SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1 
ใบความรู้ 
หน่วยที่ 2 เรื่องการใช้โปรแกรมกราฟิก 
วิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก ง20205ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
1.การสร้างไฟล์งานใหม่ใน Photoshop CS4 
เริ่มต้นของการใช้งานโปรแกรม Photoshop CS4 นั้น ต้องสร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมาเพื่อการใช้งาน 
ในกรณีที่ไม่ได้เปิดใช้งานจากไฟล์ (PSD)ที่ถูกบันทึกไว้อยู่แล้ว 
เพื่อให้ได้ขนาดและพื้นที่การใช้งานที่เหมาะสมกับงาน 
การสร้างไฟล์ใหม่ใน Photoshop CS4 ทำได้โดยเลือกคำสั่ง File–>New 
1ช่องName คือช่องสำหรับกำหนดชื่อไฟล์ใหม่ ซึ่งไม่ใส่ก็ได้แต่เราจะใส่ชื่อตอน บันทึกเลยทีเดียวก็ได้ 
2.ช่อง Widthคือการกำหนดความกว้างและ Hight 
คือการกำหนดความสูงของชิ้นงานโดยใส่ค่าตัวเลขลงไปและเลือกหน่วยวัด 
3.Resolution คือการกำหนดค่าความละเอียดของภาพ 
4.Color Mode คือการกำหนดโหมดสีของไฟล์ 
5.Background Content คือเลือกลักษณะของพื้นหลังของภาพ 
6. เมื่อตั้งค่าเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่OK 
2.การเปิดไฟล์ 
โปรแกรม Photoshop CS4 สามารถเปิดไฟล์รูปภาพได้หลายรูปแบบเช่น GIF,JPG,TIF,BMP,PNG 
และอื่นๆ รวมถึงไฟล์ PSD การเปิดไฟล์ภาพทำได้ดังนี้
2 
2.1เปิดไฟล์ภาพที่มีอยู่แล้ว 
1. เลือกเมนู File > Open 
2.เลือกโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ จากช่อง Look in 
3.ดูตัวอย่างภาพและคลิกเลือกภาพที่ต้องการ 
4.คลิกปุ่ม Open 
2.2 เปิดไฟล์ Photoshop (PSD) 
ทำเหมือนการเปิดภาพทั่วไปแต่ไม่แสดงภาพให้เห็นในช่องประเภทของไฟล์แต่จะแสดงในช่องด้านล่างแทนเ 
มื่อคลิกเลือกไฟล์
3 
2.3 การเปิดรูปภาพพร้อมกันหลายวินโดว์ 
คุณสามารถเปิดรูปภาพพร้อมกันหลายๆไฟล์ได้ แต่จะทำงานได้เพียงครั้งละ 1 ไฟล์เท่านั้นค่ะ 
ไฟล์ที่เหลือไตเติลบาร์จะเป็นสีเข้ม ในPhotoshop CS4 มีคำสั่งใหม่ให้จัดวินโดว์หลายแบบ 
ทำให้เห็นและเลือกใช้งานได้ง่ายขึ้นทำได้โดยคลิกปุ่ม Arrange Documents 
3.การบันทึกงาน( Save ) 
ในระหว่างการทำงาน หรือหลังจากการทำงานเสร็จสิ้น การบันทึกผลงานหรือการ Save File 
เป็นสิ่งที่ควรทำให้เป็นนิสัยในระหว่างการทำงาน เพื่อให้สามารถนำงานชิ้นนั้นกลับมาทำงานต่อได้อีก 
รวมทั้งเป็นการป้องกันความผิดพลาดบางอย่าง ที่อาจทำให้งานที่ทำอยุ่หายไปเฉยๆ ได้ ( เช่น ไฟฟ้าดับ
4 
หรือระบบ OS ของเครื่องล่ม ) โดยปกติเมื่อเราสั่ง Save งานโปรแกรมจะทำการบันทึกงานที่เราทำอยู่เป็น 
File Format .PSD ( Photoshop Document ) ซึ่งเป็นรูปแบบไฟล์ที่ใช้งานใน Photoshop 
สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูลของงานที่ทำเอาไว้ทุกอย่างโดยไม่มีส่วนใดขาดหายไป 
สำหรับขั้นตอนในการบันทึกข้อมูลจะมีขึ้นตอนดังนี้ 
1. คลิกที่ Menu File > Save หรือ กด Ctrl + S 
2. กำหนดชื่อ และเลือกที่อยู่ปลายทางในการบันทึกข้อมูล 
เหมือนกับการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมอื่นๆ โดยทั่วไป แล้วคลิกที่ Save เพื่อทำการบันทึก 
