SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ต้นทุนผลิตภัณฑ์
วิธีต้นทุนผันแปร
กับ
ต้นทุนผลิตภัณฑ์
วิธีต้นทุนรวม
บทที่
การจัดทํางบการเงิน เพื่อประเมินผลการดําเนินงานของธุรกิจอุตสาหกรรมนั้น
สิ่งหนึ่งที่ต้องดําเนินการคือ การจําแนกต้นทุนและคํานวณมูลค่าของต้นทุนต่างๆ
ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการดําเนินงานภายในองค์กร จากการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด
ต้นทุนเพื่อการจําแนกประเภทต้นทุนในบทที่ 2 นั้น ทําให้ทราบว่าลักษณะ
พื้นฐานของต้นทุนผลิตภัณฑ์ คือ ต้นทุนต่างๆ ที่เป็นส่วนประกอบเกี่ยวกับการ
ผลิต ทําให้ได้สินค้าสําเร็จรูปต่างๆ ตามที่ต้องการ ส่วนต้นทุนงวดเวลาคือต้นทุน
ที่จะต้อง ถูกรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายงบกําไรขาดทุนได้ทันทีภายในงวดเวลาที่มีต้นทุน
นั้นเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม แนวคิดการรับรู้ต้นทุนผลิตภัณฑ์และต้นทุนงวดเวลา
โดยพิจารณาพฤติกรรมต้นทุนประกอบด้วยเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่นํามา
ประยุกต์ใช้เพื่อสนับสนุนการใช้กําไรส่วนเกินเพื่อวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กําไร
จุดประสงค์หลักในการเรียนรู้เกี่ยวกับต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนผันแปร
กับต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนรวม
การวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนผลิตภัณฑ์
วิธีต้นทุนผันแปร และ วิธีต้นทุนรวม
ภาพที่ 4.1 เส้นทางของต้นทุนผลิตภัณฑ์
สรุปการไหลของต้นทุนได้ดังภาพที่ 4.1 ดังนี้
• ระบบต้นทุนผลิตภัณฑ์ที่ได้คํานวณรวมค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
และค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ไว้ในต้นทุนผลิตภัณฑ์ทั้งหมด เรียกว่า
ต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนรวม หรือ วิธีต้นทุนเต็ม
• ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรที่ถูกคํานวณรวมไว้ในบัญชีงานระหว่างทํา
คงเหลือ รวมกับวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรง เรียกว่า
ต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนผันแปร หรือ ต้นทุนทางตรง
ภาพที่ 4.2 เปรียบเทียบต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนรวมกับวิธีต้นทุนผันแปร
ตารางที่ 4.1 การจําแนกต้นทุนผลิตภัณฑ์และต้นทุนงวดเวลา
วิธีต้นทุนรวมและวิธีต้นทุนผันแปร
มูลค่าสินค้าคงเหลือ
• มูลค่าสินค้าคงเหลือวิธีต้นทุนรวม ประกอบด้วยต้นทุน 4 กลุ่มย่อย
ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
และค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
• มูลค่าสินค้าคงเหลือวิธีต้นทุนผันแปร ประกอบด้วยต้นทุน 3 กลุ่ม
ย่อย ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายการ
ผลิตผันแปร
มูลค่าสินค้าสําเร็จรูปคงเหลือที่จะรายงานเป็นสินทรัพย์
ณ วันใดวันหนึ่ง คํานวณหาได้โดย
สินค้าสําเร็จรูปวิธีต้นทุนรวม
= ปริมาณสินค้าคงเหลือ × ต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยวิธีต้นทุนรวม
สินค้าสําเร็จรูปวิธีต้นทุนผันแปร
= ปริมาณสินค้าคงเหลือ × ต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยวิธีต้นทุนผันแปร
บริษัท เอฟ ซีซี จํากัด มีข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนและรายได้ในการ
ดําเนินงานของปี 25x9 ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1
จากข้อมูลข้างต้น คํานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ของแต่ละวิธีการเปรียบเทียบกันได้
ดังนี้
• ต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนรวม จะมีจํานวนสูงกว่าต้นทุน
ผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนผันแปร โดยส่วนที่ทําให้เกิดความแตกต่าง
กัน คือ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
• ความแตกต่างในมูลค่าต้นทุนต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ที่คํานวณใน
แต่ละวิธี จะส่งผลกระทบต่อการแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือใน
