SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1 
เรื่อง โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น 
o ความเป็นมาของภาษาซี 
ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่่า ถูกพัฒนาโดย เดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แห่งห้องทดลอง เบลล์ (Bell Laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษาบีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาส่าหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็น ตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่่า 
ลักษณะเด่นของภาษา C 
1. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับ โปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ 
2. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า"โปรแกรมโครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่ เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ 
3. เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงให้รหัสออบเจ็กต์สั้นท่างานได้รวดเร็ว เหมาะกับ งานที่ต้องการความรวดเร็วเป็นส่าคัญ 
4. มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลีภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ ดีค้นหาที่ผิดหรือแก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ท่างานเหมือนภาษาระดับต่่า 
5. มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆได้เป็นอย่างดีการพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาส่าหรับการพัฒนา 
6. เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงานมีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32บิต เครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม 
7. เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนาจนท่าให้เป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษาและวิธีการ เขียนโปรแกรมตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้ 
รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 
ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี
2 
o ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี 
ขั้นตอนที่ 1 เขียนโปรแกรม (source code) ใช้ editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและท่าการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c เช่น work.c เป็นต้น editor คือ โปรแกรมที่ใช้ส่าหรับการเขียนโปรแกรม โดยตัวอย่างของ editor ที่นิยมน่ามาใช้ในการ เขียนโปรแกรมได้แก่ Notepad, Dev c/c++, Turbo C/ C++ 
ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (Compile) ใช้ค่าสั่ง compile เพื่อแปลโปรแกรมภาษา C ไปเป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง แฟ้มที่ได้จะมีนามสกุล *.obj ซึ่งในขั้นตอนนี้โปรแกรมต้นฉบับอาจเกิดความผิดพลาดทางไวยกรณ์ภาษา (syntax error) ขึ้นได้ จึงต้องย้อนกลับไปแก้ไขโปรแกรมต้นฉบับในข้อ 1. ให้ถูกต้องเสียก่อน 
ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link) เชื่อมโยงโปรแกรมภาษาเครื่องเข้ากับ library function ของภาษา C จะได้เป็น execute program โดยใช้ค่าสั่ง link แฟ้มที่ได้จะมีนามสกุล *.exe 
ขั้นตอนที่ 4 ประมวลผล (run) เมื่อน่า executable program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา ซึ่งจะใช้ค่าสั่ง run ในการแสดงผลข้อมูล 
o โครงสร้างของภาษา C 
ภาพแสดงโครงสร้างภาษาซี 
1 
2 
3 
4 
5
3 
