SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
เป็นภาษาโปรแกรมสาหรับวัตถุประสงค์ทั่วไป เริ่ม
พัฒนาขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2512-2516 (ค.ศ. 1969-1973) โดยเดน
นิส ริตชี(Dennis Ritchie) ที่เอทีแอนด์ทีเบลล์แล็บส์ (AT&T
Bell Labs) ภาษาซีมีเครื่องมืออานวยความสะดวกสาหรับการ
เขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างและอนุญาตให้มีขอบข่ายตัว
แปร (scope) และการเรียกซ้า (recursion) ในขณะที่ระบบชนิด
ตัวแปรอพลวัตก็ช่วยป้องกันการดาเนินการที่ไม่ตั้งใจหลาย
อย่าง เหมือนกับภาษาโปรแกรมเชิงคาสั่งส่วนใหญ่ในแบบแผน
ของภาษาอัลกอล การออกแบบของภาษาซีมีคอนสตรักต์
(construct) ที่โยงกับชุดคาสั่งเครื่องทั่วไปได้อย่างพอเพียง จึงทา
ให้ยังมีการใช้ในโปรแกรมประยุกต์ซึ่งแต่ก่อนลงรหัสเป็น
ภาษาแอสเซมบลี คือซอฟต์แวร์ระบบอันโดดเด่นอย่าง
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ยูนิกซ์
ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
มากที่สุดตลอดกาล และตัวแปลโปรแกรมของภาษาซีมีให้ใช้
งานได้สาหรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
ต่าง ๆ เป็นส่วนมาก
ภาษาหลายภาษาในยุคหลังได้หยิบยืมภาษาซีไปใช้ทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างเช่น ภาษาดี ภาษา
โก ภาษารัสต์ ภาษาจาวา จาวาสคริปต์ภาษาลิมโบ ภาษาแอล
พีซี ภาษาซีชาร์ป ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี ภาษาเพิร์ล ภาษาพีเอช
พี ภาษาไพทอน ภาษาเวอริล็อก (ภาษาพรรณนา
ฮาร์ดแวร์) [3]
และซีเชลล์ของยูนิกซ์ ภาษาเหล่านี้ได้ดึงโครงสร้าง
การควบคุมและคุณลักษณะพื้นฐานอื่น ๆ มาจากภาษาซี ส่วน
ใหญ่มีวากยสัมพันธ์คล้ายคลึงกับภาษาซีเป็นอย่างมากโดยรวม
(ยกเว้นภาษาไพทอนที่ต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง) และตั้งใจที่จะ
ผสานนิพจน์และข้อความสั่งที่จาแนกได้ของวากยสัมพันธ์ของ
ภาษาซี ด้วยระบบชนิดตัวแปร ตัวแบบข้อมูล และอรรถศาสตร์
ที่อาจแตกต่างกันโดยมูลฐาน ภาษาซีพลัสพลัสและภาษาอ็อบ
เจกทีฟ-ซีเดิมเกิดขึ้นในฐานะตัวแปลโปรแกรมที่สร้างรหัส
ภาษาซี ปัจจุบันภาษาซีพลัสพลัสแทบจะเป็นเซตใหญ่ของ
ภาษาซี [9]
ในขณะที่ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีก็เป็นเซตใหญ่อัน
เคร่งครัดของภาษาซี
ก่อนที่จะมีมาตรฐานภาษาซีอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้และ
ผู้พัฒนาต่างก็เชื่อถือในข้อกาหนดอย่างไม่เป็นทางการใน
หนังสือที่เขียนโดยเดนนิส ริตชี และไบรอัน เคอร์นิกัน (Brian
Kernighan) ภาษาซีรุ่นนั้นจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาเคแอนด์
อาร์ซี (K&R C) ต่อมา พ.ศ. 2532 สถาบันมาตรฐานแห่งชาติ
ของสหรัฐอเมริกา (ANSI) ได้ตีพิมพ์มาตรฐานสาหรับภาษาซี
ขึ้นมา เรียกกันว่า ภาษาแอนซีซี (ANSI C) หรือ ภาษาซี
89 (C89) ในปีถัดมา องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ
มาตรฐาน (ISO) ได้อนุมัติให้ข้อกาหนดเดียวกันนี้เป็น
มาตรฐานสากล เรียกกันว่า ภาษาซี90 (C90) ในเวลาต่อมาอีก
องค์การฯ ก็ได้เผยแพร่ส่วนขยายมาตรฐานเพื่อรองรับสากลวิ
วัตน์ (internationalization) เมื่อ พ.ศ. 2538 และมาตรฐานที่
ตรวจชาระใหม่เมื่อ พ.ศ. 2542 เรียกกันว่า ภาษาซี99 (C99)
มาตรฐานรุ่นปัจจุบันก็ได้รับอนุมัติเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554
เรียกกันว่า ภาษาซี
ตัวอย่างการเขียนภาษาซี (C)

More Related Content

Similar to ภาษาซ๊ (C)

ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา Cnutty_npk
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18noo Carzy
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)nattawt
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา Cnattawt
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
ภาษาซี กฤต
ภาษาซี กฤตภาษาซี กฤต
ภาษาซี กฤตking thanapat
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 

Similar to ภาษาซ๊ (C) (20)