- Save Option ในขั้นตอนการบันทึกข้อมูลนั้น ในหน้าต่าง Save ( หรือ Save As ) 
ในส่วนด้านล่างจะเป็นส่วนของ Save Option 
ซึ่งจะเป็นส่วนตัวเลือกสำหรับปรับแต่งค่าการบันทึกข้อมูล ซึ่งจะประกอบไปด้วย 
- Save As Copy เป็นการบันทึกงานแบบสำเนาใหม่ออกมาอีกชุดหนึ่งจากงานที่กำลังทำอยู่ 
โดยงานที่กำลังทำอยู่จะไม่ได้โดนบันทึกไปด้วยจนกว่าจะทำการบันทึก ( Save ) ตัวมันเอง
- Alpha Channel เป็นการบันทึกงานแบบกำหนดให้มีการบันทึกค่า Alpha Channel ( พื้นที่โปร่งใส ) 
ลงไปในภาพด้วย หากไม่เลือกตัวเลือกนี้พื้นที่ส่วนค่า Alpha Channel 
ของภาพจะถูกลบทิ้งไปอย่างไรก็ตาม ค่า Alpha Channel นั้นจะมีอยู่ในการบันทึกข้อมูลบางประเภท 
และบางลักษณะการทำงานเท่านั้น 
- Layer เป็นการบันทึกค่าแบบกำหนดให้มีการแยก Layer ของภาพออกจากกัน หากไม่เลือกตัวเลือกนี้ 
Layer ทั้งหมดของภาพจะถูกรวมกันเป็นชิ้นเดียว 
- Annotionเป็นการกำหนดให้มีการบันทึก Note หรือข้อความพิเศษที่เรากำหนดขึ้นลงไปในภาพด้วย 
- Spot Color เป็นการกำหนดให้มีการบันทึก Spot Color ลงไปในภาพด้วย 
- Use Proof Setup เป็นการกำหนดให้มีการบันทึกค่าการปรับแต่งของหน้าจอลงไปในงานด้วย 
- ICC Profile เป็นการกำหนดให้มีการบันทึกภาพขนาดเล็กสำหรับแสดงแทนภาพของจริง 
- Use Low Case Extension เป็นการกำหนดให้ตั้งชื่อนามสกุลของข้อมูลเป็นตัวอักษรตัวเล็ก 
4.การแปลงโหมดสี 
5 
4.1 เปลี่ยนสีของรูปภาพ 
เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาจากนั้นไปที่ Image -->adjustiment --> Variations 
จากนั้นเลือกที่ต้องการ แล้วคลิก ok 
4.2 เน้นสีเฉพาะส่วนที่ต้องการ 
เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาหลังจากนั้นให้ปลดล็อกภาพแล้วไปที่ Image --> Adjustments --> Replace 
Colorหลังจากนั้นเปลี่ยน Fuzziness เป็นค่าสูงสุด คือ 200 ตรง selection กับ image ให้เลือกเป็น 
imageจากนั้นใช้เมาส์คลิกตรงส่วนที่ต้องการในรูปเช่นต้องการเปลี่ยนเสื้อคลุมสีแดง 
เราก็คลิกตรงเสื้อที่มีสีแดงได้เลยจากนั้นให้เปลี่ยนตรงส่วนของ Hue / Saturation / Lightness ตามใจชอบ
6 
ภาพตัวอย่าง 
4.3 เปลี่ยนโทนสีของผม 
เปิดไฟล์ภาพขึ้นมานะคะ หลังจากนั้นเพิ่มเลเยอร์ขึ้นมา 1 
อันโดยคลิกที่กระดาษพับนะแล้วก็เลือกสีที่จะทำเป็นสีผมเลยจากนั้นเลือกบรัชหัวแปรงขนาดฟุ้งประมาณสั 
ก 30 35 40 ป้ายบนเส้นผมแบบนี้
7 
ป้ายลงมาให้ทั่วๆๆ 
แหล่งที่มีผมนะคะ เมื่อได้ครบแล้วล่ะก็หลังจากนั้นมีดูตรงส่วนของเลเยอร์เปลี่ยนโหมดเป็น Soft Light 
และสามารถลดค่า opacity 
ลงได้ถ้าสีมันแรงไปถ้าตรงไหนมันเลอะออกมาล่ะก็ใช้ยางลบหัวฟุ้งขนาดเล็กๆๆทาบริเวณรอบที่มีรอยออกม 
านะคะ 
ภาพตัวอย่าง 
4.4 ทำภาพโลโม่ 
เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาจากนั้นกด Ctrl --> J เป็นก็อบปี้เลเยอร์ จากนั้นเปลี่ยนโหมดเป็น Soft light หรือ 
Hard light ก็ได้แล้วแต่ภาพ
8 
หลังจากนั้นไปที่ Filter --> render --> Lighting Effects 
ตั้งค่าตามทางด้านล่าง ถ้าตรงภาพวงกลมมันเล็กให้ขยายโดยการดึงวงกลมออก 
ภาพตัวอย่าง 
5.การยกเลิกคำสั่งการทำงานในโปรแกรม Photoshop CS4 (การแก้ไขงาน) 
