SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ประวัติภาษาซี
ภาษาซีเป็ นภาษาที่ถือว่าเป็ นทั้งภาษาระดับสูง
และระดับต่ำา ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis Ritche)
แห่งห ้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ที่เมอร์รีฮิล
มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได ้ใช ้หลักการของภาษา บีซีพี
แ อ ล (BCPL : Basic Combine Programming
Language) ซึ่ง พั ฒ น า ขึ้น โ ด ย เ ค น ท อ ม สั น (Ken
Tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มี
จุดมุ่งหมายให ้เป็ นภาษาสำาหรับใช ้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการ
ระบบยูนิกซ์ และได ้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็ น
ตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็ น
ภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำา ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช ้
ข ้อมูลและมีโครงสร ้างการควบคุมการทำางานของโปรแกรม
เป็ นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่า
เป็ นภาษาระดับสูง ในด ้านที่ถือว่าภาษาซีเป็ นภาษาระดับต่ำา
เพราะภาษาซีมีวิธีการเข ้าถึงในระดับต่ำาที่สุดของฮาร์ดแวร์
ความสามารถทั้งสองด ้านของภาษานี้เป็ นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกัน
และกัน ความสามารถระดับต่ำาทำาให ้ภาษาซีสามารถใช ้เฉพาะ
เครื่องได ้ และความสามารถระดับสูง ทำาให ้ภาษาซีเป็ นอิสระ
จากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร ้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับ
ชนิดของข ้อมูลนั้นได ้เอง ทำาให ้โปรแกรมที่เขียนด ้วยภาษาซีที่
เขียนบนเครื่องหนึ่ง สามารถนำาไปใช ้กับอีกเครื่องหนึ่งได ้
ประกอบกับการใช ้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได ้ว่าเป็นตัวอย่าง
ที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์
วิวัฒนาการของภาษาซี
- ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken
Thompson ซึ่งทำางานบนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทำางาน
บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ไม่ได ้และยังมีข ้อจำากัดในการใช ้
งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียน
โดย Marth Richards)
- ค .ศ . 1972 Dennis M. Ritchie แ ล ะ Ken
Thompson ไ ด ้สร ้า งภา ษา C เพื่อ เพิ่มประ สิทธิภา พ
ภาษา B ให ้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรกภาษา C ไม่เป็ นที่นิยมแก่นัก
โปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก
- แต่เดิมภาษา C ใช ้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภาย
ใต ้ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค.
ศ. 1981 เป็ นช่วงของการพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
ภ า ษ า C จึ ง มี บ ท บ า ท สำา คั ญ ใ น ก า ร นำา ม า ใ ช ้บ น
เครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต ้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย
ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกำาหนดทิศทางการใช ้ภาษา C ให ้เป็ นไป
แนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard
Institute) ได ้กำาหนดข ้อตกลงที่เรียกว่า 3J11 เพื่อสร ้าง
ภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C
- ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่งห ้องปฏิบัติการเบล
(Bell Laboratories) ไ ด ้พั ฒ น า ภ า ษ า C++ ขึ้น ร า ย
ละเอียดและความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C
ที่สำาคัญ ๆ ได ้แก่ แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบ
กำาหนดวัตถุเป้าหมายหรือแบบ OOP (Object Oriented
Programming) ซึ่งเป็ นแนวการเขียนโปรแกรมที่เหมาะกับ
การพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มีความสลับซับซ ้อนมาก มี
ข ้อมูลที่ใช ้ในโปรแกรมจำานวนมาก จึงนิยมใช ้เทคนิคของการ
เขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่
ในปัจจุบันนี้
รูปแบบของการเขียนโปรแกรม
ชนิดของข้อมูล ประกอบไปด ้วย
1. character(char) ใช ้ 1byte บน Dos มีค่า -
128 ถึง 127 นิยมใช ้ตัวอักษร 1 ตัวอักษร
2. integer (int) ใ ช ้ 2 byte มี ค่ า -
32768 ถึง 32767 และยังมี long ซึ่งคล ้าย intege
r แต่เก็บด ้วย ช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ ถึง 4
byte
3. float ใช ้ 2 byte ใช ้เก็บตัวเลขทศนิยม และยัง
มี double ซึ่งคล ้าย float แต่เก็บด ้วยช่วงตัวเลขที่
ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ถึง 4 byte
4. ในภาษา C จะไม่มีชนิดข ้อมูลเป็ น string แต่จะ
ใช ้สายของอักษร หรือ Array ของ Char แทนความ
จริงแล ้ว ชนิดของข ้อมูลยังสามารถจำาแนกไปได ้อีกมาก
แต่ในที่นี้ขอแนะนำาเพียงเท่านี้ก่อน ก็เพียงพอ

More Related Content

What's hot

ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีrussana
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณNarongrit Hotrucha
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษาN'Nattaphong Hnoonet
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา Cnattawt
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)nattawt
 

What's hot (8)

ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษา
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)
 

