SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
บทที่ 10
การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าและบริการโลจิสติกส์
การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าและบริการโลจิสติกส์ นับว่ามีความสาคัญต่อ
ผู้ประกอบการผลิตสินค้าเพื่อจาหน่ายภายในประเทศ และผู้ประกอบการธุรกิจขนส่งสินค้า
ภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าร่วมประชาคมเขตเศรษฐกิจการค้าเสรีอาเซียน (AEC) ทาให้
ธุรกิจขนส่งสินค้าทั้งภายในและระหว่างประเทศมีความสาคัญเพิ่มมากขึ้น จึงเป็นที่น่าจับตามองว่าธุรกิจ
การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าและบริการโลจิสติกส์จะมีผลการดาเนินงานอย่างไร เนื่องจาก
การประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่งสินค้าภายในประเทศ จัดอยู่ในจาพวกของการประกันภัยความรับผิด
(Liability Insurance) โดยมีความรับผิดของผู้ขนส่ง เป็นวัตถุแห่งการประกันภัย แต่ไม่ได้คุ้มครองความ
รับผิดตามกฎหมายของผู้ขนส่งในทุกกรณี ทั้งนี้เพราะความรับผิดที่จะได้รับความคุ้มครองตามกรมธรรม์
ประกันภัยจากัดอยู่เฉพาะความรับผิดของผู้ขนส่งในความเสียหาย สูญหาย หรือส่งมอบล่าช้าที่เกิดขึ้นกับ
ตัวสินค้าเท่านั้น ดังนั้น ความรับผิดส่วนใหญ่จึงตกอยู่ที่ผู้รับประกันภัย
ความหมายของการขนส่ง
การขนส่ง (Transportation) หมายถึง การลาเลียงหรือการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือสิ่งของจาก
สถานที่ แห่งหนึ่งไปยังสถานที่อีกแห่งหนึ่งซึ่งกระทาโดยผู้ขนส่ง และวัตถุหรือสิ่งที่ถูกเคลื่อนย้ายหรือ
ลาเลียงนั้นอาจเป็นได้ทั้งส่งของ สินค้า หรือบุคคลที่เรียกว่าผู้โดยสารก็ได้ นอกจากนี้คาว่าขนส่ง อาจมี
ความหมายถึงธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง ซึ่งอาจมีลักษณะทั้งการขนและการส่ง ดังนั้น การขนส่ง
สินค้าจึงเป็นส่วนหนึ่งของการขนส่งในภาพรวม
คานาย อภิปรัชญาสกุล (2548 : 2) ให้ความหมายของการขนส่ง ไว้ว่า หมายถึง การ
เคลื่อนย้ายสินค้าจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่ง ซึ่งการขนส่งจะทาให้เกิดการสร้างเส้นทางจาก
จุดเริ่มต้นของโซ่อุปทานไปสู่มือลูกค้า
เนื่องจากการขนส่งเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการลาเลียงหรือเคลื่อนย้าย ดังนั้นกิจกรรมการ
ขนส่งในบางกรณี โดยเฉพาะการขนส่งภายในท้องถิ่น (Domestic Transport) จึงอาจมิได้กระทา
โดยผู้ประกอบการธุรกิจการขนส่งเท่านั้น ตัวอย่างเช่น เจ้าของฟาร์มกุ้งนารถบรรทุกของตนขนกุ้งจาก
ฟาร์มไปส่งให้แก่พ่อค้าแม่ค้าในตลาด เป็นต้น การขนส่งลักษณะนี้เจ้าของสินค้าและผู้ทาการขนส่งเป็น
บุคคลเดียวกัน ทาให้การเสี่ยงภัยในความเสียหายของสิ่งของที่ถูกขนส่งและความรับผิดชอบต่อสิ่งของนั้น
302
ในระหว่างการขนส่งตกอยู่กับบุคคลเดียวกันโดยไม่ต้องมีการทาประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง
แต่ในทางการค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าที่มีการซื้อขายกันจะใช้
บริการของผู้ประกอบการขนส่งที่ดาเนินกิจการในลักษณะเป็นธุรกิจมีการคิดค่าบาเหน็จตอบแทนการ
ให้บริการขนส่งที่เรียกว่า ค่าระวาง (Freight) จากผู้ว่าจ้าง โดยผู้ที่รับจ้างขนส่งที่เข้าทาสัญญาขนส่งกับ
ผู้ว่าจ้าง จะเรียกว่า ผู้ขนส่ง (Carrier) ส่วนผู้ที่เป็นคนว่าจ้างผู้ขนส่งให้ทาการขนส่ง เรียกว่า ผู้ส่งของ
(Shipper) หรือ ผู้ตราส่ง (Consignor) ในลักษณะที่ทั้งสองฝ่ายเป็นคู่สัญญาซึ่งกันและกัน
ภาพที่ 10.1 แสดงขั้นตอนการทาสัญญาและการตกลงว่าจ้างขนส่ง
การขนส่งสินค้าที่กระทาโดย ผู้ขนส่ง มักนิยมทาประกันภัย โดยในส่วนของการประกันภัย
ทรัพย์สินเพื่อความสูญเสียและความเสียหายของสินค้า ฝ่ายเจ้าของสินค้าจะเป็นผู้ทาประกันภัย ผู้ขนส่ง
ซึ่งมีความเสี่ยงภัยต่อการที่จะต้องรับผิดชอบในความเสียหายและสูญหายของสินค้าหรือการส่งมอบล่าช้า
ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างที่สินค้านั้นอยู่ในความรับผิดชอบของตนก็จะทาประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่งเอาไว้
อันเป็นการทาประกันภัยแยกกันตามลักษณะของส่วนได้เสียของแต่ละฝ่าย
รูปแบบการขนส่ง (Mode of Transport) มีหลายวิธีและอาจกระทาโดยการใช้ยานพาหนะ
(Vehicle) ที่แตกต่างกันตามลักษณะการขนส่ง ได้แก่
การขนส่งทางบก (Land Transport) อาจเป็นการขนส่งบนท้องถนน (Road Transport)
โดยรถยนต์กระบะ และรถบรรทุกที่ใช้อาจมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของการขนส่ง เช่น รถยนต์
กระบะ 4 ล้อ รถบรรทุกสิบล้อและรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ เป็นต้น หรือในถิ่นทุรกันดารที่รถยนต์
ไม่สามารถเข้าถึง อาจใช้สัตว์เป็นพาหนะในการขนส่ง เช่น ช้าง ม้า และล่อ เพื่อการขนส่ง
ผู้ขนส่ง
ทาสัญญาขนส่ง
ผู้ส่งของ
ตกลงว่าจ้าง
303
การขนส่งทางราง (Rail Transport) โดยการใช้รถไฟหรือรถรางเป็นยานพาหนะขนส่ง ลักษณะ
ของการขนส่งสินค้าอาจเป็นเพียงการใช้ตู้สินค้าพ่วงไปกับขบวนรถผู้โดยสารหรือทาการขนส่งโดยรถ
สินค้าแยกขนส่งเป็นขบวนรถตู้สินค้าโดยเฉพาะ
การขนส่งทางอากาศ (Air Transport) โดยทั่วไปมักจะใช้เครื่องบินขนส่งสินค้าเป็นยานพาหนะ
สาหรับการขนส่ง การขนส่งโดยใช้บอลลูน (Balloon) จัดอยู่ในประเภทของการขนส่งทางอากาศได้
เช่นกัน
การขนส่งทางน้า (Water Transport) อาจแบ่งออกเป็นสองส่วนตามลักษณะทางภูมิศาสตร์
คือ การขนส่งทางน้าในแผ่นดิน (Inland Waterways) เช่น การขนส่งโดยใช้แม่น้า ลาคลอง เป็นเส้นทาง
การขนส่งและอีประเภทหนึ่งคือการขนส่งทางทะเล (Sea Transport) ซึ่งเรือที่ใช้เป็นยานพาหนะในการ
ขนส่งจะมีความแตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะเรือสาหรับขนส่งทางทะเลจะมีความหลากหลายในด้านของ
ขนาดที่แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์การใช้งานและตามลักษณะของสินค้าที่บรรทุก
ประวัติการประกันภัยสินค้า
1. ประวัติการประกันภัยสินค้าโลก
ในสมัยโบราณเส้นทางการขนส่งสินค้าที่สาคัญของมนุษย์ก็คือ การขนส่งสินค้าทางน้า
การเดินทางสัญจรไปมาระหว่างเมือง เพื่อนาสินค้าไปจาหน่ายต้องอาศัยการลาเลียงสินค้าผ่านทางน้า
ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นแม่น้า หรือทะเล เป็นที่ทราบกันดีว่าการเดินทางย่อมมีอุปสรรคนานัปการ เช่น
การเกิดภัยพิบัติจากธรรมชาติ อันได้แก่ คลื่นลม มรสุม หรือแม้แต่น้ามือของมนุษย์ด้วยกันเอง เช่น
โจรสลัด ซึ่งสร้างปัญหาให้กับเจ้าของเรือ และเจ้าของสินค้า ดังนั้นจึงได้เกิดการประกันภัยทางทะเลขึ้น
เพื่อช่วยกระจายความเสี่ยงภัยของเจ้าของเรือ และเจ้าของสินค้า ต่อมาได้ขยายความคุ้มครองไปถึงทาง
บกและความสูญเสียในขณะขนส่ง ทางน้าภายในประเทศอีกด้วย เมื่อโลกมีการพัฒนามากขึ้นการขนส่ง
มิได้จากัดอยู่เฉพาะทางน้าและทางบกเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการขนส่งทางอากาศด้วย
ปัจจุบันภัยที่เกิดขึ้นทั้งจากภัย อันตรายและความเสียหายต่อสินค้าที่ทาการขนส่งสามารถ
เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา จากสาเหตุดังกล่าวบางครั้งเราอาจไม่ทราบถึงภัยที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้ เช่น
ภัยธรรมชาติ ภัยจากเครื่องบินตก ภัยจากการเดินเรือ ภัยจากการขนถ่ายสินค้า ภัยจากเพลิงไหม้
ภัยจากการปนเปื้อนรั่วไหลของบรรจุภัณฑ์ ฯลฯ ดังนั้น การทาประกันภัยการขนส่ง จึงเป็นการสร้าง
ความมั่นใจให้แก่เจ้าของสินค้าว่าหากทรัพย์สิน หรือสินค้าที่นามาทาประกันภัยไว้ได้รับความเสียหายก็จะ
ได้รับการชดใช้ ผู้เอาประกันภัยก็สามารถนาเงินที่ได้จากบริษัทประกันภัยไปสร้าง ซื้อ หรือจัดหา
ทรัพย์สินใหม่ ทาให้สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้
304
2. ประวัติการประกันภัยสินค้าในประเทศไทย
สมัยกรุงศรีอยุธยา ประเทศไทยได้มีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ ในช่วงระยะเวลานั้น
อาจมีการประกันภัยบ้างแล้ว โดยเฉพาะการประกันภัยทางทะเลและขนส่ง แต่เป็นการที่ชาวต่างชาติ
ทาประกันภัยกันเอง การประกันภัยนั้นเริ่มขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ ประมาณปี
พ.ศ.2368 สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 และในขณะนั้นพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงผนวชอยู่ ได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดจากประเทศอังกฤษ และทรงเกรงว่า
จะเกิดความเสียหายระหว่างการขนส่ง จึงได้รับสั่งให้เอาประกันภัยเครื่องพิมพ์ดังกล่าวระหว่างการขนส่ง
ในนามของพระองค์เอง แสดงว่าการประกันภัยนั้นได้เริ่มแผ่เข้ามาถึงประเทศไทยแล้ว และอาจกล่าวได้
ว่าประเทศไทยได้รู้จักวิธีการประกันภัย หรือการประกันภัยการขนส่งสินค้าในสมัยรัชกาลที่ 3
ความหมายของการประกันภัยสินค้า
การประกันภัยสินค้า หมายถึง การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองความเสียหายอันเกิดขึ้นต่อ
สินค้าระหว่างการขนส่งจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง เนื่องจากภัย อันตราย และความเสียหาย
ต่อสินค้าที่ทาการขนส่ง ไม่ว่าโดยทางเรือ ทางอากาศ ทางบก หรือทางพัสดุ ไปรษณีย์ การประกันภัย
สินค้าระหว่างการขนส่งนั้น ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งโดยวิธีใดก็มักจะเรียกรวมกันไปว่าการประกันภัยขนส่ง
สินค้าทางทะเล ซึ่งในการทาประกันภัยขนส่งสินค้านี้จะใช้กรมธรรม์ประกันภัยขนส่งทางทะเลในการรับ
ประกันภัยทั้งสิ้น แม้ว่าสินค้านั้นจะบรรทุกโดยทางรถยนต์ หรือทางอากาศก็ตาม ส่วนคานาย
อภิปรัชญาสกุล (2548 : 140) ได้ให้ความหมายของการประกันภัยขนส่งสินค้า ไว้ว่า หมายถึง การ
ประกันที่ให้ความคุ้มครองแก่สินค้าที่ขนส่งจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งหรือจากประเทศหนึ่งไป
ยังอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งในการขนส่งนี้อาจเกิดความเสียหายหรือสูญเสียต่อสินค้าขึ้นได้
การทาประกันภัยสินค้าระหว่างการขนส่งนั้น จะแยกลักษณะของการทาประกันภัยออกเป็น
2 ประเภท ได้แก่ (คานาย อภิปรัชญาสกุล, 2548 : 33)
1. การประกันภัยขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Marine Cargo Insurance) เป็นการ
ประกันภัยสาหรับการนาเข้าหรือส่งออกสินค้า โดยมีความคุ้มครองหลากหลายให้เลือก
1.1 กรมธรรม์สาหรับสินค้าส่งออกในราคา C.I.F. และกรมธรรม์สาหรับสินค้านาเข้าใน
ราคา F.O.B. หรือ C.F.R. , C&F ให้ความคุ้มครองตลอดเส้นทางตั้งแต่โรงงานของผู้ขายจนถึงโรงงานของ
ผู้ซื้อ
1.2 กรมธรรม์สาหรับสินค้าส่งออกในราคา F.O.B. หรือ C.F.R. , C&F ให้ความคุ้มครอง
305
ตั้งแต่เริ่มเดินทางออกจากโรงงานไปจนถึงส่งมอบให้กับผู้ขนส่งสินค้าที่ท่าเรือต้นทาง
2. การประกันภัยขนส่งสินค้าภายในประเทศ (Inland Transit) ให้ความคุ้มครองการสูญเสีย
หรือเสียหายของสินค้าที่ทาประกันระหว่างการขนส่งภายในประเทศ กรณีสินค้าได้รับความเสียหายหรือ
สูญหาย เช่น รถคว่า รถชนกัน ไฟไหม้ ระเบิด สินค้าถูกลักขโมย รวมถึงความเสียหรือหรือการสูญ
หายจากภัยธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น การทาประกันภัยคุ้มครองความเสียหายของสินค้าที่เกิดขึ้นระหว่าง
การขนส่งที่อยู่ภายในประเทศ เช่น การขนส่งสินค้าจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น
การขนส่งภายในประเทศนี้จะต้องเป็นการขนส่งที่ไม่ใช่การขนส่งต่อเนื่องไปยังต่างประเทศ
ถ้าเป็นการขนส่งต่อเนื่องถือว่าเป็นการประกันภัยขนส่งสินค้าทางทะเล เช่น การขนส่งสินค้าตู้เย็นจาก
โรงงานจังหวัดระยอง ไปยังประเทศญี่ปุ่น ในการขนส่งจะต้องขนของจากโรงงานที่อยู่จังหวัดระยองไป
ยังท่าเรือแหลมฉบัง โดยใส่ในตู้คอนเทนเนอร์บรรทุกไปกับรถยนต์ และจากท่าเรือแหลมฉบังขนคอนเทน
เนอร์ลงเรือเดินทะเลเพื่อแล่นออกไปยังท่าเรือปลายทางที่ประเทศญี่ปุ่น ดังนี้แม้ว่าการขนส่งจากจังหวัด
ระยอง เป็นการขนส่งโดยทางรถยนต์ก็ตามในการทาประกันภัยจะทาประกันภัยสินค้านี้ควบไปกับการ
ขนส่งทางทะเลหรือการขนส่งระหว่างประเทศ ดังนั้นการทาประกันภัยขนส่งสินค้าจากโรงงานที่จังหวัด