ในการตกแต่งภาพเราจะใช้คำสั่งหลายๆคำสั่งเพื่อจัดการกับภาพนั้นๆแต่ถ้าหากเราไม่พอใจในงานที่ 
สั่งไปแล้วเราสามารถยกเลิกคำสั่งนั้นได้ด้วยการย้อนกลับไปยังคำสั่งก่อนหน้านั้นได้ค่ะซึ่งมีวิธีทำ 2 วิธีคือ 
1.คลิกเมนู Edit > Undoคำสั่งจะถูกย้อนกลับไปทีละขั้นตอนเท่านั้น 
(หากต้องการทำซำในขั้นตอนที่ถูก Edit>Undoไปแล้วกลับมาใหม่ให้คลิก Edit > Redo
9 
2.ย้อนการทำงานด้วยพาเนลHistory 
เลือกเมนู Window > History 
-พาเนลHistory จะเก็บขั้นตอนการทำงานย้อนหลังไว้ 20ขั้นตอน 
และจะเรียงจากบนลงล่างตามการทำงานเริ่มต้นถึงขั้นตอนล่าสุด 
-ย้อนการทำงานโดยคลิกขั้นตอนสุดท้ายที่ต้องการให้แสดงผล 
ขั้นตอนที่ต่อจากขั้นตอนที่ถูกเลือกจะถูกยกเลิกทั้งหมด (กลายเป็นสีเทา) 
6.สมบัติของไฟล์ภาพ 
ระบบไฟล์ที่สามารถใช้งานกับโปรแกรม Photoshop CS4 นั้น 
มีมากมายหลายชนิดและการบันทึกจัดเก็ยก็สามารถจัดเก็บได้หลาย Format เช่นเดียวกัน ดังแสดงในรูป
10 
ระบบการจัดเก็บไฟล์ของ Photoshopหลักๆก็มีอยู่ด้วยกันประมาณ 21 แบบหรือที่เรียกกันว่า 
Format โดยจะใช้อักษรย่อ 3 ตัว เช่น .JPG หรือ .TIF 
ประกอบชื่อไฟล์ภาพเพื่อให้เหมาะสมกับการนำไปใช้งานของแต่ละประเภทที่สำคัญๆแบบหลักๆก็มีดังนี้ คือ 
1) .PSD (Photoshop document) เป็นการจัดเก็บไฟล์พื้นฐานของ Photoshop 
ใช้บันทึกการทำงานไว้เป็นเลเยอร์สามารถแก้ใขดัดแปลงแต่ละเลเยอร์ได้ในภายหน้าและยังคงไว้ซึ่งคุณสมบัติ 
ต่างๆของ Photoshop เอาไว้และไม่มีการสูญเสียข้อมูล (data lost) ของไฟล์ภาพ 
แต่การบันทึกด้วยระบบนี้จะใช้เปิดดูได้เฉพาะ Photoshop เท่านั้น 
2) .JPG (JPEG) Join Photographic Expert 
Groupเป็นการบันทึกภาพแบบบีบอัดให้มีขนาดที่เล็กลงซึ่งการบันทึกแบบนี้จึงเหมาะกับการนำไปใช้บนเว็บ 
หรือการส่งผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การบันทึกแบบนี้มีการสูญเสียข้อมูลบางส่วนไป 
3) .TIFF (Tagged Image 
File)การบันทึกข้อมูลภาพแบบนี้ไม่มีการบีบอัดข้อมูลจึงเหมะกับงานพิมพ์ที่ต้องการความระเอียดสูง 
สามารถเปลี่ยนไปมาระหว่าง PC กับเครื่อง Mac 
ได้ขนาดของภาพค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับการจัดเก็บภาพในรูปแบบอื่น 
4) .PDF (Portable Document Format)ใช้เปิดอ่านได้ด้วยโปรแกรม Acrobat Reader จัดเก็บ 
ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ 
5) .BMP เป็นการจัดเก็บไฟล์พื้นฐานของ ของ Microsoft Window เก็บข้อมูลแบบพิกเซล 
หรือจุดเล็กๆหลายๆ จุดประกอบกัน 
6) .GIFเป็นการจัดเก็บอีกรูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 
7) .RAWเป็นการจัดเก็บไฟล์ของ digital cameras 
และเปิดอ่านด้วยปรแกรมที่มากับบริษัทผู้ผลิตกล้อง PS 
สนับสนุนเฉพาะบาง”ฟล์เท่านั้นไฟล์แบบนี้จะมีขนาดใหญ่จึงเหมาะกับการแก้ใขเปลี่ยนแปลง
11 
8) .PNGเป็นรูปแบบแฟ้มภาพที่พัฒนาขึ้นมาทดแทนรูปแบบแฟ้มแบบ GIF 
ข้อดีคือมีความสูญเสียน้อยมากเมื่อถูกบีบอัด 
และยังมีการบันทึกแบบต่างๆอีกหลานอย่าง เช่น .DCS, .PXC, .PSB, .PCT เป็นต้น 
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพ 