Similar to ประวัติภาษาซี

พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18noo Carzy
 
แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีbabiesawalee
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Tanadon Boonjumnong
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
จุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซีจุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซีN'Nattaphong Hnoonet
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมKashima Seto
 
โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1Jaruwank
 
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีdechathon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 

Similar to ประวัติภาษาซี (20)

พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
 
แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซี
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
Microsoft word document
Microsoft word documentMicrosoft word document
Microsoft word document
 
CCC
CCCCCC
CCC
 
จุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซีจุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1
 
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซีใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
ใบความรู้ที่ 2 กำเนิดภาษาซี
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 

ประวัติภาษาซี

  • 1. ประวัติภาษาซี ภาษาซีเป็ นภาษาที่ถือว่าเป็ นทั้งภาษาระดับสูง และระดับต่ำา ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แห่งห ้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได ้ใช ้หลักการของภาษา บีซีพี แ อ ล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่ง พั ฒ น า ขึ้น โ ด ย เ ค น ท อ ม สั น (Ken Tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มี จุดมุ่งหมายให ้เป็ นภาษาสำาหรับใช ้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการ ระบบยูนิกซ์ และได ้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็ น ตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็ น ภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำา ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช ้ ข ้อมูลและมีโครงสร ้างการควบคุมการทำางานของโปรแกรม เป็ นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่า เป็ นภาษาระดับสูง ในด ้านที่ถือว่าภาษาซีเป็ นภาษาระดับต่ำา เพราะภาษาซีมีวิธีการเข ้าถึงในระดับต่ำาที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสองด ้านของภาษานี้เป็ นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกัน และกัน ความสามารถระดับต่ำาทำาให ้ภาษาซีสามารถใช ้เฉพาะ เครื่องได ้ และความสามารถระดับสูง ทำาให ้ภาษาซีเป็ นอิสระ จากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร ้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับ ชนิดของข ้อมูลนั้นได ้เอง ทำาให ้โปรแกรมที่เขียนด ้วยภาษาซีที่ เขียนบนเครื่องหนึ่ง สามารถนำาไปใช ้กับอีกเครื่องหนึ่งได ้ ประกอบกับการใช ้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได ้ว่าเป็นตัวอย่าง ที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ วิวัฒนาการของภาษาซี - ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทำางานบนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทำางาน บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ไม่ได ้และยังมีข ้อจำากัดในการใช ้ งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียน โดย Marth Richards) - ค .ศ . 1972 Dennis M. Ritchie แ ล ะ Ken Thompson ไ ด ้สร ้า งภา ษา C เพื่อ เพิ่มประ สิทธิภา พ ภาษา B ให ้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรกภาษา C ไม่เป็ นที่นิยมแก่นัก โปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก - แต่เดิมภาษา C ใช ้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภาย ใต ้ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็ นช่วงของการพัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ภ า ษ า C จึ ง มี บ ท บ า ท สำา คั ญ ใ น ก า ร นำา ม า ใ ช ้บ น เครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต ้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกำาหนดทิศทางการใช ้ภาษา C ให ้เป็ นไป แนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ได ้กำาหนดข ้อตกลงที่เรียกว่า 3J11 เพื่อสร ้าง ภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C - ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่งห ้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ไ ด ้พั ฒ น า ภ า ษ า C++ ขึ้น ร า ย ละเอียดและความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่สำาคัญ ๆ ได ้แก่ แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบ กำาหนดวัตถุเป้าหมายหรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซึ่งเป็ นแนวการเขียนโปรแกรมที่เหมาะกับ การพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ที่มีความสลับซับซ ้อนมาก มี ข ้อมูลที่ใช ้ในโปรแกรมจำานวนมาก จึงนิยมใช ้เทคนิคของการ เขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ ในปัจจุบันนี้ รูปแบบของการเขียนโปรแกรม ชนิดของข้อมูล ประกอบไปด ้วย 1. character(char) ใช ้ 1byte บน Dos มีค่า - 128 ถึง 127 นิยมใช ้ตัวอักษร 1 ตัวอักษร 2. integer (int) ใ ช ้ 2 byte มี ค่ า - 32768 ถึง 32767 และยังมี long ซึ่งคล ้าย intege
  • 2. r แต่เก็บด ้วย ช่วงตัวเลขที่ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ ถึง 4 byte 3. float ใช ้ 2 byte ใช ้เก็บตัวเลขทศนิยม และยัง มี double ซึ่งคล ้าย float แต่เก็บด ้วยช่วงตัวเลขที่ ยาวกว่าจึงกินเนื้อที่ถึง 4 byte 4. ในภาษา C จะไม่มีชนิดข ้อมูลเป็ น string แต่จะ ใช ้สายของอักษร หรือ Array ของ Char แทนความ จริงแล ้ว ชนิดของข ้อมูลยังสามารถจำาแนกไปได ้อีกมาก แต่ในที่นี้ขอแนะนำาเพียงเท่านี้ก่อน ก็เพียงพอ