ระยองจึงเป็นการประกันภัยทางทะเลด้วย
อุตสาหกรรมขนส่งกับการประกันภัย
ขอบเขตและลักษณะของอุตสาหกรรมการขนส่งมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับกิจกรรมที่
หลากหลาย ผู้ประกอบการธุรกิจหลายรูปแบบและผู้ประกอบอาชีพที่มีความแตกต่างกัน ทาให้เกิดธุรกิจ
และอาชีพที่เกี่ยวเนื่องตามมามีการลงทุนและจ้างงานเพื่อการผลิตและให้บริการอย่างกว้างขวาง ส่งผลให้
การประกันภัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมขนส่งมีความหลากหลายตามไปด้วย (คณะกรรมการประกันภัย
ทางทะเลและโลจิสติกส์, 2554)
การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งอาจเกิดจากการสมัครใจทาประกันภัย โดยที่ไม่มีกฎหมาย
บังคับให้ต้องทาอันเป็นการทาประกันภัยแบบสมัครใจ (Voluntary Insurance) หรืออาจเป็นการ
ประกันภัยภาคบังคับ (Compulsory Insurance) เพราะเหตุที่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีการทาประกันภัย
การประกันภัยแบบสมัครใจ (Voluntary Insurance) อาจเกิดจากเหตุดังต่อไปนี้
1. เป็นความสมัครใจทาประกันภัยเองโดยที่ไม่มีข้อสัญญาหรือข้อตกลงกับบุคคลอื่น เช่น
ผู้ประกอบธุรกิจตัวแทนเรือ (Ship’s Agent) ในประเทศไทยที่รับทาหน้าที่พิธีการต่าง ๆ แทนเรือ
ตามเมืองท่าต่าง ๆ ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องทาประกันภัยและในทางธุรกิจ เจ้าของเรือที่แต่งตั้งและ
ว่าจ้างตัวแทนเรือจะไม่บังคับให้ตัวแทนเรือทาประกันภัย แต่ผู้ประกอบการบางรายได้ทาประกันภัย
306
ความรับผิด (Liability Insurance) เพื่อคุ้มครองความรับผิดจากค่าปรับและค่าเสียหายของบุคคลภายนอก
อันอาจเกิดจากการทาหน้าที่ตัวแทนเรือ หรืออีกตัวอย่างหนึ่ง เช่น การประกันอัคคีภัยสาหรับอาคาร
สานักงานของบริษัทเจ้าของเรือก็ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องทาประกันภัย แต่ผู้ประกอบการที่รอบคอบ
มักนิยมทาประกันภัยทรัพย์สินของตนไว้ การทาประกันภัยในลักษณะเช่นนี้เป็นการประกันภัยแบบ
สมัครใจโดยแท้
2. การประกันภัยแบบสมัครใจ อาจเกิดจากสัญญาที่ผูกพันระหว่างคู่สัญญาโดยสัญญาระบุให้
มีการทาประกันภัย ตัวอย่างเช่น การซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศที่คู่สัญญาตกลงซื้อขายกันตามเงื่อนไข
CIF (Cost, Insurance and Freight) ซึ่งตามพันธกรณีของฝ่ายผู้ขายตาม INCOTERMS ผู้ขายจะต้องทา
สัญญาประกันภัยสินค้าตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ขายเองแล้วดาเนินการจัดส่ง
กรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้ซื้อด้วย กรณีเช่นนี้ แม้จะมีข้อตกลงในสัญญาซื้อขายให้มีการทาประกันภัย
แต่สัญญาซื้อขายเป็นนิติกรรมลักษณะหนึ่งที่เกิดจากความตกลง โดยสมัครใจของคู่สัญญาที่ทั้งสองฝ่าย
มีสิทธิในการตกลงร่วมกันให้ใช้เงื่อนไขในการซื้อขายที่ทั้งสองฝ่ายไม่มีพันธกรณีต่อกัน ในเรื่องของการทา
ประกันภัย เช่น ตกลงกันให้ใช้เงื่อนไข CFR (Cost and Freight) แต่เมื่อคู่สัญญาสมัครใจใช้เงื่อนไขที่มี
การกาหนดเรื่องการทาประกันภัยไว้ในสัญญาซื้อขาย การประกันภัยลักษณะนี้เป็นการประกันภัยแบบ
สมัครใจ หรือกรณีสัญญาการให้บริการโลจิสติกส์ (Logistics Services Agreement) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้
ในกลุ่มของผู้ให้บริการธุรกิจโลจิสติกส์ (Logistic Service Provider) ทาประกันภัยความรับผิดไว้ด้วย
การทาประกันภัยโดยคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพื่อปฏิบัติตามความผูกพันแห่งสัญญา จัดอยู่ในประเภท
ของการประกันภัยแบบสมัครใจ
3. กฎหมายบัญญัติให้ผู้ประกอบการธุรกิจบางประเภทต้องมีหลักประกันตามที่กฎหมาย
กาหนด ตัวอย่างเช่น ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
พ.ศ.2548 ต้องมีหลักประกันสาหรับความรับผิดตามสัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบหรือสาหรับ
ความเสี่ยงอื่นใดจากสัญญาที่ทาขึ้นและต้องนามาแสดงเมื่อยื่นขอจดทะเบียน หลักประกันความรับผิดนี้
อาจเป็นกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิด หรือหนังสือรับรองจากสมาคมหรือสถาบันการชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน หรือหนังสือค้าประกันของธนาคารก็ได้ หรือในอนุสัญญาระหว่างประเทศบางฉบับ เช่น
อนุสัญญาว่าด้วยความรับผิดทางแพ่งให้ความเสียหายจากมลพิษน้ามัน ค.ศ.1992 (International
Convention on Civil Liability for Oil Pollution Damage, 1992 หรือที่นิยม เรียกว่า อนุสัญญา CLC
992) ได้กาหนดให้เจ้าของเรือที่จดทะเบียนในรัฐภาคีของอนุสัญญาที่ขนส่งน้ามันในลักษณะที่เป็นสินค้า
เกินกว่า 2,000 ตัน ต้องมีการทาประกันภัยหรือมีหลักประกันทางการเงินอย่างอื่น เช่น หนังสือค้าประกัน
ของธนาคารหรือหนังสือรับรองที่ออกให้ โดยกองทุนเพื่อการชดใช้ระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครองความรับผิด
307
ของเจ้าของเรือสาหรับความเสียหายจากมลพิษน้ามัน กรณีที่มีกฎหมายหรืออนุสัญญาบัญญัติให้สามารถ
นากรมธรรม์ประกันภัยหรือหลักฐานการทาประกันภัยไปใช้เป็นหลักประกันได้ตามกฎหมายในลักษณะที่
เป็นทางเลือกเช่นนี้ ไม่ได้หมายความว่าการทาประกันภัยเพื่อนากรมธรรม์ประกันภัยไปใช้เป็น
หลักประกัน จะเป็นการทาประกันภัยภาคบังคับ แต่ถือเป็นการเอาประกันภัยแบบสมัครใจลักษณะหนึ่ง
เนื่องจากผู้เอาประกันภัยมิได้ถูกบังคับโดยกฎหมายให้ต้องใช้กรมธรรม์ประกันภัยเป็นหลักประกันความ
รับผิดเท่านั้น แต่ผู้เอาประกันภัยได้สมัครใจเลือกทาประกันภัยเพื่อนากรมธรรม์ประกันภัยไปใช้เป็น
หลักประกันตามกฎหมาย ทั้งที่มีสิทธิที่จะเลือกใช้หลักประกันประเภทอื่น เช่น หนังสือค้าประกันของ
ธนาคารหรือหลักประกันชนิดอื่นตามที่กฎหมายเปิดโอกาสให้เลือกใช้
1. การประกันภัยสาหรับผู้ประกอบการขนส่งสินค้าทางบก
การขนส่งสินค้าทางบกเป็นรูปแบบการขนส่งที่อาจใช้พาหนะหรือยานพาหนะขนส่งได้หลาย
รูปแบบ กล่าวคือ ในท้องที่หรือสถานที่ที่มีถนนตัดผ่านหรือมีทางที่ทาไว้ให้รถยนต์สามารถแล่นได้ การ
ขนส่งอาจใช้รถยนต์บรรทุกเป็นยานพาหนะ การขนส่งทางรางรถไฟก็จัดเป็นการขนส่งทางบก ในท้องที่
ทุรกันดาร ใช้สัตว์เป็นพาหนะในการขนส่ง แต่การขนส่งสินค้าทางบกที่สาคัญและมีกฎหมายกาหนด
หลักเกณฑ์การประกอบการ สิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบต่อสินค้า ได้แก่ การขนส่งสินค้าทาง
รถยนต์บรรทุก และการขนส่งโดยรถไฟ
2. การขนส่งสินค้าโดยรถยนต์บรรทุก
ประโยชน์ของการขนส่งโดยรถยนต์บรรทุก มีหลายประการ ดังนี้
2.1 การขนส่งโดยรถยนต์ เป็นรูปแบบการขนส่งที่สาคัญที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่าง
รูปแบบการขนส่งอื่นที่ข้อจากัดไม่สามารถจะเชื่อมต่อกันเองได้ ตัวอย่างเช่น ในการขนส่งสินค้าที่ต้องมี
การเชื่อมต่อระหว่างท่าเรือกับท่าอากาศยานจะเห็นได้ว่า ปกติท่าเรือกับท่าอากาศยานจะไม่ได้ตั้งอยู่
บริเวณเดียวกัน ดังนั้น จึงต้องใช้รถยนต์เป็นพาหนะในการขนส่ง เชื่อมต่อระหว่างท่าเรือกับท่าอากาศยาน
2.2 การขนส่งทางรถยนต์ เป็นการขนส่งที่ช่วยให้รับมอบสินค้าจากผู้ส่งของที่ต้นทางและ
ส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้รับสินค้าปลายทางสามารถทาให้สาเร็จลงได้ ทั้งนี้เนื่องจากในการขนส่งเพื่อลาเลียง
สินค้าจากผู้ส่งสินค้า ณ สถานที่ต้นทางหรือคลังสินค้าและการส่งมอบสินค้าให้ถึงมือผู้รับสินค่า ณ ปลายทาง
ส่วนใหญ่จะใช้รถยนต์ในการบรรทุก
2.3 การขนส่งโดยใช้รถยนต์สามารถครอบคลุมพื้นที่ในการให้บริการได้อย่างกว้างขวางด้วย
เหตุนี้การคมนาคมที่มีความสะดวก และกว้างขวางเนื่องจากมีถนนตัดผ่านชุมชน แหล่งธุรกิจ และ
อุตสาหกรรมที่สาคัญ แม้ในถิ่นทุรกันดารหรือห่างไกลจากชุมชนมักทาทางให้รถยนต์เข้าถึง
308
ประเภทของรถยนต์บรรทุก แบ่งออกเป็น 9 ประเภท ดังต่อไปนี้
2.3.1 รถยนต์บรรทุก หมายถึง รถที่ใช้บรรทุกมีลักษณะเป็นกระบะ โดยจะมีหลังคาหรือไม่
มีก็ได้
2.3.2 รถตู้บรรทุก หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกมีลักษณะเป็นตู้ทึบ มีหลังคาถาวร ตัวถัง
บรรทุกกับห้องคนขับจะเป็นตอนเดียวกันหรือแยกกันก็ได้
2.3.3 รถบรรทุกของเหลว หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกมีลักษณะเป็นถึงสาหรับบรรทุก
ของเหลวตามความเหมาะสมกับของเหลวที่บรรทุก
2.3.4 รถบรรทุกวัตถุอันตราย หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกมีลักษณะเฉพาะ เพื่อใช้ในการ
บรรทุกวัตถุอันตราย เช่น น้ามันเชื้อเพลิง วัตถุระเบิด เป็นต้น
2.3.5 รถบรรทุกเฉพาะกิจ หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกที่มีลักษณะพิเศษ เพื่อใช้ในกิจการ
ใดกิจการหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น รถบรรทุกขวดเครื่องดื่ม รถบรรทุกขยะมูลฝอย เป็นต้น
2.3.6 รถพ่วง หมายถึง รถที่ไม่มีแรงขับในตัวเอง จาเป็นต้องใช้รถอื่นในการลากจูง
2.3.7 รถกึ่งพ่วง หมายถึง รถที่ไม่มีแรงขับในตัวเอง จาเป็นต้องใช้รถอื่นในการลากจูงและ
น้าหนักบรรทุกบนส่วนเฉลี่ยลงบนเพลาล้อของรถคันที่ลากจูง
2.3.8 รถกึ่งพ่วงบรรทุกวัสดุยาว หมายถึง รถกึ่งพ่วงที่มีลักษณะเพื่อใช้บรรทุกสิ่งของที่มี
ความยาว โดยมีโครงโลหะที่สามารถปรับความยาวของช่วงล้อระหว่างรถลากจูงกับรถกึ่งพ่วงได้
2.3.9 รถลากจูง หมายถึง รถที่มีลักษณะเป็นรถสาหรับลากจูงรถพ่วง รถกึ่งพ่วง และรถกึ่ง
พ่วงบรรทุกวัสดุยาว โดยเฉพาะ
การประกันภัยสินค้า
สินค้า มีความสาคัญโดยตรงต่ออุตสาหกรรมขนส่ง หากมีการซื้อขายสินค้าหรือการไหลของ
สินค้าในประเทศหรือระหว่างประเทศในปริมาณที่สูงเท่าใด ความต้องการบริการของผู้ขนส่งเพื่อการ
ขนส่งจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อรวมทั้งการลาเลียงวัตถุดิบจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อป้อนแหล่งอุตสาหกรรมในการ
ผลิตสินค้าจะมีปริมาณสูงตามไปด้วย (คณะกรรมการประกันภัยทางทะเลและโลจิสติกส์, 2554)
Goods หมายถึง สิ่งที่ผลิตขึ้นเพื่อเอาไว้ขายในลักษณะที่เป็นสินค้า
Cargo หมายถึง สินค้าที่ถูกขนส่งโดยเรือหรือพาหนะอื่น เช่น เครื่องบิน หรือยานพาหนะ
ทางบก
309
1. การประกันภัยสินค้าระหว่างขนส่ง
การประกันภัยสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่ง เป็นการประกันภัยสาหรับช่วงเวลาหนึ่งของ
ความเสี่ยงภัยสินค้า กล่าวคือ สาหรับช่วงของความเสี่ยงภัยของสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่ง ด้วยเหตุนี้
ในกรมธรรม์ประกันภัยที่ใช้กับการประกันภัยสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่งจึงมีข้อกาหนดว่าด้วยการ
เริ่มต้น และสิ้นสุดของการขนส่ง ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการที่จะกาหนดระยะเวลาประกันภัย ว่าการ
ประกันภัยเริ่มต้นคุ้มครองตั้งแต่เมื่อใดและสิ้นสุดลงเมื่อใด เช่น Institute Cargo Clauses ที่ใช้กับการ
ประกันภัยสินค้าทางทะเลให้การประกันภัยเริ่มคุ้มครองนับตั้งแต่สินค้าออกจากคลังสินค้าหรือสถานที่เก็บ
ตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อการเริ่มต้นการขนส่งและการประกันภัยยังคงมีผลต่อไป
ในระหว่างการขนส่งสินค้าตามการขนส่งปกติ โดยในทางการประกันภัยถือว่าการประกันภัยเริ่มคุ้มครอง
นับแต่ล้อรถบรรทุกสินค้าเริ่มเคลื่อนที่ออกจากคลังสินค้าหรือสถานที่เก็บที่ต้นทางตามที่กาหนดไว้
ในกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อวัตถุประสงค์ในการเริ่มต้นการขนส่ง ส่วนการสิ้นสุดการประกันภัย โดยปกติ
สิ้นสุดเมื่อส่งมอบสินค้าให้ผู้รับยังปลายทางหรือที่คลังสินค้าที่เก็บสินค้าปลายทางที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
การประกันภัยความรับผิดต่อสินค้าที่ขนส่งโดยทางรถไฟตามกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิด
ของผู้ขนส่ง ถึงแม้ว่าการขนส่งทางรถไฟโดยการรถไฟแห่งประเทศไทยจะได้รับความคุ้มครองตาม
กฎหมายและสามารถจากัดความรับผิดต่อสินค้าได้ แต่การจากัดความรับผิดนั้นไม่สามารถใช้ได้และการ
รถไฟฯ จะต้องรับผิดเต็มตามมูลค่าสินค้าหากขนส่งโดยประมาทเลินเล่อ เช่น ไม่ได้บารุงรักษารางรถไฟ