1. เฮดเดอร์ไฟล์ (Header Files) เป็นส่วนที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับโปรแกรมใน ขณะที่ก่าลังท่าการคอมไพล์ โดยใช้ค่าสั่ง #include<ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> หรือ #include“ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” เฮดเดอร์ไฟล์นี้ จะมีส่วนขยายเป็น .h เสมอ และเฮดเดอร์ไฟล์เป็นส่วนที่จ่าเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 เฮดเดอร์ไฟล์ ก็คือ เฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ซึ่ง จะเป็นที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานที่จัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาท์พุต 
ตัวอย่าง #include<stdio.h> 
2. ส่วนตัวแปรแบบ Global (Global Variables) เป็นส่วนที่ใช้ประกาศตัวแปรหรือค่าต่างๆ ที่ให้ใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งในส่วนไม่จ่าเป็นต้องมีก็ได้ ฟังก์ชัน (Functions) เป็นส่วนที่เก็บค่าสั่งต่างๆ ไว้ ซึ่งในภาษา C จะบังคับ ให้มีฟังก์ชันอย่างน้อย 1 ฟังก์ชั่นนั่นคือ ฟังก์ชั่น Main() และในโปรแกรม 1 โปรแกรมสามารถมีฟังก์ชันได้มากกว่า 1 ฟังก์ชั่น 
int summation(float x, float y); (ประกาศ function summation) 
int x,y ; (กาหนดตัวแปร x, y เป็นจานวนเต็ม) 
3. ส่วนตัวแปรแบบ Local (Local Variables) เป็นส่วนที่ใช้ส่าหรับประกาศตัวแปรที่จะใช้ในเฉพาะฟังก์ชันของ ตนเอง ฟังก์ชั่นอื่นไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ได้ ซึ่งจะต้องท่าการประกาศตัวแปรก่อนการใช้งานเสมอ และจะต้องประกาศไว้ใน ส่วนนี้เท่านั้น 
4. ตัวแปรโปรแกรม (Statements) เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากส่วนตัวแปรภายใน ซึ่งประกอบไปด้วยค่าสั่งต่าง ๆ ของภาษา C และค่าสั่งต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาย ; เพื่อเป็นการบอกให้รู้ว่าจบค่าสั่งหนึ่ง ๆ แล้ว ส่วนใหญ่ ค่าสั่งต่าง ๆ ของภาษา C เขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก เนื่องจากภาษา C จะแยกความแตกต่างชองตัวพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่หรือ Case Sensitive นั่นเอง ยกตัวอย่างใช้ Test, test หรือจะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน นอกจากนี้ภาษา C ยังไม่สนใจกับการขึ้นบรรทัดใหม่ เพราะฉะนั้นผู้ใช้สามารถพิมพ์ค่าสั่งหลายค่าสั่งในบรรทัดเดียวกันได้ โดยไม่เครื่องหมาย ; เป็นตัวจบค่าสั่ง 
ส่วนฟังก์ชันหลัก (The Main Functions ) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี ซึ่งประกอบไปด้วยประโยคค่าสั่งต่างๆ ที่จะ ให้โปรแกรมท่างาน โดยน่าค่าสั่งต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน แต่ละประโยคจบด้วยเครื่องหมาย ; (เซมิ โคลอน) โดยโปรแกรมหลักนี้ จะเริ่มด้วย main() ตามด้วยเครื่องหมาย { และจบด้วย } 
main() 
{ 
…………………… 
}
4 
5. ค่าส่งกลับ (Return Value) เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่า ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าอะไรกลับไปให้กับฟังก์ชั่นที่เรียกฟังก์ชั่น ซึ่ง เรื่องนี้ผู้เขียนจะยกไปกล่าวในเรื่องฟังก์ชั่นอย่างละเอียดอีกทีหนึ่ง 
หมายเหตุ (Comment) เป็นส่วนที่ใช้ส่าหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการในโปรแกรม ส่วนนี้ใช้เขียนคอม เมนต์โปรแกรม เพื่ออธิบายการท่างานต่างๆ เพื่อท่าให้ผู้ที่ศึกษาโปรแกรมสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น เมื่อคอมไพล์โปรแกรมในส่วน นี้จะถูกข้ามไป คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบ คือ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */ 
ตัวอย่างเช่น 
Header Files 
ฟังก์ชันหลัก 
ตัวโปรแกรม 
ค่าส่งกลับ 
*** ตัวอย่างการวิเคราะห์โครงสร้างโปรแกรม ***