1.การเกิดภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ลักษณะและความหมายของพิกเซล (Pixel) 
พิกเซล (Pixel)มาจากคำว่า Picture กับคำว่า Element เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือ จุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ 
ที่รวมกันทำให้เกิดเป็นภาพขึ้นภาพหนึ่งๆจะประกอบด้วยพิกเซลหรือ จุดมากมายซึ่งแต่ละภาพที่สร้างขึ้น 
จะมีความหนาแน่งของจุด หรือพิกเซลเหล่านั้นแตกต่างกันออกไป 
ความละเอียด (Resolution)เป็นตัวบอกถึงความละเอียดของภาพ โดยมีหน่วยเป็นพีพีไอ ppiย่อมาจาก (Pixels 
Per Inch) คือจำนวนจุดต่อนิ้ว (dpi: คือ dot per inch) ภาพที่มีความละเอียดสูงหรือคุณภาพดี 
ควรจะมีค่าความละเอียด 300*300 ppiขึ้นไป ค่า ppiสูงภาพจะมีความละเอียดคงชัดขึ้น 
การแสดงผลของอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices)ตัวอย่างเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) แบบดอตแมทริกช์ 
(Dot-matrix) หรือเลเซอร์ (Laser) รวมทั้งจอภาพ จะเป็นการแสดงผลแบบ Raster Devices คือ 
อาศัยการวมกันของพิกเซลออกมาเป็นรูป 
2.การประมวลภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก 
วิธีการประมวลผลภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกมี 2 แบบ คือ 
2.1.การประมวลผลแบบ Raster 
การประมวลผลแบบ Raster หรือ แบบมิตแมป (Bitmap) หรือเรียกว่าเป็นภาพแบบ Resolution 
Dependent ลักษณะสำคัญของภาพประเภทนี้ ประกอบขึ้นด้วยจุดสีต่างๆที่มีจำนวนคงที่ตายตัว 
ตามการสร้างภาพที่มีความละเอียดต่างกันไป ภาพแบบบิตแมปนี้ มีข้อดี คือ 
เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี หรือกำหนดสีที่ต้องละเอียดและสวยงามได้ง่าย ข้อจำกัดคือ 
เมื่อมีพิกเซลจำนวนคงที่ นำภาพมาขยายให้ใหญ๋ขึ้น ความละเอียดจะลดลง มองเห็นภาพเป็นแบบจุด 
และถ้าเพิ่มความละเอียดให้แก่ภาพ จะทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่ และเปลืองเนื้อที่หน่วยความจำมาก 
ในระบบวินโดวส์ (Windows) ไฟล์ของรูปภาพประเภทนี้ คือ พวกที่มีส่วนขยายหรือ นามสกุล 
(Extension) เป็น .BMP , .PCX, .TIF, .JPG, .MSP, .PCD, .PCT โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ 
โปรแกรมประเภทระบายภาพ (Painting Program) เช่น Paintbrush, Photoshop,Photostylerเป็นต้น
2.2. การประมวลผลแบบ Vector 
การประมวลผลแบบ Vector เป็นภาพแบบเวกเตอร์ หรือ Object-Oriented Graphics หรือเรียกว่า 
เป็นรูปภาพ Resolution-Independent 
เป็นภาพที่มีลักษณะของการสร้างจากคอมพิวเตอร์ที่มีการสร้างให้แต่ละส่วนของภาพเป็นอิสระต่อกัน 
โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรงรูปทรงหรือส่วนโค้ง 
โดยอ้างอิงตามความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคำนวณซึ่งมีทิศทางการลากเส้นไปในแนวต่างๆ 
จึงเรียกประเภท Vector Graphic หรือ Object Oriented ภาพเวกเตอร์นี้มีข้อดีคือ สามารถเปลี่ยนแปลงขนาด 
โดยมีความละเอียดของภาพไม่ลดลง 
ภาพสามารถเปลี่ยนแปลงหรือย้ายได้และมีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าพวกบิทแมป 
12

