SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ภาษา C

                 จัดทาโดย
         น.ส. นันทวัน สิงหาคุณ
    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 16

                 เสนอ
         คุณครู สมร ตาระมันธ์
ประวัติ

                       ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1972 โดย Dennis Ritchie
                 แห่ง Bell Labs โดยภาษาซีนั้นพัฒนามาจาก ภาษา B และ
                 จากภาษา BCPL
                        ซึ่งในช่วงแรกนั้นภาษาซีถูกออกแบบให้ใช้เป็นภาษาการ
                 เขียนโปรแกรมในระบบ UNIX และเริ่มมีคนสนใจมากขึ้นในปี
Dennis Ritchie   ค.ศ.1978 เมื่อ Brain Kernighan ร่วมกับ Dennis
                 Ritchie พัฒนามาตรฐานของภาษาซีขึ้นมา คือ K&R
                 (Kernighan & Ritchie) โดยภาษาซีนั้นสามารถจะปรับ
                 ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบต่างๆได้
ตัวดาเนินการความสัมพันธ์หรือการ
             เปรียบเทียบ (relational operators)
สัญลักษณ์               การดาเนินการ                   ตัวอย่าง

   <                       น้อยกว่า               2<3 ผลลัพธ์ จริง(1)

   >                       มากกว่า             2>3 ผลลัพธ์ เท็จ
                                                 (false)(0)
  <=                  น้อยกว่าหรือเท่ากับ   2<= 3 ผลลัพธ์ จริง(true)

  >=                  มากกว่าหรือเท่ากับ    2>= 3 ผลลัพธ์ เท็จ(false)

  ==                        เท่ากับ         4==4 ผลลัพธ์ จริง(true)

   !=                     ไม่เท่ากับ        2!= 2 ผลลัพธ์ เท็จ(false)
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี

       โปรแกรมในภาษาซีทุกโปรแกรมจะประกอบด้วยฟังก์ชันอย่างน้อย หนึ่งฟังก์ชัน
คือ ฟังก์ชัน main โดยโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มทางานที่ฟังก์ชัน main ก่อน ในแต่ละ
ฟังก์ชันจะประกอบด้วย
        1. Function Heading
ประกอบด้วยชื่อฟังก์ชัน และอาจมีรายการของ argument (บางคนเรียก
parameter) อยู่ในวงเล็บ
2. Variable Declaration
ส่วนประกาศตัวแปร สาหรับภาษาซี ตัวแปรหรือค่าคงที่ทุกตัว ที่ใช้ในโปรแกรมจะต้องมีการ
ประกาศก่อนว่าจะใช้งานอย่างไร จะเก็บค่าในรูปแบบใดเช่น interger หรือ real
number
   3. Compound Statements
ส่วนของประโยคคาสั่งต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นประโยคเชิงซ้อน (compound statement)
กับ ประโยคนิพจน์ (expression statment) โดยประโยคเชิงซ้อนจะอยู่ภายใน
วงเล็บปีกกาคู่หนึ่ง { และ } โดยในหนึ่งประโยคเชิงซ้อน จะมีประโยคนิพจน์ที่แยกจากกัน
ด้วยเครื่องหมาย semicolon (;) หลายๆ ประโยครวมกัน และ อาจมีวงเล็บปีกกาใส่
ประโยคเชิงซ้อนย่อยเข้าไปอีกได้
โปรแกรมที่ 1: Hello
#include <stdio.h>
main()
{
printf(" Hello. This is my first program.
n") ; /* This is a comment */ return 0 ;
}

More Related Content

What's hot

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมKashima Seto
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีChatman's Silver Rose
 
แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม
แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรมแนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม
แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรมฉลาม แดนนาวิน
 

What's hot (8)

การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
content 3
content 3content 3
content 3
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม
แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรมแนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม
แนวคิดและหลักการเขียนโปรแกรม
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 

Viewers also liked

Elevating agile
Elevating agileElevating agile
Elevating agilependoio
 
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์งานคอม Pwp ณัฐพงษ์
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์Ben Benben
 