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (16)

Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
Plural of nouns
Plural of nounsPlural of nouns
Plural of nouns
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
content 3
content 3content 3
content 3
 
Expression Language 3.0
Expression Language 3.0Expression Language 3.0
Expression Language 3.0
 
Plural of nouns
Plural of nounsPlural of nouns
Plural of nouns
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 
content1
content1content1
content1
 
Web2 0
Web2 0Web2 0
Web2 0
 
Google Docs
Google DocsGoogle Docs
Google Docs
 
lesson 4
lesson 4lesson 4
lesson 4
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Multi touch table by vinay jain
Multi touch table by vinay jainMulti touch table by vinay jain
Multi touch table by vinay jain
 
Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2Slides plural of nouns 2
Slides plural of nouns 2
 

Similar to lesson 2

การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2 1118192239
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณNarongrit Hotrucha
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีrussana
 

Similar to lesson 2 (20)

Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 

lesson 2

  • 1. 1 เรื่อง โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น o ความเป็นมาของภาษาซี ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่่า ถูกพัฒนาโดย เดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แห่งห้องทดลอง เบลล์ (Bell Laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษาบีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาส่าหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็น ตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่่า ลักษณะเด่นของภาษา C 1. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับ โปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ 2. เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า"โปรแกรมโครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่ เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ 3. เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงให้รหัสออบเจ็กต์สั้นท่างานได้รวดเร็ว เหมาะกับ งานที่ต้องการความรวดเร็วเป็นส่าคัญ 4. มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลีภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ ดีค้นหาที่ผิดหรือแก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ท่างานเหมือนภาษาระดับต่่า 5. มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆได้เป็นอย่างดีการพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาส่าหรับการพัฒนา 6. เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงานมีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32บิต เครื่อง มินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม 7. เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนาจนท่าให้เป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษาและวิธีการ เขียนโปรแกรมตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้ รายวิชา ง 31101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้สอน นางสาวมณฑกานต์ ภักดีศรี
  • 2. 2 o ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาซี ขั้นตอนที่ 1 เขียนโปรแกรม (source code) ใช้ editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและท่าการบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c เช่น work.c เป็นต้น editor คือ โปรแกรมที่ใช้ส่าหรับการเขียนโปรแกรม โดยตัวอย่างของ editor ที่นิยมน่ามาใช้ในการ เขียนโปรแกรมได้แก่ Notepad, Dev c/c++, Turbo C/ C++ ขั้นตอนที่ 2 คอมไพล์โปรแกรม (Compile) ใช้ค่าสั่ง compile เพื่อแปลโปรแกรมภาษา C ไปเป็นโปรแกรมภาษาเครื่อง แฟ้มที่ได้จะมีนามสกุล *.obj ซึ่งในขั้นตอนนี้โปรแกรมต้นฉบับอาจเกิดความผิดพลาดทางไวยกรณ์ภาษา (syntax error) ขึ้นได้ จึงต้องย้อนกลับไปแก้ไขโปรแกรมต้นฉบับในข้อ 1. ให้ถูกต้องเสียก่อน ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงโปรแกรม (link) เชื่อมโยงโปรแกรมภาษาเครื่องเข้ากับ library function ของภาษา C จะได้เป็น execute program โดยใช้ค่าสั่ง link แฟ้มที่ได้จะมีนามสกุล *.exe ขั้นตอนที่ 4 ประมวลผล (run) เมื่อน่า executable program จากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลก็จะได้ผลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา ซึ่งจะใช้ค่าสั่ง run ในการแสดงผลข้อมูล o โครงสร้างของภาษา C ภาพแสดงโครงสร้างภาษาซี 1 2 3 4 5
  • 3. 3 1. เฮดเดอร์ไฟล์ (Header Files) เป็นส่วนที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานของภาษา C ซึ่งจะถูกดึงเข้ามารวมกับโปรแกรมใน ขณะที่ก่าลังท่าการคอมไพล์ โดยใช้ค่าสั่ง #include<ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> หรือ #include“ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” เฮดเดอร์ไฟล์นี้ จะมีส่วนขยายเป็น .h เสมอ และเฮดเดอร์ไฟล์เป็นส่วนที่จ่าเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 เฮดเดอร์ไฟล์ ก็คือ เฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h ซึ่ง จะเป็นที่เก็บไลบรารี่มาตรฐานที่จัดการเกี่ยวกับอินพุตและเอาท์พุต ตัวอย่าง #include<stdio.h> 2. ส่วนตัวแปรแบบ Global (Global Variables) เป็นส่วนที่ใช้ประกาศตัวแปรหรือค่าต่างๆ ที่ให้ใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งใช้ได้ทั้งโปรแกรม ซึ่งในส่วนไม่จ่าเป็นต้องมีก็ได้ ฟังก์ชัน (Functions) เป็นส่วนที่เก็บค่าสั่งต่างๆ ไว้ ซึ่งในภาษา C จะบังคับ ให้มีฟังก์ชันอย่างน้อย 1 ฟังก์ชั่นนั่นคือ ฟังก์ชั่น Main() และในโปรแกรม 1 โปรแกรมสามารถมีฟังก์ชันได้มากกว่า 1 ฟังก์ชั่น int summation(float x, float y); (ประกาศ function summation) int x,y ; (กาหนดตัวแปร x, y เป็นจานวนเต็ม) 3. ส่วนตัวแปรแบบ Local (Local Variables) เป็นส่วนที่ใช้ส่าหรับประกาศตัวแปรที่จะใช้ในเฉพาะฟังก์ชันของ ตนเอง ฟังก์ชั่นอื่นไม่สามารถเข้าถึงหรือใช้ได้ ซึ่งจะต้องท่าการประกาศตัวแปรก่อนการใช้งานเสมอ และจะต้องประกาศไว้ใน ส่วนนี้เท่านั้น 4. ตัวแปรโปรแกรม (Statements) เป็นส่วนที่อยู่ถัดลงมาจากส่วนตัวแปรภายใน ซึ่งประกอบไปด้วยค่าสั่งต่าง ๆ ของภาษา C และค่าสั่งต่าง ๆ จะใช้เครื่องหมาย ; เพื่อเป็นการบอกให้รู้ว่าจบค่าสั่งหนึ่ง ๆ แล้ว ส่วนใหญ่ ค่าสั่งต่าง ๆ ของภาษา C เขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก เนื่องจากภาษา C จะแยกความแตกต่างชองตัวพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่หรือ Case Sensitive นั่นเอง ยกตัวอย่างใช้ Test, test หรือจะถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน นอกจากนี้ภาษา C ยังไม่สนใจกับการขึ้นบรรทัดใหม่ เพราะฉะนั้นผู้ใช้สามารถพิมพ์ค่าสั่งหลายค่าสั่งในบรรทัดเดียวกันได้ โดยไม่เครื่องหมาย ; เป็นตัวจบค่าสั่ง ส่วนฟังก์ชันหลัก (The Main Functions ) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี ซึ่งประกอบไปด้วยประโยคค่าสั่งต่างๆ ที่จะ ให้โปรแกรมท่างาน โดยน่าค่าสั่งต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน แต่ละประโยคจบด้วยเครื่องหมาย ; (เซมิ โคลอน) โดยโปรแกรมหลักนี้ จะเริ่มด้วย main() ตามด้วยเครื่องหมาย { และจบด้วย } main() { …………………… }
  • 4. 4 5. ค่าส่งกลับ (Return Value) เป็นส่วนที่บอกให้รู้ว่า ฟังก์ชันนี้จะส่งค่าอะไรกลับไปให้กับฟังก์ชั่นที่เรียกฟังก์ชั่น ซึ่ง เรื่องนี้ผู้เขียนจะยกไปกล่าวในเรื่องฟังก์ชั่นอย่างละเอียดอีกทีหนึ่ง หมายเหตุ (Comment) เป็นส่วนที่ใช้ส่าหรับแสดงข้อความเพื่ออธิบายสิ่งที่ต้องการในโปรแกรม ส่วนนี้ใช้เขียนคอม เมนต์โปรแกรม เพื่ออธิบายการท่างานต่างๆ เพื่อท่าให้ผู้ที่ศึกษาโปรแกรมสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น เมื่อคอมไพล์โปรแกรมในส่วน นี้จะถูกข้ามไป คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบ คือ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ */ ตัวอย่างเช่น Header Files ฟังก์ชันหลัก ตัวโปรแกรม ค่าส่งกลับ *** ตัวอย่างการวิเคราะห์โครงสร้างโปรแกรม ***