ทาให้รถไฟตกราง และสินค้าที่ขนส่งได้รับความเสียหาย ดังนั้น ความเสี่ยงภัยในความรับผิดชอบต่อสินค้า
ที่ขนส่งโดยการรถไฟ จึงยังคงมีอยู่ และทาให้ระยะหลังการรถไฟได้เริ่มทาประกันภัยความรับผิดจากการ
ขนส่งสินค้าบรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ในเส้นทางการขนส่งระหว่าง ICD ลาดกระบังกับท่าเรือแหลมฉบัง
ในการทาประกันภัย การรถไฟฯ จะมีหนังสือถึงอธิบดีกรมการประกันภัย (ปัจจุบัน คือ คณะกรรมการ
กากับการส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย หรือคปภ.) เพื่อแจ้งความประสงค์พิจารณาฐานะการเงิน
ของบริษัทประกันภัยที่เป็นของคนไทยและจดทะเบียนในประเทศไทยเพื่อขึ้นบัญชีให้มีสิทธิรับประกันภัย
ทรัพย์สินของการรถไฟ โดยขอให้ให้ผู้รับประกันภัยต่าง ๆ ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวส่งงบแสดงฐานะทาง
การเงินของผู้รับประกันภัยที่มีผู้สอบบัญชีรับรองแล้วไปให้การรถไฟ เพื่อประกอบการพิจารณาสมาคม
ประกันวินาศภัยแจ้งความประสงค์ของการรถไฟ ไปยังบริษัทผู้รับประกันภัยเพื่อให้สมาชิกที่สนใจส่ง
งบดุลแสดงฐานะการเงินไปให้การรถไฟ พิจารณาเลือกตามหลักเกณฑ์และระเบียบวิธีการต่อไป
เนื่องจากการขนส่งจะต้องมีการยกขนสินค้าไปยังยานพาหนะขนส่ง (Loading) และมีการ
ขนถ่ายออกจากยานพาหนะ (Discharge) เพื่อให้เสร็จสิ้นการขนส่ง ดังนั้นกรมธรรม์ประกันภัยสินค้า
บางฉบับจึงกาหนดระยะเวลาคุ้มครองของสินค้าที่อยู่ในระหว่างการขนส่ง โดยขึ้นอยู่กับการยกขนสินค้า
310
ขึ้นยานพาหนะขนส่งและการขนถ่ายสินค้าออกจากยานพาหนะ เช่น กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่ง
ภายในประเทศจะเริ่มต้นคุ้มครองตั้งแต่ดาเนินการยกขนสินค้าขึ้นไปยังยานพาหนะที่ต้นทางและสิ้นสุด
เมื่อขนถ่ายสินค้าออกจากยานพาหนะเสร็จสิ้นที่ปลายทางซึ่งช่วงระยะเวลาดังกล่าวถือเป็นช่วงที่สินค้าอยู่
ระหว่างการขนส่ง
2. ลักษณะการบริการขนส่ง
การบริการขนส่งในประเทศไทยส่วนใหญ่มักมีการให้บริการด้านการจัดส่งสินค้า และการ
กระจายสินค้าในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และต่างจังหวัด ตลอดจนระหว่างประเทศ ดัง
รายละเอียดต่อไปนี้ (คานาย อภิปรัชญาสกุล, 2548 : 36)
2.1 การรวมใบสั่งซื้อสินค้า เนื่องจากระบบการจัดการใบสั่งสินค้า คลังสินค้า การขนส่ง
ถูกรวมเข้าด้วยกัน ทาให้สามารถรวมหรือแยกใบสั่งสินค้าเพื่อการขนส่งโดยเป็นไปตามความต้องการของ
ลูกค้าและทาให้มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งต่า การรวมใบสั่งสินค้านี้เชื่อมต่อกับการสั่งซื้อของลูกค้าต่อการ
ขนส่ง ทัศนคติในการดาเนินการด้านโลจิสติกส์ ทาให้สามารถเข้าถึงความต้องการของลูกค้า มีการ
ดาเนินงานที่เที่ยงตรงและสะดวก รวดเร็วขึ้น
2.2 การจัดการด้านการขนส่งและเส้นทางเดิน มีระบบการกับผู้ประกอบการขนส่งใน
เครือข่าย และการควบคุมอัตราการขนส่งให้มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา โดยอัตราการขนส่งนั้นต้อง
สัมพันธ์กับอัตราการใช้ประโยชน์สูงสุดของการเดินรถแต่ละเที่ยว กระบวนการที่ใช้สามารถทาให้การ
ตรวจสอบขนส่ง การชาระเงิน การส่งมอบ และการติดตามสถานะสินค้าทาได้ดีขึ้น นอกจากนี้ระบบ
ยังช่วยในการจัดเส้นทางที่ยุ่งยาก การลงของหลายจุด การส่งสินค้าผ่านท่าพักสินค้าเพื่อรวบรวมส่งต่อ
เป็นต้น ทางเลือกเหล่านี้จะนามาพิจารณาในการกาหนดเส้นทางเดินรถและในกรณีที่มีการลงของหลาย
จุด ข้อมูลซึ่งเชื่อมกันระหว่างคลังสินค้าและขนส่งทาให้สามารถกาหนดความต้องการของรถขนส่งที่
เหมาะสมล่วงหน้าสาหรับการบริการให้ตรงเวลาตามที่ต้องการ
2.3 การกาหนดรูปแบบการขนส่งและการดาเนินการ จะให้บริการรถขนส่งทุกรูปแบบ
ในรูปแบบไม่เต็มคัน (Less Truckload : LTL) เต็มคัน (Full Truckload : FTL) ทางอากาศ และทาง
เรือ โดยจะแนะนารูปแบบที่ดีที่สุดสาหรับสินค้าที่จะส่งและจัดส่งให้อย่างถูกต้องครบถ้วน
2.4 การจัดเส้นทางเดินรถตามกระบวนการ ปัจจุบันจะใช้รถขนส่งของตนเองและของ
ผู้ประกอบการขนส่งจากภายนอกที่ได้รับการประเมินผลระดับการให้บริการ โดยรวบรวมการจัดการ
ขนส่งสินค้าไว้ที่ศูนย์กลางจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดกระบวนการขนส่ง ซึ่งจะช่วยลดอัตราความ
ผิดพลาดและค่าใช้จ่ายในการขนส่ง
311
2.5 ความชัดเจนในการติดตามตรวจสอบสถานะสินค้าและข้อมูล สามารถให้ข้อมูล
และแจ้งผลการติดตามสถานะสินค้านับจากต้นทางของผู้ทาการขนส่งต่าง ๆ ในเครือข่ายโดยจับคู่กับ
เลขที่ใบสั่งสินค้า ณ จุดต่าง ๆ ในกระบวนการ การดาเนินงานลักษณะที่ไม่ยุ่งยากในการทาความเข้าใจ
ด้วยความถูกต้องครบถ้วนและชัดเจน
2.6 การรวมสินค้าในการขนส่ง ในการขนส่งสินค้าจากพื้นที่หลายจุด โดยนามารวมกันที่
จุดศูนย์กลางสาหรับการขนส่งเพื่อส่งไปยังปลายทางรวมกัน
2.7 การจัดการในกรณีลูกค้ามีรถขนส่ง และ/หรือตู้สินค้าเป็นของลูกค้าเอง และการ
จัดการทรัพย์สินของลูกค้า กรณีที่ลูกค้ามีรถขนส่งหรือตู้ขนส่งเป็นของลูกค้าเอง สามารถให้บริการใน
การจัดการขนส่งตามความต้องการเฉพาะกิจของลูกค้า รวมถึงการติดตามสถานะของการขนส่ง ตลอดจน
การขนส่งสินค้าอันตรายที่ลูกค้าต้องการจัดการภายใต้กฎ ระเบียบโดยเฉพาะ การส่งเป็นชุดสินค้าขนาด
ใหญ่ (Bulk) ตู้เย็นหรือการลากตู้กลับ เป็นต้น
2.8 บริการพิเศษในการขนส่งสินค้า รวมถึงบริการขนอุปกรณ์ออกบู้ธ อุปกรณ์ออกงาน
แสดงสินค้า บริการขนย้ายสานักงาน บริการขนย้ายที่อยู่อาศัย บริการขนย้ายสิ่งของ
2.9 การบริการพิธีการศุลกากร และการขนส่งระหว่างประเทศ บริการออกของทั้งทาง
เรือและทางอากาศ บริการด้านการจองระวาง (Freight) โดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียและทั่ว
โลก ทั้งแบบเต็มตู้ (FCL) และแบบเต็มตู้ (LCL) บริการดาเนินพิธีการคืนภาษีประเภทต่าง ๆ บริการ
จัดการสินค้าแบบโครงการ (Project Cargo Handling) มีระบบ EDI เชื่อมต่อกับกรมศุลกากรในการ
ดาเนินการบริการออกแบบ Green Line บริการเตรียมเอกสารผ่านธนาคาร ฯลฯ รวมถึงบริการขนส่ง
และลากตู้จากท่าถึงปลายทางที่กาหนด
การประกันภัยภาคบังคับ (Compulsory Insurance)
การประกันภัยภาคบังคับเป็นการประกันภัยที่กฎหมายบังคับให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งจะต้องทา
ประกันภัยเพื่อให้ความคุ้มครองตามที่กฎหมายกาหนดไว้ โดยทั่วไปการประกันภัยภาคบังคับตาม
กฎหมายมีจุดมุ่งหมายเพื่อคุ้มครองความเสียหายของบุคคลอื่นที่อาจไม่ใช่ผู้เอาประกันภัยและความ
เสียหายที่อาจมีต่อสาธารณะ เช่น การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance)
ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ที่บังคับให้เจ้าของรถซึ่งใช้รถหรือมีรถไว้เพื่อใช้จะต้อง
ทาประกันภัยความเสียหายสาหรับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของผู้ประสบภัยโดยทา
ประกันภัยกับบริษัทประกันภัยที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการประกันภัยรถยนต์ ยกเว้น รถนั้นเป็นรถที่มี
312
การยกเว้นไว้ตามกฎหมายว่าไม่ต้องทาประกันภัยภาคบังคับ เช่น รถสาหรับองค์พระมหากษัตริย์ รถของ
กระทรวง ทบวง กรม เทศบาล เป็นต้น ส่วนจานวนเงินเอาประกันภัยจะกาหนดตามชนิด ประเภทและ
ขนาดของรถ โดยไม่น้อยไปกว่าที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง
ตัวอย่าง การประกันภัยภาคบังคับ ได้แก่ การประกันภัยความเสียหายในการขนส่งวัตถุอันตราย
ทางบกด้วยรถหรือยานพาหนะอื่นใดซึ่งตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การประกันภัยความ
เสียหายจากการขนส่งวัตถุอันตราย พ.ศ.2549 บังคับให้ผู้ขนส่งวัตถุอันตรายในถัง (Tank) ที่มีลักษณะ
ตามกฎกระทรวงฉบับนี้กาหนดจะต้องทาประกันภัยกับผู้รับประกันวินาศภัยที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบ
ธุรกิจประกันวินาศภัยตามกฎหมายเพื่อคุ้มครองภัยอันเป็นผลมาจากการรั่วไหล การระเบิด หรือการ
ติดไฟของวัตถุอันตรายที่ทาการขนส่งทุกกรณี
การประกันภัยภาคบังคับมิได้จากัดอยู่เฉพาะการขนส่งทางบกเท่านั้น แต่ยังมีการขนส่ง
ทางอื่นด้วย เช่น การบริการและการขนส่งทางน้าในกิจการบางประเภท มีกฎหมายระบุไว้ให้ทาประกันภัย
ภาคบังคับด้วยเช่นกัน ตัวอย่าง กระทรวงคมนาคมได้ออกกฎกระทรวงฉบับที่ 73 (พ.ศ.2549) บังคับให้
ผู้ประกอบการเรือสาหรับโดยสารซึ่งเป็นเรือที่ตามใบอนุญาตใช้เรือ โดยระบุว่าเป็นเรือประเภทเรือ
โดยสารหรือเรือประเภทอื่นที่อนุญาตให้ใช้บรรทุกผู้โดยสารได้ด้วย โดยการบรรทุกผู้โดยสารนั้นเป็นการ
บรรทุกผู้โดยสารตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม ผู้ประกอบการเรือที่มีลักษณะ
ดังกล่าว จะต้องจัดให้มีการประกันภัยเพื่อคุ้มครองชีวิตและร่างกายของผู้โดยสารในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ
อันเนื่องมาจากการใช้เรือสาหรับโดยสาร ดังนั้น ธุรกิจเรือเล็กรับส่งพนักงานระหว่างสถานีนาร่องกับ
เรือสินค้าหรือรับส่งคนเรือระหว่างเรือสินค้ากับฝั่ง (Motor Launch) จะต้องทาประกันภัยภาคบังคับ
ตามกฎกระทรวงฉบับนี้
จากกรณีดังกล่าวข้างต้นของการประกันภัยภาคบังคับ แสดงให้เห็นลักษณะของการประกันภัย
ภาคบังคับ ดังนี้
1. การประกันภัยภาคบังคับ เป็นการประกันภัยที่กฎหมายบังคับให้ต้องทาประกันภัย โดยที่
กฎหมายไม่ได้เปิดช่องให้ใช้หลักประกันหรือสิ่งอื่นแทนการประกันภัยได้ ผู้ประกอบการหรือบุคคลที่
อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายฉบับที่บังคับให้ตนต้องทาประกันภัยจึงไม่มีทางเลือกอื่น แต่ต้องทาประกันภัย
ตามเงื่อนไขที่กฎหมายกาหนดเท่านั้น
2. การประกันภัยภาคบังคับ โดยมากเกิดจากกฎหมายประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังต่อไปนี้
2.1 พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) เป็นกฎหมายนิติบัญญัติที่มีลักษณะเป็น “กฎหมายโดยแท้”
โดยองค์กรที่ทาหน้าที่นิติบัญญัติโดยตรง เมื่อรัฐสภามีความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติแล้ว จะต้องนาขึ้น
ทูลเกล้าถวาย เพื่อให้พระมหากษัตริย์ ทรงลงปรมาภิไธยแล้วประกาศใน พระราชกิจจานุเบกษาจึงจะมี
313
ผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย เช่น การประกันภัยภัยรถยนต์ภาคบังคับตามพ.ร.บ. คุ้มครองประสบภัยจากรถ
พ.ศ.2535 เป็นต้น
2.2 กฎกระทรวงและประกาศกระทรวง ซึ่งเป็นกฎหมายลาดับรอง (Subordinate
legislation) ออกโดยฝ่ายบริหารด้านการอาศัยอานาจของกฎหมายแม่บทที่มอบอานาจให้ออกกฎหมาย
ลาดับรองได้ เช่น กฎกระทรวงฉบับที่ 73 (พ.ศ.2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือใน
น่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456 และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การประกันความเสียหาย
จากการขนส่ง วัตถุอันตราย พ.ศ.2549 เป็นต้น
กฎหมายแต่ละประเภทมีทั้งข้อดีและข้อด้อย กล่าวคือ พระราชบัญญัติสามารถกาหนด
หลักการใหญ่ ๆ และให้อานาจการออกกฎหมายลาดับรองได้ การแก้ไขพระราชบัญญัติมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก
และใช้เวลาเนื่องจากต้องผ่านกระบวนการทางรัฐสภา กฎหมายลาดับรอง เช่น กฎกระทรวงและ
ประกาศกระทรวง สามารถทาการแก้ไขและเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า ทาให้กฎหมายเหมาะสมและมีความ
ทันสมัยอยู่เสมอ เห็นได้ว่าธุรกิจบางประเภทในอุตสาหกรรม การขนส่ง หากมีการทาประกันภัยทั้ง
สมัครใจและภาคบังคับ ตัวอย่าง การประกันภัยของผู้ประกอบการธุรกิจรถบรรทุกขนส่งวัตถุอันตราย
รถบรรทุก 1 คัน หากทาประกันภัยได้ครบถ้วนจะมีทั้งการประกันภัยภาคสมัครใจ คือ การประกันภัย
รถยนต์บรรทุกในลักษณะที่เป็นการประกันภัยทรัพย์สิน (Property insurance) เพื่อให้ได้มาซึ่งความ
คุ้มครองสาหรับความเสียหายและสูญหายของรถบรรทุก และจะต้องทาประกันภัยภาคบังคับตาม พ.ร.บ.
คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 และตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นการ
ประกันภัยความรับผิดชอบ (Liability insurance)
การประกันภัยมีความสาคัญและเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมขนส่งสินค้า จนอาจกล่าวได้ว่าการ