Mrs. Harrah's classroom in 25 years
Mrs. Harrah's classroom in 25 yearsMrs. Harrah's classroom in 25 years
Mrs. Harrah's classroom in 25 yearsJennifer Harrah
 
Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...
Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...
Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...MarK_MEro
 
eforea_SpaBusiness_Fall2011
eforea_SpaBusiness_Fall2011eforea_SpaBusiness_Fall2011
eforea_SpaBusiness_Fall2011Tyra Lowman
 
Lodha Big Bang Thane
Lodha Big Bang ThaneLodha Big Bang Thane
Lodha Big Bang ThaneWallsnroof1
 
Enseñanza y aprendizaje de la historia 2
Enseñanza y aprendizaje  de la historia 2Enseñanza y aprendizaje  de la historia 2
Enseñanza y aprendizaje de la historia 2AMIGA27
 
Epic research malaysia daily klse report for 12th august 2015
Epic research malaysia   daily klse report for 12th august 2015Epic research malaysia   daily klse report for 12th august 2015
Epic research malaysia daily klse report for 12th august 2015Epic Research Pte. Ltd.
 

Viewers also liked (18)

Elevating agile
Elevating agileElevating agile
Elevating agile
 
Yuly perdomo
Yuly perdomoYuly perdomo
Yuly perdomo
 
PEI
PEIPEI
PEI
 
Performance task 3.2
Performance task 3.2Performance task 3.2
Performance task 3.2
 
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์งานคอม Pwp ณัฐพงษ์
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์
 
A026 números enteros
A026   números enterosA026   números enteros
A026 números enteros
 
Mrs. Harrah's classroom in 25 years
Mrs. Harrah's classroom in 25 yearsMrs. Harrah's classroom in 25 years
Mrs. Harrah's classroom in 25 years
 
Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...
Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...
Ute coordinacion bahia_marco_mero_viisemestre_proceso de construcción del pla...
 
Instituto
InstitutoInstituto
Instituto
 
eforea_SpaBusiness_Fall2011
eforea_SpaBusiness_Fall2011eforea_SpaBusiness_Fall2011
eforea_SpaBusiness_Fall2011
 
Miniquest
MiniquestMiniquest
Miniquest
 
Lodha Big Bang Thane
Lodha Big Bang ThaneLodha Big Bang Thane
Lodha Big Bang Thane
 
Cat and mouse.ppts
Cat and mouse.pptsCat and mouse.ppts
Cat and mouse.ppts
 
CINE
CINECINE
CINE
 
Poisoning with Sugar
Poisoning with SugarPoisoning with Sugar
Poisoning with Sugar
 
PUNK ROCK
PUNK ROCKPUNK ROCK
PUNK ROCK
 
Enseñanza y aprendizaje de la historia 2
Enseñanza y aprendizaje  de la historia 2Enseñanza y aprendizaje  de la historia 2
Enseñanza y aprendizaje de la historia 2
 
Epic research malaysia daily klse report for 12th august 2015
Epic research malaysia   daily klse report for 12th august 2015Epic research malaysia   daily klse report for 12th august 2015
Epic research malaysia daily klse report for 12th august 2015
 

Similar to นันทวัน สิงหาคุณ

น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซีnative
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีnsumato
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2 1118192239
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานKEk YourJust'one
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
จุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซีจุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซีN'Nattaphong Hnoonet
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมBaramee Chomphoo
 

Similar to นันทวัน สิงหาคุณ (20)

content 2
content 2content 2
content 2
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss58210401120 งาน 1 ss
58210401120 งาน 1 ss
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
บทที่ 2
บทที่  2  บทที่  2
บทที่ 2
 
lesson 2
lesson 2lesson 2
lesson 2
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
Basic
BasicBasic
Basic
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
 
Plan3
Plan3Plan3
Plan3
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 
จุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซีจุดเริ่มต้นของภาษาซี
จุดเริ่มต้นของภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุมการเขียนคำสั่งควบคุม
การเขียนคำสั่งควบคุม
 