More Related Content

What's hot

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์Yui Janjira Ketsakorn
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกschool
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3Inam Chatsanova
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007chanoncm2555
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์Preepram Laedvilai
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8duangnapa27
 

What's hot (18)

ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
เอกสารประกอบการเรียน6
เอกสารประกอบการเรียน6เอกสารประกอบการเรียน6
เอกสารประกอบการเรียน6
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์
 
captivate-flash-courseware
captivate-flash-coursewarecaptivate-flash-courseware
captivate-flash-courseware
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
ระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8
 

Similar to ใบความรู้ 2

คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นBeerza Kub
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2suphinya44
 
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกหน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกBee Saruta
 
Type of graphic
Type of graphicType of graphic
Type of graphicschool
 
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoese-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoesBoonlert Aroonpiboon
 
Multi photoshop 01
Multi photoshop 01Multi photoshop 01
Multi photoshop 01shompu
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
Photoshop cs2
Photoshop  cs2Photoshop  cs2
Photoshop cs2krujew
 
20121203-bookexpert
20121203-bookexpert20121203-bookexpert
20121203-bookexpertSo Pias
 

Similar to ใบความรู้ 2 (20)

คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกหน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
 
Xn view
Xn viewXn view
Xn view
 
คู่มือFlashcs3
คู่มือFlashcs3คู่มือFlashcs3
คู่มือFlashcs3
 
Type of graphic
Type of graphicType of graphic
Type of graphic
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
20080620 E Publishing
20080620 E Publishing20080620 E Publishing
20080620 E Publishing
 
e-Publishing
e-Publishinge-Publishing
e-Publishing
 
20080306 Web Graphics
20080306 Web Graphics20080306 Web Graphics
20080306 Web Graphics
 
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoese-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
 
Multi photoshop 01
Multi photoshop 01Multi photoshop 01
Multi photoshop 01
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Photoshop cs2
Photoshop  cs2Photoshop  cs2
Photoshop cs2
 
Flash9
Flash9Flash9
Flash9
 
20121203-bookexpert
20121203-bookexpert20121203-bookexpert
20121203-bookexpert
 

More from Bee Saruta

หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.Bee Saruta
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นBee Saruta
 
หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2Bee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerBee Saruta
 
หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1Bee Saruta
 
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์Bee Saruta
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1Bee Saruta
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกBee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1Bee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2Bee Saruta
 

More from Bee Saruta (13)

หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
 
หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2
 
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
 
หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1
 
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์
 
Unit2 2
Unit2 2Unit2 2
Unit2 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2
 

