SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1 
ใบความรู้ 
หน่วยที่ 3 เรื่องการใช้นวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 
วิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก ง20205 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2 
1. การกำหนดภาพให้พอดีกับหน้าจอ 
1.1 การแสดงภาพแบบ 100 เปอร์เซ็นต์ 
1. ให้ดับเบิ้ลคลิกเม้าส์ที่เครื่องมือ Zoom ใน Tool box 
2. หรือ คลิกที่เมนู View > Actual Pixels 
3. หรือพิมพ์ค่า 100 ลงไปในช่องเปอร์เซ็นต์ที่แถบสถานะ (Status Bar )แล้วกด Enter 
1.2 การใช้งาน Navigator Panel ผู้ใช้งานสามารถใช้พาเนล Navigator 
เพื่อเปลี่ยนการวิวหรือมองดูงานอาร์ตเวิร์กได้ตามต้องการ 
1. กำหนดให้แสดงพาเนล Navigator ให้คลิกที่เมนู Window > Navigator 
2. หรือคลิกปุ่ม... บนพาเนลก็ได้ 
3. ปุ่มเมนูพาเนล เพื่อเลือกรายการเมนู 
4. ส่วนแสดงภาพชิ้นงาน 
5. หน้าต่างพรีวิวแสดงกรอบพื้นที่ที่แสดงภาพ สามารถใช้เม้าส์ลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ 
6. ช่องแสดงเปอร์เซ็นต์ในการซูม 
7. ปุ่มซูมภาพออกมา 
8. สไลเดอร์ เพื่อซูมเข้าออก 
9. คลิกเมื่อต้องการซูมเข้าไปในภาพ
2 
1.3 การเพิ่มขอบเขตของภาพ (Canvas Size) 
Canvas Size เป็นปรับขนาดพื้นที่ของขอบภาพให้กว้างขึ้น หนาขึ้น ทำได้โดยเลือกคำสั่ง 
Image–>Canvas Size 
1.การกำหนดขอบเขตใหม่ของภาพ 
-สามารถปรับขอบเขตของภาพให้กว้างขึ้นได้โดย ใส่ตัวเลขบอกขนาดขอบเขตที่ต้องการ ในช่อง Width 
-สามารถปรับขอบเขตของภาพให้สูงขึ้นได้โดย ใส่ตัวเลขบอกขนาดขอบเขตที่ต้องการ ในช่อง Height
3 
2.เลือกทิศทางของการปรับขอบเขตของภาพ (Anchor) 
3.เลือกสีพื้นหลังสำหรับขอบเขตที่เพิ่มขึ้นมา 
2.การใช้ไม้บรรทัด 
การเรียกใช้ไม้บรรทัด 
ทำให้เราสามารถกำหนดตำแหน่งในการวาดหรือวางวัตถุต่างๆได้แม่นยำขึ้นและช่วย 
ในการสร้างเส้นไกด์ได้อีกด้วย คุณสามารถแสดงไม้บรรทัดได้โดย 
1.คลิกเลือกเมนู View–>Rulers 
2.แถบไม้บรรทัดจะแสดงขึ้นมา 
3.เปลี่ยนหน่วยวัดโดยการคลิกขวาที่ไม้บรรทัด แล้วเลือกหน่วยวัดจากเมนู
4 
3.การใช้เส้นกริดและเส้นไกด์ 
3.1 การใช้งานเส้นกริด(Grid) 
เส้นกริด (Grid) 
เป็นตารางสมมติที่ใช้กะระยะในการทำงานกับรูปภาพโดยมีลักษณะเป็นเส้นสีเทาที่มีระยะห่างของแต่ละช่อง 
เท่าๆกัน ทำได้โดย เลือกเมนู View > Show > Grid 
3.2 การใช้งานเส้นไกด์(Guides)
5 
ไกด์ (Guides) เป็นเส้นสมมุติที่เราสร้างขึ้นเพื่อวางแนวของวัตถุให้ตรงกัน 
โดยเราสามารถแสดงเส้นไกด์ได้โดย 
1.แดรกเมาส์จากไม้บรรทัดมาวางในตำแหน่งที่ต้องการ 
2.ปรับเปลี่ยนตำแหน่งของเส้นไกด์โดยใช้เครื่องมือ Selection Tool เพื่อเลื่อนตำแหน่ง 