More from Narongrit Hotrucha

ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชาณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชาNarongrit Hotrucha
 
ณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชาณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชาNarongrit Hotrucha
 
นายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชานายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชาNarongrit Hotrucha
 
นาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชานาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชาNarongrit Hotrucha
 

More from Narongrit Hotrucha (8)

ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชาณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
 
ณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชาณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชา
ณรงคฤทธิ์ ฮดฤาชา
 
นายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชานายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นายณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
 
นาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชานาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
นาย ณรงค์ฤทธิ์ ฮดฤาชา
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 
งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11งานคอม 18.11.11
งานคอม 18.11.11
 

นันทวัน สิงหาคุณ

  • 1. ภาษา C จัดทาโดย น.ส. นันทวัน สิงหาคุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 16 เสนอ คุณครู สมร ตาระมันธ์
  • 2. ประวัติ ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1972 โดย Dennis Ritchie แห่ง Bell Labs โดยภาษาซีนั้นพัฒนามาจาก ภาษา B และ จากภาษา BCPL ซึ่งในช่วงแรกนั้นภาษาซีถูกออกแบบให้ใช้เป็นภาษาการ เขียนโปรแกรมในระบบ UNIX และเริ่มมีคนสนใจมากขึ้นในปี Dennis Ritchie ค.ศ.1978 เมื่อ Brain Kernighan ร่วมกับ Dennis Ritchie พัฒนามาตรฐานของภาษาซีขึ้นมา คือ K&R (Kernighan & Ritchie) โดยภาษาซีนั้นสามารถจะปรับ ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบต่างๆได้
  • 3. ตัวดาเนินการความสัมพันธ์หรือการ เปรียบเทียบ (relational operators) สัญลักษณ์ การดาเนินการ ตัวอย่าง < น้อยกว่า 2<3 ผลลัพธ์ จริง(1) > มากกว่า 2>3 ผลลัพธ์ เท็จ (false)(0) <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2<= 3 ผลลัพธ์ จริง(true) >= มากกว่าหรือเท่ากับ 2>= 3 ผลลัพธ์ เท็จ(false) == เท่ากับ 4==4 ผลลัพธ์ จริง(true) != ไม่เท่ากับ 2!= 2 ผลลัพธ์ เท็จ(false)
  • 4. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี โปรแกรมในภาษาซีทุกโปรแกรมจะประกอบด้วยฟังก์ชันอย่างน้อย หนึ่งฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชัน main โดยโปรแกรมภาษาซีจะเริ่มทางานที่ฟังก์ชัน main ก่อน ในแต่ละ ฟังก์ชันจะประกอบด้วย 1. Function Heading ประกอบด้วยชื่อฟังก์ชัน และอาจมีรายการของ argument (บางคนเรียก parameter) อยู่ในวงเล็บ
  • 5. 2. Variable Declaration ส่วนประกาศตัวแปร สาหรับภาษาซี ตัวแปรหรือค่าคงที่ทุกตัว ที่ใช้ในโปรแกรมจะต้องมีการ ประกาศก่อนว่าจะใช้งานอย่างไร จะเก็บค่าในรูปแบบใดเช่น interger หรือ real number 3. Compound Statements ส่วนของประโยคคาสั่งต่างๆ ซึ่งแบ่งเป็นประโยคเชิงซ้อน (compound statement) กับ ประโยคนิพจน์ (expression statment) โดยประโยคเชิงซ้อนจะอยู่ภายใน วงเล็บปีกกาคู่หนึ่ง { และ } โดยในหนึ่งประโยคเชิงซ้อน จะมีประโยคนิพจน์ที่แยกจากกัน ด้วยเครื่องหมาย semicolon (;) หลายๆ ประโยครวมกัน และ อาจมีวงเล็บปีกกาใส่ ประโยคเชิงซ้อนย่อยเข้าไปอีกได้
  • 6. โปรแกรมที่ 1: Hello #include <stdio.h> main() { printf(" Hello. This is my first program. n") ; /* This is a comment */ return 0 ; }