ใบความรู้ 2

  • 1. 1 ใบความรู้ หน่วยที่ 2 เรื่องการใช้โปรแกรมกราฟิก วิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก ง20205ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1.การสร้างไฟล์งานใหม่ใน Photoshop CS4 เริ่มต้นของการใช้งานโปรแกรม Photoshop CS4 นั้น ต้องสร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมาเพื่อการใช้งาน ในกรณีที่ไม่ได้เปิดใช้งานจากไฟล์ (PSD)ที่ถูกบันทึกไว้อยู่แล้ว เพื่อให้ได้ขนาดและพื้นที่การใช้งานที่เหมาะสมกับงาน การสร้างไฟล์ใหม่ใน Photoshop CS4 ทำได้โดยเลือกคำสั่ง File–>New 1ช่องName คือช่องสำหรับกำหนดชื่อไฟล์ใหม่ ซึ่งไม่ใส่ก็ได้แต่เราจะใส่ชื่อตอน บันทึกเลยทีเดียวก็ได้ 2.ช่อง Widthคือการกำหนดความกว้างและ Hight คือการกำหนดความสูงของชิ้นงานโดยใส่ค่าตัวเลขลงไปและเลือกหน่วยวัด 3.Resolution คือการกำหนดค่าความละเอียดของภาพ 4.Color Mode คือการกำหนดโหมดสีของไฟล์ 5.Background Content คือเลือกลักษณะของพื้นหลังของภาพ 6. เมื่อตั้งค่าเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่OK 2.การเปิดไฟล์ โปรแกรม Photoshop CS4 สามารถเปิดไฟล์รูปภาพได้หลายรูปแบบเช่น GIF,JPG,TIF,BMP,PNG และอื่นๆ รวมถึงไฟล์ PSD การเปิดไฟล์ภาพทำได้ดังนี้
  • 2. 2 2.1เปิดไฟล์ภาพที่มีอยู่แล้ว 1. เลือกเมนู File > Open 2.เลือกโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ จากช่อง Look in 3.ดูตัวอย่างภาพและคลิกเลือกภาพที่ต้องการ 4.คลิกปุ่ม Open 2.2 เปิดไฟล์ Photoshop (PSD) ทำเหมือนการเปิดภาพทั่วไปแต่ไม่แสดงภาพให้เห็นในช่องประเภทของไฟล์แต่จะแสดงในช่องด้านล่างแทนเ มื่อคลิกเลือกไฟล์
  • 3. 3 2.3 การเปิดรูปภาพพร้อมกันหลายวินโดว์ คุณสามารถเปิดรูปภาพพร้อมกันหลายๆไฟล์ได้ แต่จะทำงานได้เพียงครั้งละ 1 ไฟล์เท่านั้นค่ะ ไฟล์ที่เหลือไตเติลบาร์จะเป็นสีเข้ม ในPhotoshop CS4 มีคำสั่งใหม่ให้จัดวินโดว์หลายแบบ ทำให้เห็นและเลือกใช้งานได้ง่ายขึ้นทำได้โดยคลิกปุ่ม Arrange Documents 3.การบันทึกงาน( Save ) ในระหว่างการทำงาน หรือหลังจากการทำงานเสร็จสิ้น การบันทึกผลงานหรือการ Save File เป็นสิ่งที่ควรทำให้เป็นนิสัยในระหว่างการทำงาน เพื่อให้สามารถนำงานชิ้นนั้นกลับมาทำงานต่อได้อีก รวมทั้งเป็นการป้องกันความผิดพลาดบางอย่าง ที่อาจทำให้งานที่ทำอยุ่หายไปเฉยๆ ได้ ( เช่น ไฟฟ้าดับ
  • 4. 4 หรือระบบ OS ของเครื่องล่ม ) โดยปกติเมื่อเราสั่ง Save งานโปรแกรมจะทำการบันทึกงานที่เราทำอยู่เป็น File Format .PSD ( Photoshop Document ) ซึ่งเป็นรูปแบบไฟล์ที่ใช้งานใน Photoshop สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูลของงานที่ทำเอาไว้ทุกอย่างโดยไม่มีส่วนใดขาดหายไป สำหรับขั้นตอนในการบันทึกข้อมูลจะมีขึ้นตอนดังนี้ 1. คลิกที่ Menu File > Save หรือ กด Ctrl + S 2. กำหนดชื่อ และเลือกที่อยู่ปลายทางในการบันทึกข้อมูล เหมือนกับการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมอื่นๆ โดยทั่วไป แล้วคลิกที่ Save เพื่อทำการบันทึก - Save Option ในขั้นตอนการบันทึกข้อมูลนั้น ในหน้าต่าง Save ( หรือ Save As ) ในส่วนด้านล่างจะเป็นส่วนของ Save Option ซึ่งจะเป็นส่วนตัวเลือกสำหรับปรับแต่งค่าการบันทึกข้อมูล ซึ่งจะประกอบไปด้วย - Save As Copy เป็นการบันทึกงานแบบสำเนาใหม่ออกมาอีกชุดหนึ่งจากงานที่กำลังทำอยู่ โดยงานที่กำลังทำอยู่จะไม่ได้โดนบันทึกไปด้วยจนกว่าจะทำการบันทึก ( Save ) ตัวมันเอง
  • 5. - Alpha Channel เป็นการบันทึกงานแบบกำหนดให้มีการบันทึกค่า Alpha Channel ( พื้นที่โปร่งใส ) ลงไปในภาพด้วย หากไม่เลือกตัวเลือกนี้พื้นที่ส่วนค่า Alpha Channel ของภาพจะถูกลบทิ้งไปอย่างไรก็ตาม ค่า Alpha Channel นั้นจะมีอยู่ในการบันทึกข้อมูลบางประเภท และบางลักษณะการทำงานเท่านั้น - Layer เป็นการบันทึกค่าแบบกำหนดให้มีการแยก Layer ของภาพออกจากกัน หากไม่เลือกตัวเลือกนี้ Layer ทั้งหมดของภาพจะถูกรวมกันเป็นชิ้นเดียว - Annotionเป็นการกำหนดให้มีการบันทึก Note หรือข้อความพิเศษที่เรากำหนดขึ้นลงไปในภาพด้วย - Spot Color เป็นการกำหนดให้มีการบันทึก Spot Color ลงไปในภาพด้วย - Use Proof Setup เป็นการกำหนดให้มีการบันทึกค่าการปรับแต่งของหน้าจอลงไปในงานด้วย - ICC Profile เป็นการกำหนดให้มีการบันทึกภาพขนาดเล็กสำหรับแสดงแทนภาพของจริง - Use Low Case Extension เป็นการกำหนดให้ตั้งชื่อนามสกุลของข้อมูลเป็นตัวอักษรตัวเล็ก 4.