Microsoft word document
Microsoft word documentMicrosoft word document
Microsoft word document
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
พัชราภรณ์ แสงขาว เลขที่ 18
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ภาษาซี กฤต
ภาษาซี กฤตภาษาซี กฤต
ภาษาซี กฤต
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 

ภาษาซ๊ (C)

  • 1. เป็นภาษาโปรแกรมสาหรับวัตถุประสงค์ทั่วไป เริ่ม พัฒนาขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2512-2516 (ค.ศ. 1969-1973) โดยเดน นิส ริตชี(Dennis Ritchie) ที่เอทีแอนด์ทีเบลล์แล็บส์ (AT&T Bell Labs) ภาษาซีมีเครื่องมืออานวยความสะดวกสาหรับการ เขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างและอนุญาตให้มีขอบข่ายตัว แปร (scope) และการเรียกซ้า (recursion) ในขณะที่ระบบชนิด ตัวแปรอพลวัตก็ช่วยป้องกันการดาเนินการที่ไม่ตั้งใจหลาย อย่าง เหมือนกับภาษาโปรแกรมเชิงคาสั่งส่วนใหญ่ในแบบแผน ของภาษาอัลกอล การออกแบบของภาษาซีมีคอนสตรักต์ (construct) ที่โยงกับชุดคาสั่งเครื่องทั่วไปได้อย่างพอเพียง จึงทา ให้ยังมีการใช้ในโปรแกรมประยุกต์ซึ่งแต่ก่อนลงรหัสเป็น ภาษาแอสเซมบลี คือซอฟต์แวร์ระบบอันโดดเด่นอย่าง ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ยูนิกซ์ ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย มากที่สุดตลอดกาล และตัวแปลโปรแกรมของภาษาซีมีให้ใช้ งานได้สาหรับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ ต่าง ๆ เป็นส่วนมาก ภาษาหลายภาษาในยุคหลังได้หยิบยืมภาษาซีไปใช้ทั้ง ทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่างเช่น ภาษาดี ภาษา โก ภาษารัสต์ ภาษาจาวา จาวาสคริปต์ภาษาลิมโบ ภาษาแอล พีซี ภาษาซีชาร์ป ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี ภาษาเพิร์ล ภาษาพีเอช พี ภาษาไพทอน ภาษาเวอริล็อก (ภาษาพรรณนา ฮาร์ดแวร์) [3] และซีเชลล์ของยูนิกซ์ ภาษาเหล่านี้ได้ดึงโครงสร้าง การควบคุมและคุณลักษณะพื้นฐานอื่น ๆ มาจากภาษาซี ส่วน ใหญ่มีวากยสัมพันธ์คล้ายคลึงกับภาษาซีเป็นอย่างมากโดยรวม (ยกเว้นภาษาไพทอนที่ต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง) และตั้งใจที่จะ ผสานนิพจน์และข้อความสั่งที่จาแนกได้ของวากยสัมพันธ์ของ ภาษาซี ด้วยระบบชนิดตัวแปร ตัวแบบข้อมูล และอรรถศาสตร์ ที่อาจแตกต่างกันโดยมูลฐาน ภาษาซีพลัสพลัสและภาษาอ็อบ เจกทีฟ-ซีเดิมเกิดขึ้นในฐานะตัวแปลโปรแกรมที่สร้างรหัส ภาษาซี ปัจจุบันภาษาซีพลัสพลัสแทบจะเป็นเซตใหญ่ของ ภาษาซี [9] ในขณะที่ภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซีก็เป็นเซตใหญ่อัน เคร่งครัดของภาษาซี ก่อนที่จะมีมาตรฐานภาษาซีอย่างเป็นทางการ ผู้ใช้และ ผู้พัฒนาต่างก็เชื่อถือในข้อกาหนดอย่างไม่เป็นทางการใน หนังสือที่เขียนโดยเดนนิส ริตชี และไบรอัน เคอร์นิกัน (Brian Kernighan) ภาษาซีรุ่นนั้นจึงเรียกกันโดยทั่วไปว่า ภาษาเคแอนด์ อาร์ซี (K&R C) ต่อมา พ.ศ. 2532 สถาบันมาตรฐานแห่งชาติ ของสหรัฐอเมริกา (ANSI) ได้ตีพิมพ์มาตรฐานสาหรับภาษาซี ขึ้นมา เรียกกันว่า ภาษาแอนซีซี (ANSI C) หรือ ภาษาซี 89 (C89) ในปีถัดมา องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ มาตรฐาน (ISO) ได้อนุมัติให้ข้อกาหนดเดียวกันนี้เป็น มาตรฐานสากล เรียกกันว่า ภาษาซี90 (C90) ในเวลาต่อมาอีก องค์การฯ ก็ได้เผยแพร่ส่วนขยายมาตรฐานเพื่อรองรับสากลวิ วัตน์ (internationalization) เมื่อ พ.ศ. 2538 และมาตรฐานที่ ตรวจชาระใหม่เมื่อ พ.ศ. 2542 เรียกกันว่า ภาษาซี99 (C99) มาตรฐานรุ่นปัจจุบันก็ได้รับอนุมัติเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 เรียกกันว่า ภาษาซี ตัวอย่างการเขียนภาษาซี (C)