3.ในกรณีที่ต้องการล็อคเส้นไกด์ ให้คลิกเมนู View–>Lock Guides 
4.หากต้องการเปลี่ยนสีเส้นไกด์เพื่อสะดวกในการใช้งานในกรณีสีพื้นเหมือนกันกับเส้นไกด์ 
ทำได้โดยคลิกเมนู Edit > Preferences > Guides&Grid 
4.การย้ายพื้นที่ (Move Tool) 
1. เปิดไฟล์รูปขึ้นมา 2 ไฟล์ โดยไปที่ File > Open
6 
2. กด Ctrl ค้าง และคลิกภาพที่ต้องการ 2 ภาพ จากนั้นคลิก Open 
3. จะได้หน้าต่างรูปภาพที่ซ้อนกัน ให้แยกเป็นหน้าต่างอิสระ โดยคลิกขวากที่แถบชื่อรูปภาพ เลือก Move 
to New Window 
4. เลือกเครื่องมือ (Move tool) > คลิกค้างภาพที่ต้องการ > ลากมาพื้นที่ที่ต้องการ > ปล่อยเม้าส์ 
5.การตัด สำเนา และวางภาพ 
5.1 การตัดและวางภาพ 
1. เปิดไฟล์ภาพขึ้นมา 2 ไฟล์ โดยไปที่ File > Open > เลือกภาพ > คลิกที่ Open
7 
2. เลือก (Marquee Tool) ที่ Tool Box > คลิกซ้ายค้างแล้วลากบนบริเวณที่ต้องการตัด 
3. เลือก Edit > Cut เพื่อตัดภาพ 
4. คลิกพื้นที่ที่ต้องการวางภาพ > เลือก Edit > Paste จะได้ภาพที่ตัดออกมา วางในพื้นที่ใหม่ 
5.2 การสำเนาและวางภาพ 
1. 1. เปิดไฟล์ภาพขึ้นมา 2 ไฟล์ โดยไปที่ File > Open > เลือกภาพ > คลิกที่ Open
8 
2. เลือก (Marquee Tool ) ที่ Tool Box > คลิกซ้ายค้างแล้วลากบนบริเวณที่ต้องการคัดลอก 
3. เลือก Edit > Copy เพื่อคัดลอกภาพ 
4. คลิกพื้นที่ที่ต้องการวางภาพ > เลือก Edit > Paste 
5.ใช้เครื่องมือ Move Tool ในการเคลื่อนย้ายภาพที่คัดลอกแล้ว ไปในพื้นที่ที่ต้องการ 
6. การเปลี่ยนแปลงภาพในลักษณะต่างๆ 
6.1 การปรับเปลี่ยนพื้นที่เลือกด้วย Transform ในรูปแบบต่าง ๆ 
สามารถปรับพื้นที่ที่เลือกในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยวิธีการ ดังนี้ คือ 
1. คลิกเมนู Edit --> Transform --> … ปรากฏรูปแบบต่าง ๆ โดยแต่ละรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้ 
- Again กลับสู่รูปแบบเดิมก่อนหน้านี้ 1 ขั้น 
- Scale ขยายแบบ Scale ตามแนวตั้งแนวนอน และแนวทแยง 
- Rotale หมุนพื้นที่ที่เลือก
9 
- Skew บิดเกลียวพื้นที่เลือก 
- Distort การบิดเบือนให้ภาพเพี้ยนจากความจริง 
- Perspective ปรับรูปแบบของภาพ/ตัวอักษร แบบมีมิติ แบบมีความกว้าง มีความยาว และ 
มีความลึก 
- Rotate 180 องศา หมุน 180 องศา 
- Rotate 90 องศา CW หมุน 90 องศา ตามเข็มนาฬิกา 
- Rotate 180 องศา CCW หมุน 180 องศา ทวนเข็มนาฬิกา 
- Flip Horizontal กลับจากซ้ายเป็นขวา จากขวาเป็นซ้าย 
- Flip Vertical กลับจากบนเป็นล่าง จากล่างเป็นบน 
2. เปิดรูปภาพบนหน้าจอภาพ 
3. คลิกปุ่ม 1 เลือกรูปภาพเฉพาะส่วนที่ต้องการเลือกให้มีเส้นประ 
4. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Scale จะปรากฏ Scale ปรับขยายตามแนวตั้งแนวนอน และ แนวทแยง 
5. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate หมุนพื้นที่เลือก 
6. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Skew บิดเกลียวพื้นที่เลือก 
7. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Distort การบิดเบือนพื้นที่เลือก ทำให้ผิดเพี้ยน จากความจริง 
8. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Perspective ปรับรูปแบบของภาพ/ตัวอักษร แบบมีมิติ แบบมีความกว้าง 
มีความยาว และมีความลึก 
9. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate 180 ํ หมุน 180 ํ 
10. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate 90 ํ CW หมุน 90 ํ ตามเข็มนาฬิกา
10 
11. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate 90 ํ CCW หมุน 90 ํ ทวนเข็มนาฬิกา 
12. คลิกเมนู Edit --> Transform -->Flip Horizontal กลับจากซ้ายเป็นขวา เหมือนส่องกระจกเงา 
13. คลิกเมนู Edit --> Transform -->Flip Vertical กลับจากบนเป็นล่าง จากล่างเป็นบน 
7.การย่อ – ขยาย หมุนภาพและบิดภาพแบบต่างๆ 
7.1 การย่อ-ขยายภาพด้วยคำสั่ง Free Transform มีขั้นตอนดังนี้ 
1. เปิดรูปภาพ chicken.jpg บนจอภาพ 
2. คลิกเมนู Select --> All (Ctrl+A) จะปรากฏเส้นประวิ่งล้อมรอบภาพทั้งหมด 
3. คลิกเมนู Edit --> Free Transform (Ctrl+T) 
4. ปรากฏเส้นประวิ่งมีจุด Handle สี่เหลียมโปร่ง 
5. เลื่อนเมาส์วางจุด Handle ด้านล่างขวา ให้มีลูกศร 2 หัว 
6. คลิกค้างไว้ลากทแยงขึ้นด้านซ้าย จะย่อขนาดรูปภาพ 
7. ปรับรูปภาพตำแหน่งต่าง ๆ ที่ต้องการ เช่น ตัวชี้เมาส์เปลี่ยนเป็นรูป 
คลิกเมาส์และลากหมุนปรับพื้นที่ที่เลือก 
8. กดแป้น Enter เพื่อยกเลิกการใช้ Free Transform
11 
7.2 การปรับขนาดรูปภาพ (Image Size) 
การปรับขนาดของภาพสามารถทำได้ทั้งให้ใหญ่ขึ้นและเล็กลง แต่ 
มักไม่นิยมทำกันเพราะไม่ได้ทำให้คุณภาพของภาพสูงขึ้นแต่อย่างใด 
ภาพที่ปรับให้ใหญ่ขึ้นความคมชัดจะลดลงไปมาก ตามกำลังขยายที่ปรับตั้ง 
แต่สำหรับการปรับภาพให้เล็กลงนั้น ภาพจะสูญเสียรายละเอียดไปบ้าง 
เนื่องจากภาพมีขนาดเล็กนั่นเอง และจะได้ไฟล์ที่มีขนาดเล็กลงไปด้วย 
การปรับขนาดภาพใน Photoshop CS4 ทำได้โดย เลือกคำสั่ง Image–>Image Size 
1 Pixel dimensions บอกขนาดของภาพเป็นพิกเซล และขนาดความกว้างและความสูงของภาพ 
- สามารถปรับขนาดความสูง ได็โดยใส่ตัวเลขในช่อง Height 
-และปรับความกว้างใหม่โดยใส่ตัวเลขในช่อง Width
12 
2 รูปแบบการย่อ-ขยาย 
Constrain Proportions เมื่อถูกเลือกแล้ว ขนาดของภาพที่เปลี่ยนไปจะมีสัดส่วนเช่นเดียวกับภาพต้นฉบับ 
Resample Image นั้น ถ้าไม่ถูกคลิ๊กเราจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลง ภาพต้นฉบับได้เลย