การแปลงโหมดสี 5 4.1 เปลี่ยนสีของรูปภาพ เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาจากนั้นไปที่ Image -->adjustiment --> Variations จากนั้นเลือกที่ต้องการ แล้วคลิก ok 4.2 เน้นสีเฉพาะส่วนที่ต้องการ เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาหลังจากนั้นให้ปลดล็อกภาพแล้วไปที่ Image --> Adjustments --> Replace Colorหลังจากนั้นเปลี่ยน Fuzziness เป็นค่าสูงสุด คือ 200 ตรง selection กับ image ให้เลือกเป็น imageจากนั้นใช้เมาส์คลิกตรงส่วนที่ต้องการในรูปเช่นต้องการเปลี่ยนเสื้อคลุมสีแดง เราก็คลิกตรงเสื้อที่มีสีแดงได้เลยจากนั้นให้เปลี่ยนตรงส่วนของ Hue / Saturation / Lightness ตามใจชอบ
  • 6. 6 ภาพตัวอย่าง 4.3 เปลี่ยนโทนสีของผม เปิดไฟล์ภาพขึ้นมานะคะ หลังจากนั้นเพิ่มเลเยอร์ขึ้นมา 1 อันโดยคลิกที่กระดาษพับนะแล้วก็เลือกสีที่จะทำเป็นสีผมเลยจากนั้นเลือกบรัชหัวแปรงขนาดฟุ้งประมาณสั ก 30 35 40 ป้ายบนเส้นผมแบบนี้
  • 7. 7 ป้ายลงมาให้ทั่วๆๆ แหล่งที่มีผมนะคะ เมื่อได้ครบแล้วล่ะก็หลังจากนั้นมีดูตรงส่วนของเลเยอร์เปลี่ยนโหมดเป็น Soft Light และสามารถลดค่า opacity ลงได้ถ้าสีมันแรงไปถ้าตรงไหนมันเลอะออกมาล่ะก็ใช้ยางลบหัวฟุ้งขนาดเล็กๆๆทาบริเวณรอบที่มีรอยออกม านะคะ ภาพตัวอย่าง 4.4 ทำภาพโลโม่ เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาจากนั้นกด Ctrl --> J เป็นก็อบปี้เลเยอร์ จากนั้นเปลี่ยนโหมดเป็น Soft light หรือ Hard light ก็ได้แล้วแต่ภาพ
  • 8. 8 หลังจากนั้นไปที่ Filter --> render --> Lighting Effects ตั้งค่าตามทางด้านล่าง ถ้าตรงภาพวงกลมมันเล็กให้ขยายโดยการดึงวงกลมออก ภาพตัวอย่าง 5.การยกเลิกคำสั่งการทำงานในโปรแกรม Photoshop CS4 (การแก้ไขงาน) ในการตกแต่งภาพเราจะใช้คำสั่งหลายๆคำสั่งเพื่อจัดการกับภาพนั้นๆแต่ถ้าหากเราไม่พอใจในงานที่ สั่งไปแล้วเราสามารถยกเลิกคำสั่งนั้นได้ด้วยการย้อนกลับไปยังคำสั่งก่อนหน้านั้นได้ค่ะซึ่งมีวิธีทำ 2 วิธีคือ 1.คลิกเมนู Edit > Undoคำสั่งจะถูกย้อนกลับไปทีละขั้นตอนเท่านั้น (หากต้องการทำซำในขั้นตอนที่ถูก Edit>Undoไปแล้วกลับมาใหม่ให้คลิก Edit > Redo
  • 9. 9 2.ย้อนการทำงานด้วยพาเนลHistory เลือกเมนู Window > History -พาเนลHistory จะเก็บขั้นตอนการทำงานย้อนหลังไว้ 20ขั้นตอน และจะเรียงจากบนลงล่างตามการทำงานเริ่มต้นถึงขั้นตอนล่าสุด -ย้อนการทำงานโดยคลิกขั้นตอนสุดท้ายที่ต้องการให้แสดงผล ขั้นตอนที่ต่อจากขั้นตอนที่ถูกเลือกจะถูกยกเลิกทั้งหมด (กลายเป็นสีเทา) 6.สมบัติของไฟล์ภาพ ระบบไฟล์ที่สามารถใช้งานกับโปรแกรม Photoshop CS4 นั้น มีมากมายหลายชนิดและการบันทึกจัดเก็ยก็สามารถจัดเก็บได้หลาย Format เช่นเดียวกัน ดังแสดงในรูป
  • 10. 10 ระบบการจัดเก็บไฟล์ของ Photoshopหลักๆก็มีอยู่ด้วยกันประมาณ 21 แบบหรือที่เรียกกันว่า Format โดยจะใช้อักษรย่อ 3 ตัว เช่น .JPG หรือ .TIF ประกอบชื่อไฟล์ภาพเพื่อให้เหมาะสมกับการนำไปใช้งานของแต่ละประเภทที่สำคัญๆแบบหลักๆก็มีดังนี้ คือ 1) .PSD (Photoshop document) เป็นการจัดเก็บไฟล์พื้นฐานของ Photoshop ใช้บันทึกการทำงานไว้เป็นเลเยอร์สามารถแก้ใขดัดแปลงแต่ละเลเยอร์ได้ในภายหน้าและยังคงไว้ซึ่งคุณสมบัติ ต่างๆของ Photoshop เอาไว้และไม่มีการสูญเสียข้อมูล (data lost) ของไฟล์ภาพ แต่การบันทึกด้วยระบบนี้จะใช้เปิดดูได้เฉพาะ Photoshop เท่านั้น 2) .JPG (JPEG) Join Photographic Expert Groupเป็นการบันทึกภาพแบบบีบอัดให้มีขนาดที่เล็กลงซึ่งการบันทึกแบบนี้จึงเหมาะกับการนำไปใช้บนเว็บ หรือการส่งผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การบันทึกแบบนี้มีการสูญเสียข้อมูลบางส่วนไป 3) .TIFF (Tagged Image File)การบันทึกข้อมูลภาพแบบนี้ไม่มีการบีบอัดข้อมูลจึงเหมะกับงานพิมพ์ที่ต้องการความระเอียดสูง