ประกันภัยเป็นส่วนที่มีความจาเป็นต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าอย่างยิ่ง กิจกรรมเพียง
ช่วงสั้น ๆ หรือเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าก็สามารถแสดงให้เห็นถึงความสาคัญและ
ความเกี่ยวข้องของการประกันภัยกับอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าได้ ตัวอย่างเช่น การประกอบการขนส่ง
น้ามันระหว่างประเทศในลักษณะที่น้ามันเป็นสินค้าโดยเรือบรรทุกน้ามันนั้นมีขนาดเกินกว่า 2,000 ตัน
เจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการขนส่งที่รอบคอบจะทาประกันภัยในส่วนของตนอย่างน้อย 3 ส่วน ได้แก่ การ
ประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร (Hull and Machinery Insurance) การประกันภัยความรับผิดชอบ
ของผู้ขนส่งสาหรับสินค้าน้ามัน (P&I Club) และการประกันภัยความรับผิดทางแพ่ง ในความเสียหายจาก
มลพิษน้ามันตามอนุสัญ ญา International convention on civil liability for Oil Pollution
Damage, 1992 (CLC 1992) เมื่อเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการจะนาสินค้าน้ามันมาส่งยังประเทศไทย
ซึ่งจะต้องให้ผู้นาร่องในการนาเรือเข้ามาเทียบท่าเจ้าของเรือจะต้องใช้บริการเรือรับส่งพนักงานนาร่อง
314
(Motor Launch) ทาให้มีการประกันภัยอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องเพิ่มเติม คือ การประกันภัยภาคบังคับ
เพื่อคุ้มครองความรับผิดชอบต่อผู้โดยสาร สาหรับผู้ประกอบการเรือที่ใช้ขนส่งได้ตั้งแต่ 1 คน ในกรณีนี้
ผู้ประกอบการเรือได้นาเรือมาใช้รับพนักงานนาร่องจากสถานีนาร่องไปยังเรือบรรทุกน้ามัน จึงถือว่า
มีผู้โดยสารที่ต้องรับผิดชอบ
การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ
การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ มีความแตกต่างที่สาคัญบางประการจากการ
ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ ดังนี้
1. โดยทั่วไปการประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศนิยมทาเป็นกรมธรรม์ประกันภัยแบบ
รายเที่ยว (Voyage Policy) แต่การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ ตลาดประกันภัยประเทศ
ไทยนิยมทากรมธรรม์ประกันภัยแบบกาหนดเวลา (Time Policy) เช่น กรมธรรม์ประกันภัยรายปี
ที่กาหนดอายุของสัญญาประกันภัยไว้เป็นระยะเวลา 1 ปี
2. กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ มุ่งหมายที่จะใช้สาหรับสินค้าที่ขนส่ง
ภายในประเทศ จึงอาจมีขอบเขตความคุ้มครองและข้อยกเว้นรวมทั้งเงื่อนไขที่แตกต่างไปทางข้อกาหนด
Institute Cargo Clauses ที่ใช้กับกรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ
3. Institute Cargo Clauses นิยมใช้ในการประกันภัยขนส่งสินค้าระหว่างประเทศจัดทาขึ้น
เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น ส่วนกรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศฉบับมาตรฐานที่ได้รับ
ความเห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)
จัดทาขึ้นเป็นภาษาไทยเนื่องจากใช้เฉพาะภายในประเทศ
กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศฉบับปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่
แบบความคุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด และแบบระบุภัย แต่ละแบบยังแบ่งย่อยออกเป็นกรมธรรม์
ประกันภัยแบบกาหนดเวลา และกรมธรรม์ประกันภัยแบบขนส่งเฉพาะเที่ยว ดังแผนภูมิต่อไปนี้
315
ภาพที่ 10.1 แบบของกรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ
ที่มา : สมาคมประกันวินาศภัย, 2554 : 10
ประโยชน์และความสาคัญของการประกันภัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมขนส่งสินค้า
หากแบ่งหน้าที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าโดยพิจารณาเฉพาะในแง่ของการบริการ
อาจแบ่งเป็นส่วนของผู้ประกอบการหรือเจ้าของธุรกิจขนส่งและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง ซึ่งเป็นฝ่าย
ของผู้ให้บริการ ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งของผู้ใช้บริการการประกันภัยในอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้า ทั้งแบบ
สมัครใจและภาคบังคับก่อให้เกิดประโยชน์และมีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมการขนส่งสินค้าทั้งในส่วน
ของผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการดังนี้
1. ส่วนของผู้ประกอบการ
1.1 การประกันภัยสร้างความมั่นใจให้กับผู้ประกอบการและเจ้าของธุรกิจในอุตสาหกรรม
การขนส่งสินค้าที่จะมั่นใจได้ว่า กิจการและธุรกิจของตนจะสามารถดาเนินต่อไปได้ หากมีความสูญเสียหรือ
ความเสียหายเกิดขึ้นกับทรัพย์สินหรือกิจการของตนโดยการที่จะได้รับชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม
กรมธรรม์ประกันภัยจากผู้รับประกันภัย เมื่อมีการทาประกันภัยไว้อย่างเหมาะสม ตัวอย่าง เจ้าของเรือ
บรรทุกสินค้าหากไม่ได้ทาประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร สาหรับเรือของตนไว้เมื่อเกิดอุบัติเหตุเรือ
อับปาง หรือเพลิงไหม้ทาให้เรือเสียหายอย่างสินเชิง หากเจ้าของเรือต้องการจะประกอบธุรกิจขนส่งสินค้า
กรมธรรม์ประกันภัยแบบ
คุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด
กาหนดเวลา
กรมธรรม์ประกันภัย
แบบระบุภัย
กาหนดเวลา
ขนส่งเฉพาะเที่ยว
ขนส่งเฉพาะเที่ยว
316
ต่อไปจะต้องลงทุนซื้อเรือมาทดแทนด้วยเงินของตนเองหรือต้องกเงินจากสถาบันการเงินมาซื้อเรือใหม่
แต่หากมีการประกันภัยตัวเรือไว้ความเสียหายของเจ้าของเรือจะได้รับการเยียวยาโดยการที่ผู้รับ
ประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ตามมูลค่าของเรือที่ได้ทาประกันภัยไว้ทาให้เจ้าของเรือที่ไม่มีทุน
พอที่จะซื้อเรือใหม่ ด้วยตัวเองหรือไม่มีหลักทรัพย์พอที่จะกู้ยืมเงินมาซื้อเรือใหม่ สามารถทาธุรกิจต่อไปได้
ด้วยค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับจากผู้รับประกันภัยอันเป็นผลมาจากการที่ได้ทาประกันภัยตัวเรือไว้หากไม่มี
การทาประกันภัยผู้ประกอบการายนี้อาจจะต้องปิดกิจการ
1.2 แม้ว่าผู้ประกันภัยจะเรียกค่าตอบแทนจากการตกลงรับประกันภัยที่เรียกว่า
เบี้ยประกันภัย (Premium) แต่ผู้ประกอบการและเจ้าของธุรกิจในอุตสาหกรรมขนส่งที่ได้ทาการ
ประกันภัยและชาระค่าเบี้ยประกันภัยไปแล้วสามารถนาเบี้ยประกันภัยมาใช้ประโยชน์ทางบัญชีและภาษี
เพราะเบี้ยประกันภัยถือเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการบริหารและดาเนินงาน สามารถนาไปใช้ในการลดหย่อน
ภาษีเงินได้อีกทอดหนึ่งได้ด้วย
1.3 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างจานวนเงินค่าสินไหมทดแทนที่จะได้รับชดเชยจาก
การทาประกันภัยกับจานวนเงินเบี้ยประกันภัยที่ต้องจ่ายจะเห็นได้ว่าการทาประกันภัยเป็นการลงทุน
ในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่จะได้รับการตอบแทนอย่างคุ้มค่า เพราะนอกจากจานวนเบี้ยประกันภัย
ที่ชาระไปสามารถไปใช้ประโยชน์ทางบัญชีและภาษีได้แล้ว ยังเป็นจานวนเงินที่น้อยกว่าค่าสินไหมทดแทน
จะได้รับ สาหรับกรณีของความเสียหายสิ้นเชิง ตัวอย่างเช่น ในการดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับรถบรรทุกเพื่อ
ขนส่งสินค้าหากผู้ประกอบการทาประกันภัยรถบรรทุก 1 คัน มีมูลค่า 800,000 บาท ไว้ตามกรมธรรม์
ประกันภัยรถยนต์โดยมีจานวนเงินเอาประกันภัย 800,000 บาท มีความเสียหายส่วนแรกที่ผู้เอา
ประกันภัยจะต้องรับผิดชอบเอง (Deductible) 20,000 บาท โดยผู้เอาประกันภัยชาระเบี้ยประกันภัยเพียง
10,000 บาท หากรถยนต์บรรทุกคันนี้ได้รับความเสียหายคิดเป็นค่าซ่อม 400,000 บาท ผู้ประกอบการ
จะได้รับการชดใช้จากผู้รับประกันภัยเป็นเงิน 380,000 บาท ซึ่งนับว่าคุ้มกับเบี้ยประกันภัยที่ได้จ่ายไป
1.4 สามารถใช้เป็นหลักประกันในกรณีที่มีกฎหมายบังคับหรือกาหนดเป็นเงื่อนไขของการ
ขออนุญาตประกอบการโดยการบังคับให้ประกอบกิจการบางประเภทในอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้า
จะต้องมีหลักประกันตามที่หลักกฎหมายกาหนดการประกันภัยเป็นทางเลือกหนึ่งที่ผู้ประกอบการ
สามารถนาไปใช้เป็นหลักประกันหากกฎหมายนั้นกาหนดให้สามารถใช้การประกันภัยเป็นหลักประกันได้
เช่น การประกันภัยตาม Article VLL ของอนุสัญญา CLC 1992 หรือการประกันภัยตามความรับผิดของ
ผู้ขนส่งต่อเนื่องที่จดทะเบียนตาม พ.ร.บ. การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ.2548 แต่ในกรณีที่
กฎหมายบังคับให้ผู้ประกอบการต้องทาประกันภัยภาคบังคับ (Compulsory insurance) การทา
ประกันภัยเป็นการปฏิบัติตามกฎหมายทาให้ไม่ถูกลงโทษ และมีคุณสมบัติทาให้สามารถประกอบการได้
317
ตามกฎหมายการประกันภัยชอบบังคับยังเป็นเครื่องมือและมาตรการของรัฐ ในการคุ้มครองและเยียวยา
ความสูญเสียและความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อาจได้รับอันตราย
หรือความเสียหายจากการประกอบการบางประเภท เช่น การประกันภัยเรือที่ใช้รับส่งผู้โดยสารตาม
กฎกระทรวง ฉบับที่ 73 (พ.ศ.2549) ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย
พระพุทธศักราช 2456 และการประกันภัยรถยนต์ขนส่งวัตถุอันตราย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การประกันภัยความเสียหายจากการขนส่ง วัตถุอันตราย พ.ศ.2549 เป็นต้น
การที่ธุรกิจเลือกใช้วิธีการประกันภัยเป็นหลักประกันยังมีความหมายรวมถึง การเป็น
หลักประกันในสินเชื่อ (Credit) ให้แก่ผู้ประกอบการในบางกรณี เช่น หากเจ้าของเรือจะขอกู้ยืมเงินจาก
ธนาคารหรือสถาบันการเงินเพื่อนามาซื้อเรือ ธนาคารหรือสถาบันการเงินที่ให้สินเชื่อกู้แก่เจ้าของเรือ
นอกจากจะกาหนดให้เจ้าของเรือต้องจานองเรือไว้กับธนาคาร หรือสถาบันการเงินแล้ว ยังนิยมกาหนดให้
เจ้าของเรือทาประกันภัยตัวเรือที่มีการให้สินเชื่อนั้นไว้กับบริษัทประกันภัยโดยระบุธนาคารหรือสถาบัน
การเงิน ผู้ให้สินเชื่อเป็นผู้รับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัย เหตุที่นิยมทาเช่นนี้เนื่องจากการทา
จานองเรือ ไว้เพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอที่จะทาให้ธนาคารหรือสถาบันการเงินมั่นใจได้ว่าตนจะได้รับ
การเยียวยาในกรณีที่เรือเกิดอับปางและเสียหายหรือเรือสูญหายไป เพราะเมื่อเกิดเหตุเช่นนี้จะเท่ากับว่า
หลักประกัน คือ เรือที่นามาจานองหมดไป (กรณีสูญหาย) หรือเสื่อมค่าลง (กรณีเสียหาย) ด้วย แต่หากทา
ประกันภัยตัวเรือไว้ด้วยโดยกาหนดให้ธนาคารหรือสถาบันการเงิน ผู้เป็นเจ้าหนี้จะเป็นผู้รับประโยชน์ซึ่งมี
สิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยตามจานวนหนี้เงินกู้ที่เจ้าของเรือ ค้างชาระอยู่กับ
ธนาคาร แม้เรือจะเสียหายทาให้มูลค่าเรือลดน้อยลงหรือสูญหายไป ธนาคารหรือสถาบันการเงินจะได้รับ
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยเท่ากับจานวนหนี้ที่เจ้าของเรือค้างชาระทาให้การประกันภัย
เป็นหลักประกันในการชาระหนี้นอกเหนือจากการจานองเรือ
ส่วนของผู้ใช้บริการ เช่น เจ้าของสินค้าที่จ้างผู้ขนส่งให้ทาการขนส่งสินค้าหรือผู้ที่โดยสาร
ไปกับเรือเล็กรับส่งระหว่างเรือกับฝั่งหรือระหว่างสถานีนาร่องกับเรือสินค้า เป็นต้น การประกันภัย
ส่วนของผู้ประกอบการขนส่งในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้า ก่อให้เกิดประโยชน์และมีความสาคัญต่อ
ผู้ใช้บริการประการสาคัญ คือ ทาให้เกิดความมั่นใจและเป็นหลักประกันแก่ผู้ใช้บริการว่าความเสียหายที่
ผู้ใช้บริการอาจได้รับจากการประกอบการของฝ่ายผู้ให้บริการสามารถได้รับการชดใช้โดยบุคคลอื่น (ผู้รับ
ประกันภัย) แม้ว่าผู้ประกอบการเองจะมีทรัพย์สินไม่เพียงพอที่จะชดใช้ความเสียหายนั้นได้ ตัวอย่างเช่น
การทาประกันภัยความรับผิดชอบของผู้ขนส่ง (Carrier’s Liability Insurance) กรณีที่ผู้เอาประกันภัยซึ่ง
เป็นผู้ประกอบการขนส่งมีทรัพย์สินเพียง 2,000,000 บาท แต่ขนส่ง โดยประมาททาให้สินค้าที่รับขนซึ่งมี
มูลค่าประมาณ 5,000,000 บาท รับความเสียหายทั้งหมด หากไม่ได้ทาประกับภัยความรับผิดไว้
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ

More Related Content

What's hot

05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 
Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)
Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)
Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)Thanaphat Tachaphan
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แchakaew4524
 
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์ อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์ Chainarong Maharak
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นkanokpan krueaprasertkun
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาAoun หมูอ้วน
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคkrupeem
 

What's hot (20)

05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 
Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)
Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)
Ch.06 การประหยัดต้นทุนบรรจุภัณฑ์+บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก (Packaging Cost Saving)
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แ
 
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์ อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
อารมณ์ และความฉลาดทางอารมณ์
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่นการทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
การทดลองที่ 1 เรื่องมอดูลัสความยืดหยุ่น
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
สึนามิ
สึนามิสึนามิ
สึนามิ
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภคสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
สิทธิคุ้มครองผู้บริโภค
 

Viewers also liked

บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยchakaew4524
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยchakaew4524
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดchakaew4524
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยchakaew4524
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานchakaew4524
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตchakaew4524
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535อลงกรณ์ อารามกูล
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยchakaew4524
 
กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่ง วัตถุอันตรายทางบก
กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบกกฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก
กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่ง วัตถุอันตรายทางบกli2co3
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยาchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัยchakaew4524
 

Viewers also liked (15)

บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัย
 
บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิต
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
 
กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่ง วัตถุอันตรายทางบก
กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบกกฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายทางบก
กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่ง วัตถุอันตรายทางบก
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 

More from chakaew4524

หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์chakaew4524
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ดchakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์chakaew4524
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตchakaew4524
 

More from chakaew4524 (8)

หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิตบทที่ 4 การประกันชีวิต
บทที่ 4 การประกันชีวิต
 

บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ

  • 1. บทที่ 10 การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าและบริการโลจิสติกส์ การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าและบริการโลจิสติกส์ นับว่ามีความสาคัญต่อ ผู้ประกอบการผลิตสินค้าเพื่อจาหน่ายภายในประเทศ และผู้ประกอบการธุรกิจขนส่งสินค้า ภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าร่วมประชาคมเขตเศรษฐกิจการค้าเสรีอาเซียน (AEC) ทาให้ ธุรกิจขนส่งสินค้าทั้งภายในและระหว่างประเทศมีความสาคัญเพิ่มมากขึ้น จึงเป็นที่น่าจับตามองว่าธุรกิจ การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าและบริการโลจิสติกส์จะมีผลการดาเนินงานอย่างไร เนื่องจาก การประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่งสินค้าภายในประเทศ จัดอยู่ในจาพวกของการประกันภัยความรับผิด (Liability Insurance) โดยมีความรับผิดของผู้ขนส่ง เป็นวัตถุแห่งการประกันภัย แต่ไม่ได้คุ้มครองความ รับผิดตามกฎหมายของผู้ขนส่งในทุกกรณี ทั้งนี้เพราะความรับผิดที่จะได้รับความคุ้มครองตามกรมธรรม์ ประกันภัยจากัดอยู่เฉพาะความรับผิดของผู้ขนส่งในความเสียหาย สูญหาย หรือส่งมอบล่าช้าที่เกิดขึ้นกับ ตัวสินค้าเท่านั้น ดังนั้น ความรับผิดส่วนใหญ่จึงตกอยู่ที่ผู้รับประกันภัย ความหมายของการขนส่ง การขนส่ง (Transportation) หมายถึง การลาเลียงหรือการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือสิ่งของจาก สถานที่ แห่งหนึ่งไปยังสถานที่อีกแห่งหนึ่งซึ่งกระทาโดยผู้ขนส่ง และวัตถุหรือสิ่งที่ถูกเคลื่อนย้ายหรือ ลาเลียงนั้นอาจเป็นได้ทั้งส่งของ สินค้า หรือบุคคลที่เรียกว่าผู้โดยสารก็ได้ นอกจากนี้คาว่าขนส่ง อาจมี ความหมายถึงธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง ซึ่งอาจมีลักษณะทั้งการขนและการส่ง ดังนั้น การขนส่ง สินค้าจึงเป็นส่วนหนึ่งของการขนส่งในภาพรวม คานาย อภิปรัชญาสกุล (2548 : 2) ให้ความหมายของการขนส่ง ไว้ว่า หมายถึง การ เคลื่อนย้ายสินค้าจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่ง ซึ่งการขนส่งจะทาให้เกิดการสร้างเส้นทางจาก จุดเริ่มต้นของโซ่อุปทานไปสู่มือลูกค้า เนื่องจากการขนส่งเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับการลาเลียงหรือเคลื่อนย้าย ดังนั้นกิจกรรมการ ขนส่งในบางกรณี โดยเฉพาะการขนส่งภายในท้องถิ่น (Domestic Transport) จึงอาจมิได้กระทา โดยผู้ประกอบการธุรกิจการขนส่งเท่านั้น ตัวอย่างเช่น เจ้าของฟาร์มกุ้งนารถบรรทุกของตนขนกุ้งจาก ฟาร์มไปส่งให้แก่พ่อค้าแม่ค้าในตลาด เป็นต้น การขนส่งลักษณะนี้เจ้าของสินค้าและผู้ทาการขนส่งเป็น บุคคลเดียวกัน ทาให้การเสี่ยงภัยในความเสียหายของสิ่งของที่ถูกขนส่งและความรับผิดชอบต่อสิ่งของนั้น
  • 2. 302 ในระหว่างการขนส่งตกอยู่กับบุคคลเดียวกันโดยไม่ต้องมีการทาประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง แต่ในทางการค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าที่มีการซื้อขายกันจะใช้ บริการของผู้ประกอบการขนส่งที่ดาเนินกิจการในลักษณะเป็นธุรกิจมีการคิดค่าบาเหน็จตอบแทนการ ให้บริการขนส่งที่เรียกว่า ค่าระวาง (Freight) จากผู้ว่าจ้าง โดยผู้ที่รับจ้างขนส่งที่เข้าทาสัญญาขนส่งกับ ผู้ว่าจ้าง จะเรียกว่า ผู้ขนส่ง (Carrier) ส่วนผู้ที่เป็นคนว่าจ้างผู้ขนส่งให้ทาการขนส่ง เรียกว่า ผู้ส่งของ (Shipper) หรือ ผู้ตราส่ง (Consignor) ในลักษณะที่ทั้งสองฝ่ายเป็นคู่สัญญาซึ่งกันและกัน ภาพที่ 10.1 แสดงขั้นตอนการทาสัญญาและการตกลงว่าจ้างขนส่ง การขนส่งสินค้าที่กระทาโดย ผู้ขนส่ง มักนิยมทาประกันภัย โดยในส่วนของการประกันภัย ทรัพย์สินเพื่อความสูญเสียและความเสียหายของสินค้า ฝ่ายเจ้าของสินค้าจะเป็นผู้ทาประกันภัย ผู้ขนส่ง ซึ่งมีความเสี่ยงภัยต่อการที่จะต้องรับผิดชอบในความเสียหายและสูญหายของสินค้าหรือการส่งมอบล่าช้า ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างที่สินค้านั้นอยู่ในความรับผิดชอบของตนก็จะทาประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่งเอาไว้ อันเป็นการทาประกันภัยแยกกันตามลักษณะของส่วนได้เสียของแต่ละฝ่าย รูปแบบการขนส่ง (Mode of Transport) มีหลายวิธีและอาจกระทาโดยการใช้ยานพาหนะ (Vehicle) ที่แตกต่างกันตามลักษณะการขนส่ง ได้แก่ การขนส่งทางบก (Land Transport) อาจเป็นการขนส่งบนท้องถนน (Road Transport) โดยรถยนต์กระบะ และรถบรรทุกที่ใช้อาจมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของการขนส่ง เช่น รถยนต์ กระบะ 4 ล้อ รถบรรทุกสิบล้อและรถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ เป็นต้น หรือในถิ่นทุรกันดารที่รถยนต์ ไม่สามารถเข้าถึง อาจใช้สัตว์เป็นพาหนะในการขนส่ง เช่น ช้าง ม้า และล่อ เพื่อการขนส่ง ผู้ขนส่ง ทาสัญญาขนส่ง ผู้ส่งของ ตกลงว่าจ้าง
  • 3. 303 การขนส่งทางราง (Rail Transport) โดยการใช้รถไฟหรือรถรางเป็นยานพาหนะขนส่ง ลักษณะ ของการขนส่งสินค้าอาจเป็นเพียงการใช้ตู้สินค้าพ่วงไปกับขบวนรถผู้โดยสารหรือทาการขนส่งโดยรถ สินค้าแยกขนส่งเป็นขบวนรถตู้สินค้าโดยเฉพาะ การขนส่งทางอากาศ (Air Transport) โดยทั่วไปมักจะใช้เครื่องบินขนส่งสินค้าเป็นยานพาหนะ สาหรับการขนส่ง การขนส่งโดยใช้บอลลูน (Balloon) จัดอยู่ในประเภทของการขนส่งทางอากาศได้ เช่นกัน การขนส่งทางน้า (Water Transport) อาจแบ่งออกเป็นสองส่วนตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ คือ การขนส่งทางน้าในแผ่นดิน (Inland Waterways) เช่น การขนส่งโดยใช้แม่น้า ลาคลอง เป็นเส้นทาง การขนส่งและอีประเภทหนึ่งคือการขนส่งทางทะเล (Sea Transport) ซึ่งเรือที่ใช้เป็นยานพาหนะในการ ขนส่งจะมีความแตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะเรือสาหรับขนส่งทางทะเลจะมีความหลากหลายในด้านของ ขนาดที่แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์การใช้งานและตามลักษณะของสินค้าที่บรรทุก ประวัติการประกันภัยสินค้า 1. ประวัติการประกันภัยสินค้าโลก ในสมัยโบราณเส้นทางการขนส่งสินค้าที่สาคัญของมนุษย์ก็คือ การขนส่งสินค้าทางน้า การเดินทางสัญจรไปมาระหว่างเมือง เพื่อนาสินค้าไปจาหน่ายต้องอาศัยการลาเลียงสินค้าผ่านทางน้า ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นแม่น้า หรือทะเล เป็นที่ทราบกันดีว่าการเดินทางย่อมมีอุปสรรคนานัปการ เช่น การเกิดภัยพิบัติจากธรรมชาติ อันได้แก่ คลื่นลม มรสุม หรือแม้แต่น้ามือของมนุษย์ด้วยกันเอง เช่น โจรสลัด ซึ่งสร้างปัญหาให้กับเจ้าของเรือ และเจ้าของสินค้า ดังนั้นจึงได้เกิดการประกันภัยทางทะเลขึ้น เพื่อช่วยกระจายความเสี่ยงภัยของเจ้าของเรือ และเจ้าของสินค้า ต่อมาได้ขยายความคุ้มครองไปถึงทาง บกและความสูญเสียในขณะขนส่ง ทางน้าภายในประเทศอีกด้วย เมื่อโลกมีการพัฒนามากขึ้นการขนส่ง มิได้จากัดอยู่เฉพาะทางน้าและทางบกเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการขนส่งทางอากาศด้วย ปัจจุบันภัยที่เกิดขึ้นทั้งจากภัย อันตรายและความเสียหายต่อสินค้าที่ทาการขนส่งสามารถ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา จากสาเหตุดังกล่าวบางครั้งเราอาจไม่ทราบถึงภัยที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้ เช่น ภัยธรรมชาติ ภัยจากเครื่องบินตก ภัยจากการเดินเรือ ภัยจากการขนถ่ายสินค้า ภัยจากเพลิงไหม้ ภัยจากการปนเปื้อนรั่วไหลของบรรจุภัณฑ์ ฯลฯ ดังนั้น การทาประกันภัยการขนส่ง จึงเป็นการสร้าง ความมั่นใจให้แก่เจ้าของสินค้าว่าหากทรัพย์สิน หรือสินค้าที่นามาทาประกันภัยไว้ได้รับความเสียหายก็จะ ได้รับการชดใช้ ผู้เอาประกันภัยก็สามารถนาเงินที่ได้จากบริษัทประกันภัยไปสร้าง ซื้อ หรือจัดหา ทรัพย์สินใหม่ ทาให้สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้
  • 4. 304 2. ประวัติการประกันภัยสินค้าในประเทศไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา ประเทศไทยได้มีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ ในช่วงระยะเวลานั้น อาจมีการประกันภัยบ้างแล้ว โดยเฉพาะการประกันภัยทางทะเลและขนส่ง แต่เป็นการที่ชาวต่างชาติ ทาประกันภัยกันเอง การประกันภัยนั้นเริ่มขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ ประมาณปี พ.ศ.2368 สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 และในขณะนั้นพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงผนวชอยู่ ได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดจากประเทศอังกฤษ และทรงเกรงว่า จะเกิดความเสียหายระหว่างการขนส่ง จึงได้รับสั่งให้เอาประกันภัยเครื่องพิมพ์ดังกล่าวระหว่างการขนส่ง ในนามของพระองค์เอง แสดงว่าการประกันภัยนั้นได้เริ่มแผ่เข้ามาถึงประเทศไทยแล้ว และอาจกล่าวได้ ว่าประเทศไทยได้รู้จักวิธีการประกันภัย หรือการประกันภัยการขนส่งสินค้าในสมัยรัชกาลที่ 3 ความหมายของการประกันภัยสินค้า การประกันภัยสินค้า หมายถึง การประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองความเสียหายอันเกิดขึ้นต่อ สินค้าระหว่างการขนส่งจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง เนื่องจากภัย อันตราย และความเสียหาย ต่อสินค้าที่ทาการขนส่ง ไม่ว่าโดยทางเรือ ทางอากาศ ทางบก หรือทางพัสดุ ไปรษณีย์ การประกันภัย สินค้าระหว่างการขนส่งนั้น ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งโดยวิธีใดก็มักจะเรียกรวมกันไปว่าการประกันภัยขนส่ง สินค้าทางทะเล ซึ่งในการทาประกันภัยขนส่งสินค้านี้จะใช้กรมธรรม์ประกันภัยขนส่งทางทะเลในการรับ ประกันภัยทั้งสิ้น แม้ว่าสินค้านั้นจะบรรทุกโดยทางรถยนต์ หรือทางอากาศก็ตาม ส่วนคานาย อภิปรัชญาสกุล (2548 : 140) ได้ให้ความหมายของการประกันภัยขนส่งสินค้า ไว้ว่า หมายถึง การ ประกันที่ให้ความคุ้มครองแก่สินค้าที่ขนส่งจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่งหรือจากประเทศหนึ่งไป ยังอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งในการขนส่งนี้อาจเกิดความเสียหายหรือสูญเสียต่อสินค้าขึ้นได้ การทาประกันภัยสินค้าระหว่างการขนส่งนั้น จะแยกลักษณะของการทาประกันภัยออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ (คานาย อภิปรัชญาสกุล, 2548 : 33) 1. การประกันภัยขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Marine Cargo Insurance) เป็นการ ประกันภัยสาหรับการนาเข้าหรือส่งออกสินค้า โดยมีความคุ้มครองหลากหลายให้เลือก 1.1 กรมธรรม์สาหรับสินค้าส่งออกในราคา C.I.F. และกรมธรรม์สาหรับสินค้านาเข้าใน ราคา F.O.B. หรือ C.F.R. , C&F ให้ความคุ้มครองตลอดเส้นทางตั้งแต่โรงงานของผู้ขายจนถึงโรงงานของ ผู้ซื้อ 1.2 กรมธรรม์สาหรับสินค้าส่งออกในราคา F.O.B. หรือ C.F.R. , C&F ให้ความคุ้มครอง
  • 5. 305 ตั้งแต่เริ่มเดินทางออกจากโรงงานไปจนถึงส่งมอบให้กับผู้ขนส่งสินค้าที่ท่าเรือต้นทาง 2. การประกันภัยขนส่งสินค้าภายในประเทศ (Inland Transit) ให้ความคุ้มครองการสูญเสีย หรือเสียหายของสินค้าที่ทาประกันระหว่างการขนส่งภายในประเทศ กรณีสินค้าได้รับความเสียหายหรือ สูญหาย เช่น รถคว่า รถชนกัน ไฟไหม้ ระเบิด สินค้าถูกลักขโมย รวมถึงความเสียหรือหรือการสูญ หายจากภัยธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น การทาประกันภัยคุ้มครองความเสียหายของสินค้าที่เกิดขึ้นระหว่าง การขนส่งที่อยู่ภายในประเทศ เช่น การขนส่งสินค้าจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น การขนส่งภายในประเทศนี้จะต้องเป็นการขนส่งที่ไม่ใช่การขนส่งต่อเนื่องไปยังต่างประเทศ ถ้าเป็นการขนส่งต่อเนื่องถือว่าเป็นการประกันภัยขนส่งสินค้าทางทะเล เช่น การขนส่งสินค้าตู้เย็นจาก โรงงานจังหวัดระยอง ไปยังประเทศญี่ปุ่น ในการขนส่งจะต้องขนของจากโรงงานที่อยู่จังหวัดระยองไป ยังท่าเรือแหลมฉบัง โดยใส่ในตู้คอนเทนเนอร์บรรทุกไปกับรถยนต์ และจากท่าเรือแหลมฉบังขนคอนเทน เนอร์ลงเรือเดินทะเลเพื่อแล่นออกไปยังท่าเรือปลายทางที่ประเทศญี่ปุ่น ดังนี้แม้ว่าการขนส่งจากจังหวัด ระยอง เป็นการขนส่งโดยทางรถยนต์ก็ตามในการทาประกันภัยจะทาประกันภัยสินค้านี้ควบไปกับการ ขนส่งทางทะเลหรือการขนส่งระหว่างประเทศ ดังนั้นการทาประกันภัยขนส่งสินค้าจากโรงงานที่จังหวัด ระยองจึงเป็นการประกันภัยทางทะเลด้วย อุตสาหกรรมขนส่งกับการประกันภัย ขอบเขตและลักษณะของอุตสาหกรรมการขนส่งมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับกิจกรรมที่ หลากหลาย ผู้ประกอบการธุรกิจหลายรูปแบบและผู้ประกอบอาชีพที่มีความแตกต่างกัน ทาให้เกิดธุรกิจ และอาชีพที่เกี่ยวเนื่องตามมามีการลงทุนและจ้างงานเพื่อการผลิตและให้บริการอย่างกว้างขวาง ส่งผลให้ การประกันภัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมขนส่งมีความหลากหลายตามไปด้วย (คณะกรรมการประกันภัย ทางทะเลและโลจิสติกส์, 2554) การประกันภัยในอุตสาหกรรมขนส่งอาจเกิดจากการสมัครใจทาประกันภัย โดยที่ไม่มีกฎหมาย บังคับให้ต้องทาอันเป็นการทาประกันภัยแบบสมัครใจ (Voluntary Insurance) หรืออาจเป็นการ ประกันภัยภาคบังคับ (Compulsory Insurance) เพราะเหตุที่มีกฎหมายบังคับให้ต้องมีการทาประกันภัย การประกันภัยแบบสมัครใจ (Voluntary Insurance) อาจเกิดจากเหตุดังต่อไปนี้ 1. เป็นความสมัครใจทาประกันภัยเองโดยที่ไม่มีข้อสัญญาหรือข้อตกลงกับบุคคลอื่น เช่น ผู้ประกอบธุรกิจตัวแทนเรือ (Ship’s Agent) ในประเทศไทยที่รับทาหน้าที่พิธีการต่าง ๆ แทนเรือ ตามเมืองท่าต่าง ๆ ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องทาประกันภัยและในทางธุรกิจ เจ้าของเรือที่แต่งตั้งและ ว่าจ้างตัวแทนเรือจะไม่บังคับให้ตัวแทนเรือทาประกันภัย แต่ผู้ประกอบการบางรายได้ทาประกันภัย
  • 6. 306 ความรับผิด (Liability Insurance) เพื่อคุ้มครองความรับผิดจากค่าปรับและค่าเสียหายของบุคคลภายนอก อันอาจเกิดจากการทาหน้าที่ตัวแทนเรือ หรืออีกตัวอย่างหนึ่ง เช่น การประกันอัคคีภัยสาหรับอาคาร สานักงานของบริษัทเจ้าของเรือก็ไม่มีกฎหมายบังคับให้ต้องทาประกันภัย แต่ผู้ประกอบการที่รอบคอบ มักนิยมทาประกันภัยทรัพย์สินของตนไว้ การทาประกันภัยในลักษณะเช่นนี้เป็นการประกันภัยแบบ สมัครใจโดยแท้ 2. การประกันภัยแบบสมัครใจ อาจเกิดจากสัญญาที่ผูกพันระหว่างคู่สัญญาโดยสัญญาระบุให้ มีการทาประกันภัย ตัวอย่างเช่น การซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศที่คู่สัญญาตกลงซื้อขายกันตามเงื่อนไข CIF (Cost, Insurance and Freight) ซึ่งตามพันธกรณีของฝ่ายผู้ขายตาม INCOTERMS ผู้ขายจะต้องทา สัญญาประกันภัยสินค้าตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญาด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ขายเองแล้วดาเนินการจัดส่ง กรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้ซื้อด้วย กรณีเช่นนี้ แม้จะมีข้อตกลงในสัญญาซื้อขายให้มีการทาประกันภัย แต่สัญญาซื้อขายเป็นนิติกรรมลักษณะหนึ่งที่เกิดจากความตกลง โดยสมัครใจของคู่สัญญาที่ทั้งสองฝ่าย มีสิทธิในการตกลงร่วมกันให้ใช้เงื่อนไขในการซื้อขายที่ทั้งสองฝ่ายไม่มีพันธกรณีต่อกัน ในเรื่องของการทา ประกันภัย เช่น ตกลงกันให้ใช้เงื่อนไข CFR (Cost and Freight) แต่เมื่อคู่สัญญาสมัครใจใช้เงื่อนไขที่มี การกาหนดเรื่องการทาประกันภัยไว้ในสัญญาซื้อขาย การประกันภัยลักษณะนี้เป็นการประกันภัยแบบ สมัครใจ หรือกรณีสัญญาการให้บริการโลจิสติกส์ (Logistics Services Agreement) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ ในกลุ่มของผู้ให้บริการธุรกิจโลจิสติกส์ (Logistic Service Provider) ทาประกันภัยความรับผิดไว้ด้วย การทาประกันภัยโดยคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพื่อปฏิบัติตามความผูกพันแห่งสัญญา จัดอยู่ในประเภท ของการประกันภัยแบบสมัครใจ 3. กฎหมายบัญญัติให้ผู้ประกอบการธุรกิจบางประเภทต้องมีหลักประกันตามที่กฎหมาย กาหนด ตัวอย่างเช่น ผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ.2548 ต้องมีหลักประกันสาหรับความรับผิดตามสัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบหรือสาหรับ ความเสี่ยงอื่นใดจากสัญญาที่ทาขึ้นและต้องนามาแสดงเมื่อยื่นขอจดทะเบียน หลักประกันความรับผิดนี้ อาจเป็นกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิด หรือหนังสือรับรองจากสมาคมหรือสถาบันการชดใช้ค่าสินไหม ทดแทน หรือหนังสือค้าประกันของธนาคารก็ได้ หรือในอนุสัญญาระหว่างประเทศบางฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยความรับผิดทางแพ่งให้ความเสียหายจากมลพิษน้ามัน ค.ศ.1992 (International Convention on Civil Liability for Oil Pollution Damage, 1992 หรือที่นิยม เรียกว่า อนุสัญญา CLC 992) ได้กาหนดให้เจ้าของเรือที่จดทะเบียนในรัฐภาคีของอนุสัญญาที่ขนส่งน้ามันในลักษณะที่เป็นสินค้า เกินกว่า 2,000 ตัน ต้องมีการทาประกันภัยหรือมีหลักประกันทางการเงินอย่างอื่น เช่น หนังสือค้าประกัน ของธนาคารหรือหนังสือรับรองที่ออกให้ โดยกองทุนเพื่อการชดใช้ระหว่างประเทศ เพื่อคุ้มครองความรับผิด