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มWilasineejib
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพNimanong Nim
 
การทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filterการทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filterwattikorn_080
 
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 20151.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015วิชา อาคม
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2Banyapon Poolsawas
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพNimanong Nim
 

What's hot (20)

Pwp data4.3-4.4
Pwp data4.3-4.4Pwp data4.3-4.4
Pwp data4.3-4.4
 
Solid object
Solid objectSolid object
Solid object
 
Slide sketchup
Slide sketchupSlide sketchup
Slide sketchup
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Crop Tool photoshop cs5
 Crop Tool photoshop cs5 Crop Tool photoshop cs5
Crop Tool photoshop cs5
 
GIMP
GIMPGIMP
GIMP
 
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
 
วิชากราฟิก
วิชากราฟิกวิชากราฟิก
วิชากราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
 
การทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filterการทำภาพโดยใช้ Filter
การทำภาพโดยใช้ Filter
 
Namo webeditor 6
Namo webeditor 6Namo webeditor 6
Namo webeditor 6
 
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 20151.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตแต่งภาพ
 
Animation flash
Animation flashAnimation flash
Animation flash
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 5
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 

Similar to ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์

เทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆ
เทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆเทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆ
เทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆchaiwat vichianchai
 
เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้weena22
 
ArtCAM Pro - Spun
ArtCAM Pro - SpunArtCAM Pro - Spun
ArtCAM Pro - SpunPanmaneeCNC
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 
ใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่น
ใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่นใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่น
ใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่นNimanong Nim
 
นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดีนางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดีPatipan Beer
 
ใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจาย
ใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจายใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจาย
ใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจายSuda Sangtong
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshopjompon
 
ใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filter
ใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filterใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filter
ใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filterPop Thakonwan
 
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)kroojirat
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cssamnaknit
 

Similar to ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์ (20)

เทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆ
เทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆเทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆ
เทคนิคการทำฟองอากาศเก๋ ๆ
 
เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้
 
ArtCAM Pro - Spun
ArtCAM Pro - SpunArtCAM Pro - Spun
ArtCAM Pro - Spun
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
Pwp data4.1-4.2
Pwp data4.1-4.2Pwp data4.1-4.2
Pwp data4.1-4.2
 
Pwp data4
Pwp data4Pwp data4
Pwp data4
 
ใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่น
ใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่นใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่น
ใบความรู้ที่ 9 ลูกเล่น
 
Arc view userguide
Arc view userguideArc view userguide
Arc view userguide
 
Arc view userguide
Arc view userguideArc view userguide
Arc view userguide
 
Toolbargis
ToolbargisToolbargis
Toolbargis
 
นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดีนางสาวถนอมช์วรรณข์  เพชรดี
นางสาวถนอมช์วรรณข์ เพชรดี
 
ใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจาย
ใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจายใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจาย
ใบงานที่ 32 เทคนิคการทําภาพขอบจุดกระจาย
 
3.2
3.23.2
3.2
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
ใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filter
ใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filterใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filter
ใบความรู้หน่วยที่7การใช้ filter
 
Acd see 6.0
Acd see 6.0Acd see 6.0
Acd see 6.0
 
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)ใบความรู้ที่  5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
ใบความรู้ที่ 5 การตกแต่งภาพให้มีสีสันสวยงาม (ต่อ)
 
Photoshop ict
Photoshop ictPhotoshop ict
Photoshop ict
 
คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5คูมือการใช้ Captivate 5
คูมือการใช้ Captivate 5
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 

More from Bee Saruta

หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.Bee Saruta
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นBee Saruta
 
หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2Bee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerBee Saruta
 
หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1Bee Saruta
 
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกหน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกBee Saruta
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้  2ใบความรู้  2
ใบความรู้ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Bee Saruta
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1Bee Saruta
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกBee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1Bee Saruta
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2Bee Saruta
 

More from Bee Saruta (14)

หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.หน่วยที่ 5.
หน่วยที่ 5.
 