สามารถเปลี่ยนไปมาระหว่าง PC กับเครื่อง Mac ได้ขนาดของภาพค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับการจัดเก็บภาพในรูปแบบอื่น 4) .PDF (Portable Document Format)ใช้เปิดอ่านได้ด้วยโปรแกรม Acrobat Reader จัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ 5) .BMP เป็นการจัดเก็บไฟล์พื้นฐานของ ของ Microsoft Window เก็บข้อมูลแบบพิกเซล หรือจุดเล็กๆหลายๆ จุดประกอบกัน 6) .GIFเป็นการจัดเก็บอีกรูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 7) .RAWเป็นการจัดเก็บไฟล์ของ digital cameras และเปิดอ่านด้วยปรแกรมที่มากับบริษัทผู้ผลิตกล้อง PS สนับสนุนเฉพาะบาง”ฟล์เท่านั้นไฟล์แบบนี้จะมีขนาดใหญ่จึงเหมาะกับการแก้ใขเปลี่ยนแปลง
  • 11. 11 8) .PNGเป็นรูปแบบแฟ้มภาพที่พัฒนาขึ้นมาทดแทนรูปแบบแฟ้มแบบ GIF ข้อดีคือมีความสูญเสียน้อยมากเมื่อถูกบีบอัด และยังมีการบันทึกแบบต่างๆอีกหลานอย่าง เช่น .DCS, .PXC, .PSB, .PCT เป็นต้น ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพ 1.การเกิดภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ลักษณะและความหมายของพิกเซล (Pixel) พิกเซล (Pixel)มาจากคำว่า Picture กับคำว่า Element เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือ จุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่รวมกันทำให้เกิดเป็นภาพขึ้นภาพหนึ่งๆจะประกอบด้วยพิกเซลหรือ จุดมากมายซึ่งแต่ละภาพที่สร้างขึ้น จะมีความหนาแน่งของจุด หรือพิกเซลเหล่านั้นแตกต่างกันออกไป ความละเอียด (Resolution)เป็นตัวบอกถึงความละเอียดของภาพ โดยมีหน่วยเป็นพีพีไอ ppiย่อมาจาก (Pixels Per Inch) คือจำนวนจุดต่อนิ้ว (dpi: คือ dot per inch) ภาพที่มีความละเอียดสูงหรือคุณภาพดี ควรจะมีค่าความละเอียด 300*300 ppiขึ้นไป ค่า ppiสูงภาพจะมีความละเอียดคงชัดขึ้น การแสดงผลของอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices)ตัวอย่างเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) แบบดอตแมทริกช์ (Dot-matrix) หรือเลเซอร์ (Laser) รวมทั้งจอภาพ จะเป็นการแสดงผลแบบ Raster Devices คือ อาศัยการวมกันของพิกเซลออกมาเป็นรูป 2.การประมวลภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก วิธีการประมวลผลภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกมี 2 แบบ คือ 2.1.การประมวลผลแบบ Raster การประมวลผลแบบ Raster หรือ แบบมิตแมป (Bitmap) หรือเรียกว่าเป็นภาพแบบ Resolution Dependent ลักษณะสำคัญของภาพประเภทนี้ ประกอบขึ้นด้วยจุดสีต่างๆที่มีจำนวนคงที่ตายตัว ตามการสร้างภาพที่มีความละเอียดต่างกันไป ภาพแบบบิตแมปนี้ มีข้อดี คือ เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี หรือกำหนดสีที่ต้องละเอียดและสวยงามได้ง่าย ข้อจำกัดคือ เมื่อมีพิกเซลจำนวนคงที่ นำภาพมาขยายให้ใหญ๋ขึ้น ความละเอียดจะลดลง มองเห็นภาพเป็นแบบจุด และถ้าเพิ่มความละเอียดให้แก่ภาพ จะทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่ และเปลืองเนื้อที่หน่วยความจำมาก ในระบบวินโดวส์ (Windows) ไฟล์ของรูปภาพประเภทนี้ คือ พวกที่มีส่วนขยายหรือ นามสกุล (Extension) เป็น .BMP , .PCX, .TIF, .JPG, .MSP, .PCD, .PCT โปรแกรมที่ใช้สร้างคือ โปรแกรมประเภทระบายภาพ (Painting Program) เช่น Paintbrush, Photoshop,Photostylerเป็นต้น
  • 12. 2.2. การประมวลผลแบบ Vector การประมวลผลแบบ Vector เป็นภาพแบบเวกเตอร์ หรือ Object-Oriented Graphics หรือเรียกว่า เป็นรูปภาพ Resolution-Independent เป็นภาพที่มีลักษณะของการสร้างจากคอมพิวเตอร์ที่มีการสร้างให้แต่ละส่วนของภาพเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรงรูปทรงหรือส่วนโค้ง โดยอ้างอิงตามความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคำนวณซึ่งมีทิศทางการลากเส้นไปในแนวต่างๆ จึงเรียกประเภท Vector Graphic หรือ Object Oriented ภาพเวกเตอร์นี้มีข้อดีคือ สามารถเปลี่ยนแปลงขนาด โดยมีความละเอียดของภาพไม่ลดลง ภาพสามารถเปลี่ยนแปลงหรือย้ายได้และมีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าพวกบิทแมป 12