  • 7. 307 ของเจ้าของเรือสาหรับความเสียหายจากมลพิษน้ามัน กรณีที่มีกฎหมายหรืออนุสัญญาบัญญัติให้สามารถ นากรมธรรม์ประกันภัยหรือหลักฐานการทาประกันภัยไปใช้เป็นหลักประกันได้ตามกฎหมายในลักษณะที่ เป็นทางเลือกเช่นนี้ ไม่ได้หมายความว่าการทาประกันภัยเพื่อนากรมธรรม์ประกันภัยไปใช้เป็น หลักประกัน จะเป็นการทาประกันภัยภาคบังคับ แต่ถือเป็นการเอาประกันภัยแบบสมัครใจลักษณะหนึ่ง เนื่องจากผู้เอาประกันภัยมิได้ถูกบังคับโดยกฎหมายให้ต้องใช้กรมธรรม์ประกันภัยเป็นหลักประกันความ รับผิดเท่านั้น แต่ผู้เอาประกันภัยได้สมัครใจเลือกทาประกันภัยเพื่อนากรมธรรม์ประกันภัยไปใช้เป็น หลักประกันตามกฎหมาย ทั้งที่มีสิทธิที่จะเลือกใช้หลักประกันประเภทอื่น เช่น หนังสือค้าประกันของ ธนาคารหรือหลักประกันชนิดอื่นตามที่กฎหมายเปิดโอกาสให้เลือกใช้ 1. การประกันภัยสาหรับผู้ประกอบการขนส่งสินค้าทางบก การขนส่งสินค้าทางบกเป็นรูปแบบการขนส่งที่อาจใช้พาหนะหรือยานพาหนะขนส่งได้หลาย รูปแบบ กล่าวคือ ในท้องที่หรือสถานที่ที่มีถนนตัดผ่านหรือมีทางที่ทาไว้ให้รถยนต์สามารถแล่นได้ การ ขนส่งอาจใช้รถยนต์บรรทุกเป็นยานพาหนะ การขนส่งทางรางรถไฟก็จัดเป็นการขนส่งทางบก ในท้องที่ ทุรกันดาร ใช้สัตว์เป็นพาหนะในการขนส่ง แต่การขนส่งสินค้าทางบกที่สาคัญและมีกฎหมายกาหนด หลักเกณฑ์การประกอบการ สิทธิ หน้าที่และความรับผิดชอบต่อสินค้า ได้แก่ การขนส่งสินค้าทาง รถยนต์บรรทุก และการขนส่งโดยรถไฟ 2. การขนส่งสินค้าโดยรถยนต์บรรทุก ประโยชน์ของการขนส่งโดยรถยนต์บรรทุก มีหลายประการ ดังนี้ 2.1 การขนส่งโดยรถยนต์ เป็นรูปแบบการขนส่งที่สาคัญที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่าง รูปแบบการขนส่งอื่นที่ข้อจากัดไม่สามารถจะเชื่อมต่อกันเองได้ ตัวอย่างเช่น ในการขนส่งสินค้าที่ต้องมี การเชื่อมต่อระหว่างท่าเรือกับท่าอากาศยานจะเห็นได้ว่า ปกติท่าเรือกับท่าอากาศยานจะไม่ได้ตั้งอยู่ บริเวณเดียวกัน ดังนั้น จึงต้องใช้รถยนต์เป็นพาหนะในการขนส่ง เชื่อมต่อระหว่างท่าเรือกับท่าอากาศยาน 2.2 การขนส่งทางรถยนต์ เป็นการขนส่งที่ช่วยให้รับมอบสินค้าจากผู้ส่งของที่ต้นทางและ ส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้รับสินค้าปลายทางสามารถทาให้สาเร็จลงได้ ทั้งนี้เนื่องจากในการขนส่งเพื่อลาเลียง สินค้าจากผู้ส่งสินค้า ณ สถานที่ต้นทางหรือคลังสินค้าและการส่งมอบสินค้าให้ถึงมือผู้รับสินค่า ณ ปลายทาง ส่วนใหญ่จะใช้รถยนต์ในการบรรทุก 2.3 การขนส่งโดยใช้รถยนต์สามารถครอบคลุมพื้นที่ในการให้บริการได้อย่างกว้างขวางด้วย เหตุนี้การคมนาคมที่มีความสะดวก และกว้างขวางเนื่องจากมีถนนตัดผ่านชุมชน แหล่งธุรกิจ และ อุตสาหกรรมที่สาคัญ แม้ในถิ่นทุรกันดารหรือห่างไกลจากชุมชนมักทาทางให้รถยนต์เข้าถึง
  • 8. 308 ประเภทของรถยนต์บรรทุก แบ่งออกเป็น 9 ประเภท ดังต่อไปนี้ 2.3.1 รถยนต์บรรทุก หมายถึง รถที่ใช้บรรทุกมีลักษณะเป็นกระบะ โดยจะมีหลังคาหรือไม่ มีก็ได้ 2.3.2 รถตู้บรรทุก หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกมีลักษณะเป็นตู้ทึบ มีหลังคาถาวร ตัวถัง บรรทุกกับห้องคนขับจะเป็นตอนเดียวกันหรือแยกกันก็ได้ 2.3.3 รถบรรทุกของเหลว หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกมีลักษณะเป็นถึงสาหรับบรรทุก ของเหลวตามความเหมาะสมกับของเหลวที่บรรทุก 2.3.4 รถบรรทุกวัตถุอันตราย หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกมีลักษณะเฉพาะ เพื่อใช้ในการ บรรทุกวัตถุอันตราย เช่น น้ามันเชื้อเพลิง วัตถุระเบิด เป็นต้น 2.3.5 รถบรรทุกเฉพาะกิจ หมายถึง รถที่ใช้ส่วนบรรทุกที่มีลักษณะพิเศษ เพื่อใช้ในกิจการ ใดกิจการหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น รถบรรทุกขวดเครื่องดื่ม รถบรรทุกขยะมูลฝอย เป็นต้น 2.3.6 รถพ่วง หมายถึง รถที่ไม่มีแรงขับในตัวเอง จาเป็นต้องใช้รถอื่นในการลากจูง 2.3.7 รถกึ่งพ่วง หมายถึง รถที่ไม่มีแรงขับในตัวเอง จาเป็นต้องใช้รถอื่นในการลากจูงและ น้าหนักบรรทุกบนส่วนเฉลี่ยลงบนเพลาล้อของรถคันที่ลากจูง 2.3.8 รถกึ่งพ่วงบรรทุกวัสดุยาว หมายถึง รถกึ่งพ่วงที่มีลักษณะเพื่อใช้บรรทุกสิ่งของที่มี ความยาว โดยมีโครงโลหะที่สามารถปรับความยาวของช่วงล้อระหว่างรถลากจูงกับรถกึ่งพ่วงได้ 2.3.9 รถลากจูง หมายถึง รถที่มีลักษณะเป็นรถสาหรับลากจูงรถพ่วง รถกึ่งพ่วง และรถกึ่ง พ่วงบรรทุกวัสดุยาว โดยเฉพาะ การประกันภัยสินค้า สินค้า มีความสาคัญโดยตรงต่ออุตสาหกรรมขนส่ง หากมีการซื้อขายสินค้าหรือการไหลของ สินค้าในประเทศหรือระหว่างประเทศในปริมาณที่สูงเท่าใด ความต้องการบริการของผู้ขนส่งเพื่อการ ขนส่งจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อรวมทั้งการลาเลียงวัตถุดิบจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อป้อนแหล่งอุตสาหกรรมในการ ผลิตสินค้าจะมีปริมาณสูงตามไปด้วย (คณะกรรมการประกันภัยทางทะเลและโลจิสติกส์, 2554) Goods หมายถึง สิ่งที่ผลิตขึ้นเพื่อเอาไว้ขายในลักษณะที่เป็นสินค้า Cargo หมายถึง สินค้าที่ถูกขนส่งโดยเรือหรือพาหนะอื่น เช่น เครื่องบิน หรือยานพาหนะ ทางบก
  • 9. 309 1. การประกันภัยสินค้าระหว่างขนส่ง การประกันภัยสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่ง เป็นการประกันภัยสาหรับช่วงเวลาหนึ่งของ ความเสี่ยงภัยสินค้า กล่าวคือ สาหรับช่วงของความเสี่ยงภัยของสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่ง ด้วยเหตุนี้ ในกรมธรรม์ประกันภัยที่ใช้กับการประกันภัยสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่งจึงมีข้อกาหนดว่าด้วยการ เริ่มต้น และสิ้นสุดของการขนส่ง ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการที่จะกาหนดระยะเวลาประกันภัย ว่าการ ประกันภัยเริ่มต้นคุ้มครองตั้งแต่เมื่อใดและสิ้นสุดลงเมื่อใด เช่น Institute Cargo Clauses ที่ใช้กับการ ประกันภัยสินค้าทางทะเลให้การประกันภัยเริ่มคุ้มครองนับตั้งแต่สินค้าออกจากคลังสินค้าหรือสถานที่เก็บ ตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อการเริ่มต้นการขนส่งและการประกันภัยยังคงมีผลต่อไป ในระหว่างการขนส่งสินค้าตามการขนส่งปกติ โดยในทางการประกันภัยถือว่าการประกันภัยเริ่มคุ้มครอง นับแต่ล้อรถบรรทุกสินค้าเริ่มเคลื่อนที่ออกจากคลังสินค้าหรือสถานที่เก็บที่ต้นทางตามที่กาหนดไว้ ในกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อวัตถุประสงค์ในการเริ่มต้นการขนส่ง ส่วนการสิ้นสุดการประกันภัย โดยปกติ สิ้นสุดเมื่อส่งมอบสินค้าให้ผู้รับยังปลายทางหรือที่คลังสินค้าที่เก็บสินค้าปลายทางที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ การประกันภัยความรับผิดต่อสินค้าที่ขนส่งโดยทางรถไฟตามกรมธรรม์ประกันภัยความรับผิด ของผู้ขนส่ง ถึงแม้ว่าการขนส่งทางรถไฟโดยการรถไฟแห่งประเทศไทยจะได้รับความคุ้มครองตาม กฎหมายและสามารถจากัดความรับผิดต่อสินค้าได้ แต่การจากัดความรับผิดนั้นไม่สามารถใช้ได้และการ รถไฟฯ จะต้องรับผิดเต็มตามมูลค่าสินค้าหากขนส่งโดยประมาทเลินเล่อ เช่น ไม่ได้บารุงรักษารางรถไฟ ทาให้รถไฟตกราง และสินค้าที่ขนส่งได้รับความเสียหาย ดังนั้น ความเสี่ยงภัยในความรับผิดชอบต่อสินค้า ที่ขนส่งโดยการรถไฟ จึงยังคงมีอยู่ และทาให้ระยะหลังการรถไฟได้เริ่มทาประกันภัยความรับผิดจากการ ขนส่งสินค้าบรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ในเส้นทางการขนส่งระหว่าง ICD ลาดกระบังกับท่าเรือแหลมฉบัง ในการทาประกันภัย การรถไฟฯ จะมีหนังสือถึงอธิบดีกรมการประกันภัย (ปัจจุบัน คือ คณะกรรมการ กากับการส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย หรือคปภ.) เพื่อแจ้งความประสงค์พิจารณาฐานะการเงิน ของบริษัทประกันภัยที่เป็นของคนไทยและจดทะเบียนในประเทศไทยเพื่อขึ้นบัญชีให้มีสิทธิรับประกันภัย ทรัพย์สินของการรถไฟ โดยขอให้ให้ผู้รับประกันภัยต่าง ๆ ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวส่งงบแสดงฐานะทาง การเงินของผู้รับประกันภัยที่มีผู้สอบบัญชีรับรองแล้วไปให้การรถไฟ เพื่อประกอบการพิจารณาสมาคม ประกันวินาศภัยแจ้งความประสงค์ของการรถไฟ ไปยังบริษัทผู้รับประกันภัยเพื่อให้สมาชิกที่สนใจส่ง งบดุลแสดงฐานะการเงินไปให้การรถไฟ พิจารณาเลือกตามหลักเกณฑ์และระเบียบวิธีการต่อไป เนื่องจากการขนส่งจะต้องมีการยกขนสินค้าไปยังยานพาหนะขนส่ง (Loading) และมีการ ขนถ่ายออกจากยานพาหนะ (Discharge) เพื่อให้เสร็จสิ้นการขนส่ง ดังนั้นกรมธรรม์ประกันภัยสินค้า บางฉบับจึงกาหนดระยะเวลาคุ้มครองของสินค้าที่อยู่ในระหว่างการขนส่ง โดยขึ้นอยู่กับการยกขนสินค้า
  • 10. 310 ขึ้นยานพาหนะขนส่งและการขนถ่ายสินค้าออกจากยานพาหนะ เช่น กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่ง ภายในประเทศจะเริ่มต้นคุ้มครองตั้งแต่ดาเนินการยกขนสินค้าขึ้นไปยังยานพาหนะที่ต้นทางและสิ้นสุด เมื่อขนถ่ายสินค้าออกจากยานพาหนะเสร็จสิ้นที่ปลายทางซึ่งช่วงระยะเวลาดังกล่าวถือเป็นช่วงที่สินค้าอยู่ ระหว่างการขนส่ง 2. ลักษณะการบริการขนส่ง การบริการขนส่งในประเทศไทยส่วนใหญ่มักมีการให้บริการด้านการจัดส่งสินค้า และการ กระจายสินค้าในเขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และต่างจังหวัด ตลอดจนระหว่างประเทศ ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ (คานาย อภิปรัชญาสกุล, 2548 : 36) 2.1 การรวมใบสั่งซื้อสินค้า เนื่องจากระบบการจัดการใบสั่งสินค้า คลังสินค้า การขนส่ง ถูกรวมเข้าด้วยกัน ทาให้สามารถรวมหรือแยกใบสั่งสินค้าเพื่อการขนส่งโดยเป็นไปตามความต้องการของ ลูกค้าและทาให้มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งต่า การรวมใบสั่งสินค้านี้เชื่อมต่อกับการสั่งซื้อของลูกค้าต่อการ ขนส่ง ทัศนคติในการดาเนินการด้านโลจิสติกส์ ทาให้สามารถเข้าถึงความต้องการของลูกค้า มีการ ดาเนินงานที่เที่ยงตรงและสะดวก รวดเร็วขึ้น 2.2 การจัดการด้านการขนส่งและเส้นทางเดิน มีระบบการกับผู้ประกอบการขนส่งใน เครือข่าย และการควบคุมอัตราการขนส่งให้มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา โดยอัตราการขนส่งนั้นต้อง สัมพันธ์กับอัตราการใช้ประโยชน์สูงสุดของการเดินรถแต่ละเที่ยว กระบวนการที่ใช้สามารถทาให้การ ตรวจสอบขนส่ง การชาระเงิน การส่งมอบ และการติดตามสถานะสินค้าทาได้ดีขึ้น นอกจากนี้ระบบ ยังช่วยในการจัดเส้นทางที่ยุ่งยาก การลงของหลายจุด การส่งสินค้าผ่านท่าพักสินค้าเพื่อรวบรวมส่งต่อ เป็นต้น ทางเลือกเหล่านี้จะนามาพิจารณาในการกาหนดเส้นทางเดินรถและในกรณีที่มีการลงของหลาย จุด ข้อมูลซึ่งเชื่อมกันระหว่างคลังสินค้าและขนส่งทาให้สามารถกาหนดความต้องการของรถขนส่งที่ เหมาะสมล่วงหน้าสาหรับการบริการให้ตรงเวลาตามที่ต้องการ 2.3 การกาหนดรูปแบบการขนส่งและการดาเนินการ จะให้บริการรถขนส่งทุกรูปแบบ ในรูปแบบไม่เต็มคัน (Less Truckload : LTL) เต็มคัน (Full Truckload : FTL) ทางอากาศ และทาง เรือ โดยจะแนะนารูปแบบที่ดีที่สุดสาหรับสินค้าที่จะส่งและจัดส่งให้อย่างถูกต้องครบถ้วน 2.4 การจัดเส้นทางเดินรถตามกระบวนการ ปัจจุบันจะใช้รถขนส่งของตนเองและของ ผู้ประกอบการขนส่งจากภายนอกที่ได้รับการประเมินผลระดับการให้บริการ โดยรวบรวมการจัดการ ขนส่งสินค้าไว้ที่ศูนย์กลางจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดกระบวนการขนส่ง ซึ่งจะช่วยลดอัตราความ ผิดพลาดและค่าใช้จ่ายในการขนส่ง
  • 11. 311 2.5 ความชัดเจนในการติดตามตรวจสอบสถานะสินค้าและข้อมูล สามารถให้ข้อมูล และแจ้งผลการติดตามสถานะสินค้านับจากต้นทางของผู้ทาการขนส่งต่าง ๆ ในเครือข่ายโดยจับคู่กับ เลขที่ใบสั่งสินค้า ณ จุดต่าง ๆ ในกระบวนการ การดาเนินงานลักษณะที่ไม่ยุ่งยากในการทาความเข้าใจ ด้วยความถูกต้องครบถ้วนและชัดเจน 2.6 การรวมสินค้าในการขนส่ง ในการขนส่งสินค้าจากพื้นที่หลายจุด โดยนามารวมกันที่ จุดศูนย์กลางสาหรับการขนส่งเพื่อส่งไปยังปลายทางรวมกัน 2.7 การจัดการในกรณีลูกค้ามีรถขนส่ง และ/หรือตู้สินค้าเป็นของลูกค้าเอง และการ จัดการทรัพย์สินของลูกค้า กรณีที่ลูกค้ามีรถขนส่งหรือตู้ขนส่งเป็นของลูกค้าเอง สามารถให้บริการใน การจัดการขนส่งตามความต้องการเฉพาะกิจของลูกค้า รวมถึงการติดตามสถานะของการขนส่ง ตลอดจน การขนส่งสินค้าอันตรายที่ลูกค้าต้องการจัดการภายใต้กฎ ระเบียบโดยเฉพาะ การส่งเป็นชุดสินค้าขนาด ใหญ่ (Bulk) ตู้เย็นหรือการลากตู้กลับ เป็นต้น 2.8 บริการพิเศษในการขนส่งสินค้า รวมถึงบริการขนอุปกรณ์ออกบู้ธ อุปกรณ์ออกงาน แสดงสินค้า บริการขนย้ายสานักงาน บริการขนย้ายที่อยู่อาศัย บริการขนย้ายสิ่งของ 2.9 การบริการพิธีการศุลกากร และการขนส่งระหว่างประเทศ บริการออกของทั้งทาง เรือและทางอากาศ บริการด้านการจองระวาง (Freight) โดยมีเครือข่ายต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียและทั่ว โลก ทั้งแบบเต็มตู้ (FCL) และแบบเต็มตู้ (LCL) บริการดาเนินพิธีการคืนภาษีประเภทต่าง ๆ บริการ จัดการสินค้าแบบโครงการ (Project Cargo Handling) มีระบบ EDI เชื่อมต่อกับกรมศุลกากรในการ ดาเนินการบริการออกแบบ Green Line บริการเตรียมเอกสารผ่านธนาคาร ฯลฯ รวมถึงบริการขนส่ง และลากตู้จากท่าถึงปลายทางที่กาหนด การประกันภัยภาคบังคับ (Compulsory Insurance) การประกันภัยภาคบังคับเป็นการประกันภัยที่กฎหมายบังคับให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งจะต้องทา ประกันภัยเพื่อให้ความคุ้มครองตามที่กฎหมายกาหนดไว้ โดยทั่วไปการประกันภัยภาคบังคับตาม กฎหมายมีจุดมุ่งหมายเพื่อคุ้มครองความเสียหายของบุคคลอื่นที่อาจไม่ใช่ผู้เอาประกันภัยและความ เสียหายที่อาจมีต่อสาธารณะ เช่น การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Motor Insurance) ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ที่บังคับให้เจ้าของรถซึ่งใช้รถหรือมีรถไว้เพื่อใช้จะต้อง ทาประกันภัยความเสียหายสาหรับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของผู้ประสบภัยโดยทา ประกันภัยกับบริษัทประกันภัยที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการประกันภัยรถยนต์ ยกเว้น รถนั้นเป็นรถที่มี