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้นใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
ใบความรู้หย่วยที่5การตกแต่งสีพื้น
 
หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2หน่วยที่ 4.2
หน่วยที่ 4.2
 
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayerใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
ใบความรู้หน่วยที่4 selectionlayer
 
หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1หน่วยที่ 3 1
หน่วยที่ 3 1
 
Unit2 2
Unit2 2Unit2 2
Unit2 2
 
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิกหน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
หน่วยที่ 2 การใช้งานโปรแกรมกราฟิก
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้  2ใบความรู้  2
ใบความรู้ 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
ใบความรู้หน่วยที่ 2
ใบความรู้หน่วยที่  2ใบความรู้หน่วยที่  2
ใบความรู้หน่วยที่ 2
 

ใบความรู้ หน่วยที่3สมบูรณ์

  • 1. 1 ใบความรู้ หน่วยที่ 3 เรื่องการใช้นวัตกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก ง20205 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2 1. การกำหนดภาพให้พอดีกับหน้าจอ 1.1 การแสดงภาพแบบ 100 เปอร์เซ็นต์ 1. ให้ดับเบิ้ลคลิกเม้าส์ที่เครื่องมือ Zoom ใน Tool box 2. หรือ คลิกที่เมนู View > Actual Pixels 3. หรือพิมพ์ค่า 100 ลงไปในช่องเปอร์เซ็นต์ที่แถบสถานะ (Status Bar )แล้วกด Enter 1.2 การใช้งาน Navigator Panel ผู้ใช้งานสามารถใช้พาเนล Navigator เพื่อเปลี่ยนการวิวหรือมองดูงานอาร์ตเวิร์กได้ตามต้องการ 1. กำหนดให้แสดงพาเนล Navigator ให้คลิกที่เมนู Window > Navigator 2. หรือคลิกปุ่ม... บนพาเนลก็ได้ 3. ปุ่มเมนูพาเนล เพื่อเลือกรายการเมนู 4. ส่วนแสดงภาพชิ้นงาน 5. หน้าต่างพรีวิวแสดงกรอบพื้นที่ที่แสดงภาพ สามารถใช้เม้าส์ลากไปยังตำแหน่งที่ต้องการ 6. ช่องแสดงเปอร์เซ็นต์ในการซูม 7. ปุ่มซูมภาพออกมา 8. สไลเดอร์ เพื่อซูมเข้าออก 9. คลิกเมื่อต้องการซูมเข้าไปในภาพ
  • 2. 2 1.3 การเพิ่มขอบเขตของภาพ (Canvas Size) Canvas Size เป็นปรับขนาดพื้นที่ของขอบภาพให้กว้างขึ้น หนาขึ้น ทำได้โดยเลือกคำสั่ง Image–>Canvas Size 1.การกำหนดขอบเขตใหม่ของภาพ -สามารถปรับขอบเขตของภาพให้กว้างขึ้นได้โดย ใส่ตัวเลขบอกขนาดขอบเขตที่ต้องการ ในช่อง Width -สามารถปรับขอบเขตของภาพให้สูงขึ้นได้โดย ใส่ตัวเลขบอกขนาดขอบเขตที่ต้องการ ในช่อง Height
  • 3. 3 2.เลือกทิศทางของการปรับขอบเขตของภาพ (Anchor) 3.เลือกสีพื้นหลังสำหรับขอบเขตที่เพิ่มขึ้นมา 2.การใช้ไม้บรรทัด การเรียกใช้ไม้บรรทัด ทำให้เราสามารถกำหนดตำแหน่งในการวาดหรือวางวัตถุต่างๆได้แม่นยำขึ้นและช่วย ในการสร้างเส้นไกด์ได้อีกด้วย คุณสามารถแสดงไม้บรรทัดได้โดย 1.คลิกเลือกเมนู View–>Rulers 2.แถบไม้บรรทัดจะแสดงขึ้นมา 3.เปลี่ยนหน่วยวัดโดยการคลิกขวาที่ไม้บรรทัด แล้วเลือกหน่วยวัดจากเมนู