งบแสดงฐานะการเงิน
การรายงานต้นทุนผลิตภัณฑ์เป็นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุน
• วิธีต้นทุนผันแปร จะรับรู้ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่เป็นค่าใช้จ่ายตาม
งวดเวลาทั้งจํานวนในงบกําไรขาดทุน
• วิธีต้นทุนรวม จะทยอยรับรู้ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่เป็นค่าใช้จ่าย
ในงบกําไรขาดทุน ตามสัดส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ที่สะสมอยู่
ในสินค้าสําเร็จรูปที่ขายได้ในรอบบัญชีนั้น
ตัวอย่างที่ 2
จากข้อมูลในตัวอย่างที่ 1 นํามาแสดงผลกําไรขาดทุนเมื่อคํานวณ
ต้นทุนผลิตภัณฑ์โดยวิธีต้นทุนผันแปรได้ดังนี้
จากข้อมูลในตัวอย่างที่ 1 นํามาแสดงผลกําไรขาดทุนเมื่อคํานวณ
ต้นทุนผลิตภัณฑ์โดยวิธีต้นทุนผันแปรได้ดังนี้
จากการจัดทํางบกําไรขาดทุนทั้งสองวิธีเปรียบเทียบกันแล้ว
พบว่ากําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานวิธีต้นทุนรวมนั้นสูงกว่าวิธี
ต้นทุนผันแปร 60,000 บาท
งบกําไรขาดทุนวิธีต้นทุนรวม จะรับรู้ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
เป็นค่าใช้จ่ายตามงวดเวลาในงบกําไรขาดทุนตามจํานวนสินค้าที่ขาย
ไปได้ในรอบเวลานั้น
งบกําไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร จะรับรู้ค่าใช้จ่ายการผลิต
เป็นค่าใช้จ่ายตามงวดเวลาทั้งจํานวน
ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันระหว่างปริมาณการผลิต การขาย
และกําไรขาดทุนจากการดําเนินงาน
1. ถ้าปริมาณสินค้าที่ขายมากกว่าปริมาณสินค้าที่ผลิตได้ จะพบว่า
ผลกําไร (ขาดทุน) วิธีต้นทุนผันแปรจะมากกว่ากําไร (ขาดทุน) วิธี
ต้นทุนรวม ด้วยจํานวนของค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ในสินค้าคงเหลือ
ต้นงวด
2. ถ้าปริมาณสินค้าที่ขายน้อยกว่าปริมาณสินค้าที่ผลิตได้ จะพบว่า
ผลกําไร (ขาดทุน) วิธีต้นทุนรวมจะสูงกว่าวิธีต้นทุนผันแปร
3. ถ้าปริมาณสินค้าที่ขายเท่ากับปริมาณสินค้าที่ผลิต จะพบว่า
ผลกําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานที่ได้จากการจัดทํางบกําไร
ขาดทุนของทั้งสองวิธีจะเท่ากัน
ตัวอย่างที่ 3
บริษัทบีเอพี จํากัด มีข้อมูลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นในปี 25x7 , 25x8 และ
25x9 ดังนี้
จากข้อมูลข้างต้น คํานวณหาต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยของแต่ละวิธีได้ดังนี้
เมื่อคํานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยของแต่ละวิธีได้แล้ว สามารถ
นํามาจัดทํางบกําไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปรและวิธีต้นทุนรวมได้ดังนี้
• ปัจจัยสําคัญที่ทําให้ผลกําไรขาดทุนของทั้งสองวิธีมีความ
แตกต่าง คือ ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
• ถ้าต้องการทราบผลต่างระหว่างผลกําไรขาดทุนที่จัดทําขึ้นโดย
งบกําไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร กับงบกําไรขาดทุนวิธีต้นทุน
รวม สามารถคํานวณหาได้ดังนี้
จากสูตรข้างต้น คํานวณหาผลต่างของผลกําไรขาดทุน
ระหว่างการจัดทํางบกําไรขาดทุนทั้ง 2 วิธี ได้ดังนี้
งบกําไรขาดทุนกับการประเมินผลงานของผู้บริหาร
วิธีการประเมินผลงานของผู้บริหาร
- ความสามารถในการทํากําไรของหน่วยงาน
- การเปลี่ยนแปลงของผลกําไรจากงวดเวลาหนึ่งไปยังงวดเวลาต่อไป
- ผลกําไรที่เกิดขึ้นจริงเปรียบเทียบกับผลกําไรตามเป้าหมาย
ความคาดหมายโดยปกติ
1. ยอดขายเพิ่มขึ้นในขณะที่ต้นทุนยังเท่าเดิม กําไรจากการดําเนินควรจะเพิ่มขึ้นด้วย
2. ยอดขายลดลง ในขณะที่ต้นทุนยังเท่าเดิม กําไรจากการดําเนินควรจะลดลงด้วย
3. ยอดขายเท่าเดิมในขณะที่ต้นทุนต่างๆ ยังเท่าเดิม กําไรควรจะเท่าเดิมด้วย
ตัวอย่างที่ 4
ต่อไปนี้เป็นข้อมูลการดําเนินงานของแผนกงานหนึ่งในบริษัทเอบีซี
สําหรับรอบระยะเวลา 2 ปี
จากข้อมูลข้างต้น สามารถนํามาจัดทํางบกําไรขาดทุนของแต่ละวิธีได้ดังนี้
จะเห็นได้ว่า เมื่อยอดขายเพิ่มขึ้นจากหน่วยขายเดิม 5,000 หน่วย
เพิ่มขึ้นเป็น 10,000 หน่วย ต้นทุนต่างๆ และราคาขายนั้นยังคงเดิม
จากผลลัพธ์ข้างต้นผู้บริหารควรจะเลือกใช้งบกําไรขาดทุนที่จัดทํา
ขึ้นภายใต้วิธีต้นทุนผันแปรในการประเมินผลการดําเนินงาน