  • 12. 312 การยกเว้นไว้ตามกฎหมายว่าไม่ต้องทาประกันภัยภาคบังคับ เช่น รถสาหรับองค์พระมหากษัตริย์ รถของ กระทรวง ทบวง กรม เทศบาล เป็นต้น ส่วนจานวนเงินเอาประกันภัยจะกาหนดตามชนิด ประเภทและ ขนาดของรถ โดยไม่น้อยไปกว่าที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง ตัวอย่าง การประกันภัยภาคบังคับ ได้แก่ การประกันภัยความเสียหายในการขนส่งวัตถุอันตราย ทางบกด้วยรถหรือยานพาหนะอื่นใดซึ่งตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การประกันภัยความ เสียหายจากการขนส่งวัตถุอันตราย พ.ศ.2549 บังคับให้ผู้ขนส่งวัตถุอันตรายในถัง (Tank) ที่มีลักษณะ ตามกฎกระทรวงฉบับนี้กาหนดจะต้องทาประกันภัยกับผู้รับประกันวินาศภัยที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบ ธุรกิจประกันวินาศภัยตามกฎหมายเพื่อคุ้มครองภัยอันเป็นผลมาจากการรั่วไหล การระเบิด หรือการ ติดไฟของวัตถุอันตรายที่ทาการขนส่งทุกกรณี การประกันภัยภาคบังคับมิได้จากัดอยู่เฉพาะการขนส่งทางบกเท่านั้น แต่ยังมีการขนส่ง ทางอื่นด้วย เช่น การบริการและการขนส่งทางน้าในกิจการบางประเภท มีกฎหมายระบุไว้ให้ทาประกันภัย ภาคบังคับด้วยเช่นกัน ตัวอย่าง กระทรวงคมนาคมได้ออกกฎกระทรวงฉบับที่ 73 (พ.ศ.2549) บังคับให้ ผู้ประกอบการเรือสาหรับโดยสารซึ่งเป็นเรือที่ตามใบอนุญาตใช้เรือ โดยระบุว่าเป็นเรือประเภทเรือ โดยสารหรือเรือประเภทอื่นที่อนุญาตให้ใช้บรรทุกผู้โดยสารได้ด้วย โดยการบรรทุกผู้โดยสารนั้นเป็นการ บรรทุกผู้โดยสารตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม ผู้ประกอบการเรือที่มีลักษณะ ดังกล่าว จะต้องจัดให้มีการประกันภัยเพื่อคุ้มครองชีวิตและร่างกายของผู้โดยสารในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ อันเนื่องมาจากการใช้เรือสาหรับโดยสาร ดังนั้น ธุรกิจเรือเล็กรับส่งพนักงานระหว่างสถานีนาร่องกับ เรือสินค้าหรือรับส่งคนเรือระหว่างเรือสินค้ากับฝั่ง (Motor Launch) จะต้องทาประกันภัยภาคบังคับ ตามกฎกระทรวงฉบับนี้ จากกรณีดังกล่าวข้างต้นของการประกันภัยภาคบังคับ แสดงให้เห็นลักษณะของการประกันภัย ภาคบังคับ ดังนี้ 1. การประกันภัยภาคบังคับ เป็นการประกันภัยที่กฎหมายบังคับให้ต้องทาประกันภัย โดยที่ กฎหมายไม่ได้เปิดช่องให้ใช้หลักประกันหรือสิ่งอื่นแทนการประกันภัยได้ ผู้ประกอบการหรือบุคคลที่ อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายฉบับที่บังคับให้ตนต้องทาประกันภัยจึงไม่มีทางเลือกอื่น แต่ต้องทาประกันภัย ตามเงื่อนไขที่กฎหมายกาหนดเท่านั้น 2. การประกันภัยภาคบังคับ โดยมากเกิดจากกฎหมายประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 2.1 พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) เป็นกฎหมายนิติบัญญัติที่มีลักษณะเป็น “กฎหมายโดยแท้” โดยองค์กรที่ทาหน้าที่นิติบัญญัติโดยตรง เมื่อรัฐสภามีความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติแล้ว จะต้องนาขึ้น ทูลเกล้าถวาย เพื่อให้พระมหากษัตริย์ ทรงลงปรมาภิไธยแล้วประกาศใน พระราชกิจจานุเบกษาจึงจะมี
  • 13. 313 ผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย เช่น การประกันภัยภัยรถยนต์ภาคบังคับตามพ.ร.บ. คุ้มครองประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 เป็นต้น 2.2 กฎกระทรวงและประกาศกระทรวง ซึ่งเป็นกฎหมายลาดับรอง (Subordinate legislation) ออกโดยฝ่ายบริหารด้านการอาศัยอานาจของกฎหมายแม่บทที่มอบอานาจให้ออกกฎหมาย ลาดับรองได้ เช่น กฎกระทรวงฉบับที่ 73 (พ.ศ.2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือใน น่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456 และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การประกันความเสียหาย จากการขนส่ง วัตถุอันตราย พ.ศ.2549 เป็นต้น กฎหมายแต่ละประเภทมีทั้งข้อดีและข้อด้อย กล่าวคือ พระราชบัญญัติสามารถกาหนด หลักการใหญ่ ๆ และให้อานาจการออกกฎหมายลาดับรองได้ การแก้ไขพระราชบัญญัติมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และใช้เวลาเนื่องจากต้องผ่านกระบวนการทางรัฐสภา กฎหมายลาดับรอง เช่น กฎกระทรวงและ ประกาศกระทรวง สามารถทาการแก้ไขและเปลี่ยนแปลงได้ง่ายกว่า ทาให้กฎหมายเหมาะสมและมีความ ทันสมัยอยู่เสมอ เห็นได้ว่าธุรกิจบางประเภทในอุตสาหกรรม การขนส่ง หากมีการทาประกันภัยทั้ง สมัครใจและภาคบังคับ ตัวอย่าง การประกันภัยของผู้ประกอบการธุรกิจรถบรรทุกขนส่งวัตถุอันตราย รถบรรทุก 1 คัน หากทาประกันภัยได้ครบถ้วนจะมีทั้งการประกันภัยภาคสมัครใจ คือ การประกันภัย รถยนต์บรรทุกในลักษณะที่เป็นการประกันภัยทรัพย์สิน (Property insurance) เพื่อให้ได้มาซึ่งความ คุ้มครองสาหรับความเสียหายและสูญหายของรถบรรทุก และจะต้องทาประกันภัยภาคบังคับตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 และตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นการ ประกันภัยความรับผิดชอบ (Liability insurance) การประกันภัยมีความสาคัญและเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมขนส่งสินค้า จนอาจกล่าวได้ว่าการ ประกันภัยเป็นส่วนที่มีความจาเป็นต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าอย่างยิ่ง กิจกรรมเพียง ช่วงสั้น ๆ หรือเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าก็สามารถแสดงให้เห็นถึงความสาคัญและ ความเกี่ยวข้องของการประกันภัยกับอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าได้ ตัวอย่างเช่น การประกอบการขนส่ง น้ามันระหว่างประเทศในลักษณะที่น้ามันเป็นสินค้าโดยเรือบรรทุกน้ามันนั้นมีขนาดเกินกว่า 2,000 ตัน เจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการขนส่งที่รอบคอบจะทาประกันภัยในส่วนของตนอย่างน้อย 3 ส่วน ได้แก่ การ ประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร (Hull and Machinery Insurance) การประกันภัยความรับผิดชอบ ของผู้ขนส่งสาหรับสินค้าน้ามัน (P&I Club) และการประกันภัยความรับผิดทางแพ่ง ในความเสียหายจาก มลพิษน้ามันตามอนุสัญ ญา International convention on civil liability for Oil Pollution Damage, 1992 (CLC 1992) เมื่อเจ้าของเรือหรือผู้ประกอบการจะนาสินค้าน้ามันมาส่งยังประเทศไทย ซึ่งจะต้องให้ผู้นาร่องในการนาเรือเข้ามาเทียบท่าเจ้าของเรือจะต้องใช้บริการเรือรับส่งพนักงานนาร่อง
  • 14. 314 (Motor Launch) ทาให้มีการประกันภัยอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องเพิ่มเติม คือ การประกันภัยภาคบังคับ เพื่อคุ้มครองความรับผิดชอบต่อผู้โดยสาร สาหรับผู้ประกอบการเรือที่ใช้ขนส่งได้ตั้งแต่ 1 คน ในกรณีนี้ ผู้ประกอบการเรือได้นาเรือมาใช้รับพนักงานนาร่องจากสถานีนาร่องไปยังเรือบรรทุกน้ามัน จึงถือว่า มีผู้โดยสารที่ต้องรับผิดชอบ การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ มีความแตกต่างที่สาคัญบางประการจากการ ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ ดังนี้ 1. โดยทั่วไปการประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศนิยมทาเป็นกรมธรรม์ประกันภัยแบบ รายเที่ยว (Voyage Policy) แต่การประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ ตลาดประกันภัยประเทศ ไทยนิยมทากรมธรรม์ประกันภัยแบบกาหนดเวลา (Time Policy) เช่น กรมธรรม์ประกันภัยรายปี ที่กาหนดอายุของสัญญาประกันภัยไว้เป็นระยะเวลา 1 ปี 2. กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ มุ่งหมายที่จะใช้สาหรับสินค้าที่ขนส่ง ภายในประเทศ จึงอาจมีขอบเขตความคุ้มครองและข้อยกเว้นรวมทั้งเงื่อนไขที่แตกต่างไปทางข้อกาหนด Institute Cargo Clauses ที่ใช้กับกรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ 3. Institute Cargo Clauses นิยมใช้ในการประกันภัยขนส่งสินค้าระหว่างประเทศจัดทาขึ้น เป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น ส่วนกรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศฉบับมาตรฐานที่ได้รับ ความเห็นชอบจากสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) จัดทาขึ้นเป็นภาษาไทยเนื่องจากใช้เฉพาะภายในประเทศ กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศฉบับปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ แบบความคุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด และแบบระบุภัย แต่ละแบบยังแบ่งย่อยออกเป็นกรมธรรม์ ประกันภัยแบบกาหนดเวลา และกรมธรรม์ประกันภัยแบบขนส่งเฉพาะเที่ยว ดังแผนภูมิต่อไปนี้
  • 15. 315 ภาพที่ 10.1 แบบของกรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ ที่มา : สมาคมประกันวินาศภัย, 2554 : 10 ประโยชน์และความสาคัญของการประกันภัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมขนส่งสินค้า หากแบ่งหน้าที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าโดยพิจารณาเฉพาะในแง่ของการบริการ อาจแบ่งเป็นส่วนของผู้ประกอบการหรือเจ้าของธุรกิจขนส่งและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง ซึ่งเป็นฝ่าย ของผู้ให้บริการ ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งของผู้ใช้บริการการประกันภัยในอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้า ทั้งแบบ สมัครใจและภาคบังคับก่อให้เกิดประโยชน์และมีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมการขนส่งสินค้าทั้งในส่วน ของผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการดังนี้ 1. ส่วนของผู้ประกอบการ 1.1 การประกันภัยสร้างความมั่นใจให้กับผู้ประกอบการและเจ้าของธุรกิจในอุตสาหกรรม การขนส่งสินค้าที่จะมั่นใจได้ว่า กิจการและธุรกิจของตนจะสามารถดาเนินต่อไปได้ หากมีความสูญเสียหรือ ความเสียหายเกิดขึ้นกับทรัพย์สินหรือกิจการของตนโดยการที่จะได้รับชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตาม กรมธรรม์ประกันภัยจากผู้รับประกันภัย เมื่อมีการทาประกันภัยไว้อย่างเหมาะสม ตัวอย่าง เจ้าของเรือ บรรทุกสินค้าหากไม่ได้ทาประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร สาหรับเรือของตนไว้เมื่อเกิดอุบัติเหตุเรือ อับปาง หรือเพลิงไหม้ทาให้เรือเสียหายอย่างสินเชิง หากเจ้าของเรือต้องการจะประกอบธุรกิจขนส่งสินค้า กรมธรรม์ประกันภัยแบบ คุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด กาหนดเวลา กรมธรรม์ประกันภัย แบบระบุภัย กาหนดเวลา ขนส่งเฉพาะเที่ยว ขนส่งเฉพาะเที่ยว
  • 16. 316 ต่อไปจะต้องลงทุนซื้อเรือมาทดแทนด้วยเงินของตนเองหรือต้องกเงินจากสถาบันการเงินมาซื้อเรือใหม่ แต่หากมีการประกันภัยตัวเรือไว้ความเสียหายของเจ้าของเรือจะได้รับการเยียวยาโดยการที่ผู้รับ ประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้ตามมูลค่าของเรือที่ได้ทาประกันภัยไว้ทาให้เจ้าของเรือที่ไม่มีทุน พอที่จะซื้อเรือใหม่ ด้วยตัวเองหรือไม่มีหลักทรัพย์พอที่จะกู้ยืมเงินมาซื้อเรือใหม่ สามารถทาธุรกิจต่อไปได้ ด้วยค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับจากผู้รับประกันภัยอันเป็นผลมาจากการที่ได้ทาประกันภัยตัวเรือไว้หากไม่มี การทาประกันภัยผู้ประกอบการายนี้อาจจะต้องปิดกิจการ 1.2 แม้ว่าผู้ประกันภัยจะเรียกค่าตอบแทนจากการตกลงรับประกันภัยที่เรียกว่า เบี้ยประกันภัย (Premium) แต่ผู้ประกอบการและเจ้าของธุรกิจในอุตสาหกรรมขนส่งที่ได้ทาการ ประกันภัยและชาระค่าเบี้ยประกันภัยไปแล้วสามารถนาเบี้ยประกันภัยมาใช้ประโยชน์ทางบัญชีและภาษี เพราะเบี้ยประกันภัยถือเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการบริหารและดาเนินงาน สามารถนาไปใช้ในการลดหย่อน ภาษีเงินได้อีกทอดหนึ่งได้ด้วย 1.3 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างจานวนเงินค่าสินไหมทดแทนที่จะได้รับชดเชยจาก การทาประกันภัยกับจานวนเงินเบี้ยประกันภัยที่ต้องจ่ายจะเห็นได้ว่าการทาประกันภัยเป็นการลงทุน ในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่จะได้รับการตอบแทนอย่างคุ้มค่า เพราะนอกจากจานวนเบี้ยประกันภัย ที่ชาระไปสามารถไปใช้ประโยชน์ทางบัญชีและภาษีได้แล้ว ยังเป็นจานวนเงินที่น้อยกว่าค่าสินไหมทดแทน จะได้รับ สาหรับกรณีของความเสียหายสิ้นเชิง ตัวอย่างเช่น ในการดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับรถบรรทุกเพื่อ ขนส่งสินค้าหากผู้ประกอบการทาประกันภัยรถบรรทุก 1 คัน มีมูลค่า 800,000 บาท ไว้ตามกรมธรรม์ ประกันภัยรถยนต์โดยมีจานวนเงินเอาประกันภัย 800,000 บาท มีความเสียหายส่วนแรกที่ผู้เอา ประกันภัยจะต้องรับผิดชอบเอง (Deductible) 20,000 บาท โดยผู้เอาประกันภัยชาระเบี้ยประกันภัยเพียง 10,000 บาท หากรถยนต์บรรทุกคันนี้ได้รับความเสียหายคิดเป็นค่าซ่อม 400,000 บาท ผู้ประกอบการ จะได้รับการชดใช้จากผู้รับประกันภัยเป็นเงิน 380,000 บาท ซึ่งนับว่าคุ้มกับเบี้ยประกันภัยที่ได้จ่ายไป 1.4 สามารถใช้เป็นหลักประกันในกรณีที่มีกฎหมายบังคับหรือกาหนดเป็นเงื่อนไขของการ ขออนุญาตประกอบการโดยการบังคับให้ประกอบกิจการบางประเภทในอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้า จะต้องมีหลักประกันตามที่หลักกฎหมายกาหนดการประกันภัยเป็นทางเลือกหนึ่งที่ผู้ประกอบการ สามารถนาไปใช้เป็นหลักประกันหากกฎหมายนั้นกาหนดให้สามารถใช้การประกันภัยเป็นหลักประกันได้ เช่น การประกันภัยตาม Article VLL ของอนุสัญญา CLC 1992 หรือการประกันภัยตามความรับผิดของ ผู้ขนส่งต่อเนื่องที่จดทะเบียนตาม พ.ร.บ. การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ.2548 แต่ในกรณีที่ กฎหมายบังคับให้ผู้ประกอบการต้องทาประกันภัยภาคบังคับ (Compulsory insurance) การทา ประกันภัยเป็นการปฏิบัติตามกฎหมายทาให้ไม่ถูกลงโทษ และมีคุณสมบัติทาให้สามารถประกอบการได้
  • 17. 317 ตามกฎหมายการประกันภัยชอบบังคับยังเป็นเครื่องมือและมาตรการของรัฐ ในการคุ้มครองและเยียวยา ความสูญเสียและความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อาจได้รับอันตราย หรือความเสียหายจากการประกอบการบางประเภท เช่น การประกันภัยเรือที่ใช้รับส่งผู้โดยสารตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 73 (พ.ศ.2549) ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช 2456 และการประกันภัยรถยนต์ขนส่งวัตถุอันตราย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การประกันภัยความเสียหายจากการขนส่ง วัตถุอันตราย พ.ศ.2549 เป็นต้น การที่ธุรกิจเลือกใช้วิธีการประกันภัยเป็นหลักประกันยังมีความหมายรวมถึง การเป็น หลักประกันในสินเชื่อ (Credit) ให้แก่ผู้ประกอบการในบางกรณี เช่น หากเจ้าของเรือจะขอกู้ยืมเงินจาก ธนาคารหรือสถาบันการเงินเพื่อนามาซื้อเรือ ธนาคารหรือสถาบันการเงินที่ให้สินเชื่อกู้แก่เจ้าของเรือ นอกจากจะกาหนดให้เจ้าของเรือต้องจานองเรือไว้กับธนาคาร หรือสถาบันการเงินแล้ว ยังนิยมกาหนดให้ เจ้าของเรือทาประกันภัยตัวเรือที่มีการให้สินเชื่อนั้นไว้กับบริษัทประกันภัยโดยระบุธนาคารหรือสถาบัน การเงิน ผู้ให้สินเชื่อเป็นผู้รับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัย เหตุที่นิยมทาเช่นนี้เนื่องจากการทา จานองเรือ ไว้เพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอที่จะทาให้ธนาคารหรือสถาบันการเงินมั่นใจได้ว่าตนจะได้รับ การเยียวยาในกรณีที่เรือเกิดอับปางและเสียหายหรือเรือสูญหายไป เพราะเมื่อเกิดเหตุเช่นนี้จะเท่ากับว่า หลักประกัน คือ เรือที่นามาจานองหมดไป (กรณีสูญหาย) หรือเสื่อมค่าลง (กรณีเสียหาย) ด้วย แต่หากทา ประกันภัยตัวเรือไว้ด้วยโดยกาหนดให้ธนาคารหรือสถาบันการเงิน ผู้เป็นเจ้าหนี้จะเป็นผู้รับประโยชน์ซึ่งมี สิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยตามจานวนหนี้เงินกู้ที่เจ้าของเรือ ค้างชาระอยู่กับ ธนาคาร แม้เรือจะเสียหายทาให้มูลค่าเรือลดน้อยลงหรือสูญหายไป ธนาคารหรือสถาบันการเงินจะได้รับ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยเท่ากับจานวนหนี้ที่เจ้าของเรือค้างชาระทาให้การประกันภัย เป็นหลักประกันในการชาระหนี้นอกเหนือจากการจานองเรือ ส่วนของผู้ใช้บริการ เช่น เจ้าของสินค้าที่จ้างผู้ขนส่งให้ทาการขนส่งสินค้าหรือผู้ที่โดยสาร ไปกับเรือเล็กรับส่งระหว่างเรือกับฝั่งหรือระหว่างสถานีนาร่องกับเรือสินค้า เป็นต้น การประกันภัย ส่วนของผู้ประกอบการขนส่งในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้า ก่อให้เกิดประโยชน์และมีความสาคัญต่อ ผู้ใช้บริการประการสาคัญ คือ ทาให้เกิดความมั่นใจและเป็นหลักประกันแก่ผู้ใช้บริการว่าความเสียหายที่ ผู้ใช้บริการอาจได้รับจากการประกอบการของฝ่ายผู้ให้บริการสามารถได้รับการชดใช้โดยบุคคลอื่น (ผู้รับ ประกันภัย) แม้ว่าผู้ประกอบการเองจะมีทรัพย์สินไม่เพียงพอที่จะชดใช้ความเสียหายนั้นได้ ตัวอย่างเช่น การทาประกันภัยความรับผิดชอบของผู้ขนส่ง (Carrier’s Liability Insurance) กรณีที่ผู้เอาประกันภัยซึ่ง เป็นผู้ประกอบการขนส่งมีทรัพย์สินเพียง 2,000,000 บาท แต่ขนส่ง โดยประมาททาให้สินค้าที่รับขนซึ่งมี มูลค่าประมาณ 5,000,000 บาท รับความเสียหายทั้งหมด หากไม่ได้ทาประกับภัยความรับผิดไว้