  • 4. 4 3.การใช้เส้นกริดและเส้นไกด์ 3.1 การใช้งานเส้นกริด(Grid) เส้นกริด (Grid) เป็นตารางสมมติที่ใช้กะระยะในการทำงานกับรูปภาพโดยมีลักษณะเป็นเส้นสีเทาที่มีระยะห่างของแต่ละช่อง เท่าๆกัน ทำได้โดย เลือกเมนู View > Show > Grid 3.2 การใช้งานเส้นไกด์(Guides)
  • 5. 5 ไกด์ (Guides) เป็นเส้นสมมุติที่เราสร้างขึ้นเพื่อวางแนวของวัตถุให้ตรงกัน โดยเราสามารถแสดงเส้นไกด์ได้โดย 1.แดรกเมาส์จากไม้บรรทัดมาวางในตำแหน่งที่ต้องการ 2.ปรับเปลี่ยนตำแหน่งของเส้นไกด์โดยใช้เครื่องมือ Selection Tool เพื่อเลื่อนตำแหน่ง 3.ในกรณีที่ต้องการล็อคเส้นไกด์ ให้คลิกเมนู View–>Lock Guides 4.หากต้องการเปลี่ยนสีเส้นไกด์เพื่อสะดวกในการใช้งานในกรณีสีพื้นเหมือนกันกับเส้นไกด์ ทำได้โดยคลิกเมนู Edit > Preferences > Guides&Grid 4.การย้ายพื้นที่ (Move Tool) 1. เปิดไฟล์รูปขึ้นมา 2 ไฟล์ โดยไปที่ File > Open
  • 6. 6 2. กด Ctrl ค้าง และคลิกภาพที่ต้องการ 2 ภาพ จากนั้นคลิก Open 3. จะได้หน้าต่างรูปภาพที่ซ้อนกัน ให้แยกเป็นหน้าต่างอิสระ โดยคลิกขวากที่แถบชื่อรูปภาพ เลือก Move to New Window 4. เลือกเครื่องมือ (Move tool) > คลิกค้างภาพที่ต้องการ > ลากมาพื้นที่ที่ต้องการ > ปล่อยเม้าส์ 5.การตัด สำเนา และวางภาพ 5.1 การตัดและวางภาพ 1. เปิดไฟล์ภาพขึ้นมา 2 ไฟล์ โดยไปที่ File > Open > เลือกภาพ > คลิกที่ Open
  • 7. 7 2. เลือก (Marquee Tool) ที่ Tool Box > คลิกซ้ายค้างแล้วลากบนบริเวณที่ต้องการตัด 3. เลือก Edit > Cut เพื่อตัดภาพ 4. คลิกพื้นที่ที่ต้องการวางภาพ > เลือก Edit > Paste จะได้ภาพที่ตัดออกมา วางในพื้นที่ใหม่ 5.2 การสำเนาและวางภาพ 1. 1. เปิดไฟล์ภาพขึ้นมา 2 ไฟล์ โดยไปที่ File > Open > เลือกภาพ > คลิกที่ Open
  • 8. 8 2. เลือก (Marquee Tool ) ที่ Tool Box > คลิกซ้ายค้างแล้วลากบนบริเวณที่ต้องการคัดลอก 3. เลือก Edit > Copy เพื่อคัดลอกภาพ 4. คลิกพื้นที่ที่ต้องการวางภาพ > เลือก Edit > Paste 5.ใช้เครื่องมือ Move Tool ในการเคลื่อนย้ายภาพที่คัดลอกแล้ว ไปในพื้นที่ที่ต้องการ 6. การเปลี่ยนแปลงภาพในลักษณะต่างๆ 6.1 การปรับเปลี่ยนพื้นที่เลือกด้วย Transform ในรูปแบบต่าง ๆ สามารถปรับพื้นที่ที่เลือกในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยวิธีการ ดังนี้ คือ 1. คลิกเมนู Edit --> Transform --> … ปรากฏรูปแบบต่าง ๆ โดยแต่ละรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้ - Again กลับสู่รูปแบบเดิมก่อนหน้านี้ 1 ขั้น - Scale ขยายแบบ Scale ตามแนวตั้งแนวนอน และแนวทแยง - Rotale หมุนพื้นที่ที่เลือก