More Related Content

What's hot

Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003Pa'rig Prig
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)Pa'rig Prig
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนPa'rig Prig
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 

What's hot (20)

Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 

Similar to 04 ma

Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accountingtltutortutor
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis maruay songtanin
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1Aonkung Hawhan
 
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตป๊อ สมชาย ช่างเชื่อม
 
บรรยายต้นทุน
บรรยายต้นทุนบรรยายต้นทุน
บรรยายต้นทุนsurasak
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตMobile_Clinic
 
9789740335580
97897403355809789740335580
9789740335580CUPress
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfpiyapongauekarn
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 

Similar to 04 ma (19)

04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
043
043043
043
 
602
602602
602
 
Managerial Accounting
Managerial AccountingManagerial Accounting
Managerial Accounting
 
Thai budget
Thai budgetThai budget
Thai budget
 
Thai budget
Thai budgetThai budget
Thai budget
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า Value chain analysis
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1
 
บัญชี
บัญชีบัญชี
บัญชี
 
02 abc
02 abc02 abc
02 abc
 
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
ใช้สอนปวส ชฟ. หน่วยที่5 การควบคุมคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต
 
บรรยายต้นทุน
บรรยายต้นทุนบรรยายต้นทุน
บรรยายต้นทุน
 
E R P2 Meaning
E R P2 MeaningE R P2 Meaning
E R P2 Meaning
 
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิตการจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
การจัดการต้รทุน อุตสาหกรรมผลิต
 
9789740335580
97897403355809789740335580
9789740335580
 
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdfการบริหารการผลิตบทที่3.pdf
การบริหารการผลิตบทที่3.pdf
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 

04 ma