยังไม่ได้สะอาดอย่างแท้จริง เพราะการกรองไม่สามารถกรอง เชื้อโรคต่าง ๆ ได้ การกรองน้าทุกรูปแบบต้องได้รับการดูแลในเรื่อง การเปลี่ยนหรือการล้างสารกรองหรือไส้กรองเมื่อ ถึงเวลาที่กาหนด ไม่เช่นนั้นประสิทธิภาพในการกรอง จะลดลง หรือไม่สามารถกรองสิ่งใดได้เลย ดังนั้น เราจึง ควรดูแลทาความสะอาดหรือเปลี่ยนไส้กรอง อย่างสม่าเสมอเพื่อให้คงประสิทธิภาพในการกรองไว้
  • 23. 22 ภาพตัวอย่างระบบเครื่องกรองน้า 2-3 ขั้นตอน และลาดับไส้กรองน้า ที่มา : www.duan-daw.com/article/10 อาจนาความรู้เรื่องหลักการกรองน้าไปผลิตเป็น เครื่องกรองน้าสาหรับอุปโภคบริโภคได้ ดังภาพ
  • 24. 23 ภาพถังกรองน้าอย่างง่าย ที่มา : http://www.banidea.com/biochar-water-treatment-systems/ จากที่ได้ศึกษาเรื่องการกรอง และตัวอย่างการนาความรู้ เรื่องการกรองไปใช้ประโยชน์มากมาย ถ้าเพื่อน ๆ จะ ออกแบบเครื่องกรองน้าเพื่อใช้ในบ้านโดยใช้วัสดุดังนี้ (1) ถ่าน (2) หินขรุขระ (3) ทรายก่อสร้าง เพื่อน ๆ จะเลือกใช้วัสดุใดใส่ลงไปในภาชนะขนาดใหญ่ ทั้ง 3 ดังรูป ลองช่วยกันคิดและบอกเหตุผลด้วยนะคะ .............. .............. ……………… ……………… …………… …………… 4.น้า สะอาด
  • 25. 24 บันทึกการเรียนรู้ เรื่อง............................................................. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 วันที่..........เดือน.................................พ.ศ................. รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์ 3 ครูผู้สอน นางชลธิกาญจน์ จินาจันทร์ 1. ในการจัดการเรียนรู้เรื่องนี้ นักเรียนได้ทากิจกรรมอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากข้อ 1 กิจกรรมที่นักเรียนประทับใจมีอะไรบ้าง เพราะเหตุใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. นักเรียนได้เรียนรู้ และเกิดความคิด/แนวคิดใหม่อะไรบ้าง และความคิด/แนวคิดนั้น เชื่อมโยงกับความรู้เดิมอะไรบ้าง อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขั้นประเมิน (10 นาที)
  • 26. 25 4. นักเรียนจะนาประสบการณ์ ความคิด และสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ในครั้งนี้ไปใช้ ประโยชน์อย่างไร เมื่อใด เพื่ออะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ข้อสงสัยที่เกิดจากการเรียนรู้ในเรื่องนี้/สิ่งที่ต้องการหาคาตอบต่อไป …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ)...........................................................นักเรียน
  • 27. 26 คาสั่ง ให้นักเรียนเติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด ……….. 1. “การกรอง” เป็นการแยกสารเนื้อผสมที่ละลายน้าได้ ……….. 2. วัสดุที่นามาใช้กรองต้องมีรูพรุนใหญ่กว่าอนุภาคของของแข็งที่อยู่ในของเหลว ……….. 3. การกรองจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการเลือกอุปกรณ์หรือ วัสดุกรองให้เหมาะสม ……….. 4. ผ้าขาวบาง ทราย ถ่าน สาลี สามารถนามาใช้เป็นวัสดุกรองได้ ……….. 5. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-4 cm ไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ……….. 6. เราไม่สามารถกรองของแข็งออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวโดยใช้ กระดาษเซลโลเฟน ……….. 7. กระดาษกรองมีรูพรุนเล็กกว่ากระดาษเซลโลเฟน จึงสามารถแยกตัวละลาย ที่เป็นของเหลวออกจากสารละลายที่เป็นของเหลวได้ ……….. 8. ถ้ามีฝุ่นผงอยู่ในน้าเชื่อม เราควรแยกฝุ่นผงออกด้วยวิธีการกรอง ……….. 9. ของแข็งที่มีอนุภาคใหญ่กว่ารุพรุนของวัสดุกรองจะค้างอยู่บนวัสดุกรอง ………..10. เมื่อสารละลายเกิดการตกผลึก เราสามารถแยกผลึกของสารออกจาก สารละลายได้โดยการกรอง (มีต่อด้านหลังอีกนะคะ) แบบทดสอบหลังเรียน (10 นาที)
  • 28. 27 ………..11. ชนิดและสถานะของตัวทาละลายไม่เกี่ยวข้องกับการกรอง ………..12. ของแข็งที่มีขนาดเล็กกว่า 10-7 cm ใช้กระดาษเซลโลเฟนกรองไม่ได้ ………..13. เราสามารถใช้กระดาษกรอง กรองสารประเภทคอลลอยด์ได้ ………..14. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้ กระดาษกรอง ………..15. เราสามารถแยกของแข็งออกจากสารแขวนลอยที่เป็นของเหลวโดยใช้ กระดาษกรอง
  • 29. 28 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ (2551) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรุงเทพฯ โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ กิ่งฟ้า สินธุวงษ์ (2550) "พื้นฐานทางจิตวิทยาของการเรียนการสอน" ใน ประมวลชุดวิชา สารัตถะและวิทยวิธีทางวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 6 หน้า 15-21 นนทบุรี บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ นันทยา ศรีขาว (2552) เจาะลึกตารางธาตุ กรุงเทพฯ สานักพิมพ์แพนสยาม จากัด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2553) วิทยาศาสตร์ 3 กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว แหล่งอ้างอิงออนไลน์ ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.scimath.org (วันที่ค้นข้อมูล 20 เมษายน 2558) ธาตุกัมมันตรังสี ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.vcharkarn.com (วันที่ค้นข้อมูล 20 เมษายน 2558) ภาพการกรองกะทิ ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/saleman/2009/05/17/entry-1 (วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558) ภาพการกรองกาแฟ ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.thaicoffeelove.com (วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558) ภาพการกรองเนื้อตาล ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : จัดหางานจังหวัดสระแก้ว, http://115.31.137.49/sakaeo (วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558) ภาพการกรองน้า ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/blog/civil/ 2009/09/12/entry-3 (วันที่ค้นข้อมูล 16 เมษายน 2558) ระบบการกรองน้าโดยทั่วไป ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก : http://www.waternetplc.com/th/ (วันที่ค้นข้อมูล 18 เมษายน 2558)
  • 30. 29