  • 9. 9 - Skew บิดเกลียวพื้นที่เลือก - Distort การบิดเบือนให้ภาพเพี้ยนจากความจริง - Perspective ปรับรูปแบบของภาพ/ตัวอักษร แบบมีมิติ แบบมีความกว้าง มีความยาว และ มีความลึก - Rotate 180 องศา หมุน 180 องศา - Rotate 90 องศา CW หมุน 90 องศา ตามเข็มนาฬิกา - Rotate 180 องศา CCW หมุน 180 องศา ทวนเข็มนาฬิกา - Flip Horizontal กลับจากซ้ายเป็นขวา จากขวาเป็นซ้าย - Flip Vertical กลับจากบนเป็นล่าง จากล่างเป็นบน 2. เปิดรูปภาพบนหน้าจอภาพ 3. คลิกปุ่ม 1 เลือกรูปภาพเฉพาะส่วนที่ต้องการเลือกให้มีเส้นประ 4. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Scale จะปรากฏ Scale ปรับขยายตามแนวตั้งแนวนอน และ แนวทแยง 5. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate หมุนพื้นที่เลือก 6. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Skew บิดเกลียวพื้นที่เลือก 7. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Distort การบิดเบือนพื้นที่เลือก ทำให้ผิดเพี้ยน จากความจริง 8. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Perspective ปรับรูปแบบของภาพ/ตัวอักษร แบบมีมิติ แบบมีความกว้าง มีความยาว และมีความลึก 9. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate 180 ํ หมุน 180 ํ 10. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate 90 ํ CW หมุน 90 ํ ตามเข็มนาฬิกา
  • 10. 10 11. คลิกเมนู Edit --> Transform --> Rotate 90 ํ CCW หมุน 90 ํ ทวนเข็มนาฬิกา 12. คลิกเมนู Edit --> Transform -->Flip Horizontal กลับจากซ้ายเป็นขวา เหมือนส่องกระจกเงา 13. คลิกเมนู Edit --> Transform -->Flip Vertical กลับจากบนเป็นล่าง จากล่างเป็นบน 7.การย่อ – ขยาย หมุนภาพและบิดภาพแบบต่างๆ 7.1 การย่อ-ขยายภาพด้วยคำสั่ง Free Transform มีขั้นตอนดังนี้ 1. เปิดรูปภาพ chicken.jpg บนจอภาพ 2. คลิกเมนู Select --> All (Ctrl+A) จะปรากฏเส้นประวิ่งล้อมรอบภาพทั้งหมด 3. คลิกเมนู Edit --> Free Transform (Ctrl+T) 4. ปรากฏเส้นประวิ่งมีจุด Handle สี่เหลียมโปร่ง 5. เลื่อนเมาส์วางจุด Handle ด้านล่างขวา ให้มีลูกศร 2 หัว 6. คลิกค้างไว้ลากทแยงขึ้นด้านซ้าย จะย่อขนาดรูปภาพ 7. ปรับรูปภาพตำแหน่งต่าง ๆ ที่ต้องการ เช่น ตัวชี้เมาส์เปลี่ยนเป็นรูป คลิกเมาส์และลากหมุนปรับพื้นที่ที่เลือก 8. กดแป้น Enter เพื่อยกเลิกการใช้ Free Transform
  • 11. 11 7.2 การปรับขนาดรูปภาพ (Image Size) การปรับขนาดของภาพสามารถทำได้ทั้งให้ใหญ่ขึ้นและเล็กลง แต่ มักไม่นิยมทำกันเพราะไม่ได้ทำให้คุณภาพของภาพสูงขึ้นแต่อย่างใด ภาพที่ปรับให้ใหญ่ขึ้นความคมชัดจะลดลงไปมาก ตามกำลังขยายที่ปรับตั้ง แต่สำหรับการปรับภาพให้เล็กลงนั้น ภาพจะสูญเสียรายละเอียดไปบ้าง เนื่องจากภาพมีขนาดเล็กนั่นเอง และจะได้ไฟล์ที่มีขนาดเล็กลงไปด้วย การปรับขนาดภาพใน Photoshop CS4 ทำได้โดย เลือกคำสั่ง Image–>Image Size 1 Pixel dimensions บอกขนาดของภาพเป็นพิกเซล และขนาดความกว้างและความสูงของภาพ - สามารถปรับขนาดความสูง ได็โดยใส่ตัวเลขในช่อง Height -และปรับความกว้างใหม่โดยใส่ตัวเลขในช่อง Width
  • 12. 12 2 รูปแบบการย่อ-ขยาย Constrain Proportions เมื่อถูกเลือกแล้ว ขนาดของภาพที่เปลี่ยนไปจะมีสัดส่วนเช่นเดียวกับภาพต้นฉบับ Resample Image นั้น ถ้าไม่ถูกคลิ๊กเราจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลง ภาพต้นฉบับได้เลย