SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
นาย อรรถพงษ์บุญมหา 62123322073
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสินค้าต่อ
ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้แก่ ปัจจัยทางด้น
ประชากรศาสตร์ ปัจจัยทางด้านทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์ การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการและความ
เกี่ยวพันของผู้บริโภค โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริโภคที่ใช้หรือเคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุง
ผิวหน้าโอเลย์ จานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้
วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน คือ การ
วิเคราะห์ความแตกต่างโดยการหาดที และความแปรปรวนทางเดียวการเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่
โดยวิธีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญน้อยที่สุด
ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนที่มีแสงแดดสม่าเสมอตลอดทั้งปี ทาให้ได้รับอิทธิพลจากรังสี UV ที่เป็น
อันตรายต่อผิวหนัง ซึ่งจะทาให้ผิวแดงไหม้ คล้า แห้งกร้าน เหี่ยวย่น เป็นฝ้ าตกกระ แก่ก่อนวัย และอาจก่อให้เกิด
มะเร็งผิวหนังได้ในระยะยาว ผู้หญิงกับการดูแลตัวเองถือเป็นเรื่องที่สาคัญมากทาให้ผู้หญิงทั้งหลายให้ความสาคัญ
อย่างมากในการดูแลผิวและการแต่งหน้า บริษัทเครื่องสาอางต่างๆ ได้ทาการผลิตสินค้าออกจาหน่ายซึ่งมี
หลากหลายตรายี่ห้อในตลาด ดังนั้นในการดาเนินธุรกิจจาหน่ายเครื่องสาอาง บริษัทผลิตเครื่องสาอางต่าง ๆจะต้อง
คิดดันผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้นมา และปรับกลยุทธ์ทางการตลาดให้สามารถตอบสนองตามความต้องการผู้บริโภคได้
ทั้งในด้นความสามารถในการซื้อหา สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และอาจต้องใช้กลยุทธ์ทางด้านราคา
เพื่อรักษาหอช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดไว้ "โอเลย์"ในปัจจุบันได้กลายมาเป็นผู้นาตลาดผลิตภัณฑ์บารุงผิวหนแทน
"พอนด์ส" ของยูนิลีเวอร์ ด้วยส่วนแบ่งตลาดรวมกว่า 34% จากตลาดรวมมูลค่า 6,400 ล้านบาท กว่าจะแย่งส่วน
แบ่งการตลาด
▪ 1. เพื่อศึกษาถึงลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้สถานภาพสมรส ที่มีผลต่อความภักดีต่อตรา
สินค้าครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิง
▪ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์กับความภักดีต่อตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุง
ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ 3. เพื่อศึกษาการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของ
ผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ 4. เพื่อศึกษาความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อสินค้าที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ข
องผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ 5. เพื่อศึกษาความมพันธ์ระหว่างทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดกับความภักดีต่อตราสิค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุง
ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ 6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความภักดีต่อตราสินค้ากับแนวโนมพฤติกรรมการซื้อครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ในอนคต
ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องของประชากรศาสตร์ ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีขอศิริวรรณเสรีรัตน์; และ คนอื่น ๆ
ได้กล่าวว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์ (Demographic) ประกอบด้วย อายุ เพศ ขนาดครอบครัว
สถานภาพครอบครัว รายได้ อาชีพ การศึกษา เหล่นี้เป็นเกณฑ์ที่นิยมใช้ในการแบ่งส่วนตลาด
▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องของทัศนคติ ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของ Sharon; & Saul กล่าวว ทัศนคติ
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบด้าน ความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบด้านอารมณ์
ความรู้สึก หมายถึง ความรู้สึกในทางบวก หรือลบ หรือทั้งบวกและลบต่อเป้ าหมาย องค์ประกอบด้าน
พฤติกรรม
▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องของการสื่สารการตลาดแบบบูรณาการ ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของธีรพันธ์ โล่
ทองคา การสื่สารการตลาดแบบครบวงจร เป็นการวางแผนภายใต้แนวความคิดเดียว โดยใช้การสื่อสาร
หลายๆ รูปแบบเพื่อให้บรรลุแผนดังกล่าว
▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องความเกี่ยวพันของผู้บริโภค ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของBowen; & Chaffee [5]
ให้คานิยามว่า ความเกี่ยวพันกับสินค คือผลประโยชน์หรือผลตอบแทนของสินค้าใดสินค้าหนึ่งที่มีต่อตัว
ผู้บริโภคโดยตรงเกิดขึ้นจากคุณสมบัติสินค้านั้น ๆ
▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องส่วนประสมทางการตลาด ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของ MoCathy; & Pereault
ให้คานิยามว่า ความเกี่ยวข้องกันของ 4 ส่วนคือ ผลิตภัณฑ์โครงสร้างราคา ระบบการจัดจาหน่าย และ
กิจกรรมส่งเสริมการตลาด
▪ 1. ผู้บริโภคที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้สถานภาพสมรส แตกต่งกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มี
ต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน
▪ 2. ทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์มีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอ
เลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขต
▪ 3. การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลของผู้บริโภคเพศหญิง
ในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน
▪ 4. ความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้ที่มีต่อผลิภัณฑ์คบารุงผิวหน้าโอ
เลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน
▪ 5. ทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางกรตลาดมีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภค
เพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ 6. ความภักดีต่อตราสินมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคตของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช่ใการวิจัย ได้แก่ ประชากรเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานครที่มี
อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้บริโภคที่ใช้หรือเคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ เนื่องจากผู้บริโภค
ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปเป็นกลุ่มที่สามารถตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางได้เองซึ่งไม่ทราบจานวน
ประชากรที่แน่นอน
▪ 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างสาหรับการวิจัย คือ ประชากรเพศหญิงในเขต
กรุงเทพมหานครที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้บริโภคทีใช้หรือเคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้า
โอเลย์ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่สามารถตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางได้เองซึ่งไม่ทราบจานวนประชากรที่
แน่นอนได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงกาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรคานวณแบบไม่ทราบจานวนประชากรของ
กัลยา วานิชย์บัญชา [9 ที่มีระดับความเชื่อมัน 95% ได้ขนาดตัวอย่าง 385 คน และเพิ่มจานวนตัวอย่าง
4% เท่ากับ 15 คน รวมขนาดตัวอย่างทั้งหมดเท่ากับ
ขั้นที่ 1 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) โดยวิธีการจับฉลากเพื่อคัดเลือก
เขตในกรุงเทพมหานคร จานวน 8 เขต จากเขตทั้งหมด 50 เขต ได้แก่ เขตปทุมวันเขตวัฒนา เขตยานนาวา
เขตธนบุรี เขตภาษีเจริญ เขตบางกอกใหญ่ เขตรังสิต เขตสาทร
ขั้นที่ 2 ใช้วิธีการกาหนดโควตา (Quota sampling) โดยการกาหนดจานวนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละเขตได้
เขตละ 50คน
▪ ขั้นที่ 3 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยเลือกกลุ่มเป้ าหมายในย่านศูนย์การค้า
บริเวณที่มีคนสัญจรไปมา หรือมหาวิทยาลัย ในแต่ละเขตที่สุ่มได้ โดยแจกแบบสอบถามกับผู้ที่ใช้หรือเคยใช้
ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์ โดยก่อนให้ทาการกรอกแบบสอบถาม ต้องทาการสอบถามว่าเคยใช้ผลิตภัณฑ์
ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์หรือไม่ ถ้าเคยใช้จึงเลือกเป็นกลุ่มป้ ายหมาย แล้วให้กรอกแบบสอบถาม จนครบจานวน
ตัวอย่างแต่ละเขต ได้เลือกสถานที่ดังนี้ เขตปทุมวัน - สยามสแควร์, เขตวัฒนา - มศว, เขตยานนาวา -เซ็นทรัล
พระราม 3 ธนบุรี - เดอะมอลล์ ท่าพระ, เขตภาษีเจริญ - โรบินสัน บางแด 5,เขตบางกอกใหญ่ - โลตัส เอ็กซเพรส
สาขา จรัญ 13, เขตรังสิต - ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต, เขตสาธร-ย่านคนทางานถนนสีลม เหตุที่เลือกสถานที่ดังกล่าว
เนื่องจากเป็นสถานที่ใจกลางเมืองในแต่ละเขตทาให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายได้ครอบคลุมมากขึ้น
▪ ขั้นที่ 4 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก
ตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะประชากศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 5 ข้อ ได้แก่อายุ ระดับการศึกษา
อาชีพ สถานภาพสมรส และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด
ตอนที่ 2 ข้อมูด้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคซึ่งแบ่งเป็น ต้านความคิดเห็น3 ข้อ และด้าน
ความรู้สึก 3 ข้อ ด้านความรู้ความเข้าใจ เป็นลักษณะคาถามแบบ Semantic Differential Scale มีระดับ
การวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval scale) มีคะแนน 5 ระดับ
ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านการสื่สารการตลาดแบบบูรณาการ จานวน 4 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด
ใช้ระดับกรวัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ (Nominal scale)
ตอนที่ 4 ข้อมูด้านความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน 4 ข้อ มี
ลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด ใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ(Nominal scale)
ตอนที่ 5 ข้อมูลด้านทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน
19 ข้อ มีลักษณะคาถามปลายปิด แบบ Likert scale ซึ่งแบ่งระดับความติดเห็นของผู้บริโภค 5 ระดับ
จัดเป็นการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชัน(Interval scale)
ตอนที่ 6 ข้อมูลด้านความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน 15 ข้อมี
ลักษณะคาถามปลายปิด แบบ Likert scale ซึ่งแบ่งระดับความคิดเห็นของผู้บริโภค 5 ระดับ จัดเป็ นการวัด
ข้อมูลประเภทอันตรภาคชัน(Interval scale)
ตอนที่ 7 ข้อมูลด้านแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคตผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน 2 ข้อ
เป็นลักษณะคาถามแบบ Semantic differential scale มีระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น
(Interval scale) มีคะแนน 5 ระดับ
4.1 การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่
4.1. การแจกแจงความถี่แสดงผลเป็นร้อยละในตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะประชากศาสตร์ตอนที่ 3 ข้อมูลด้าน
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ และตอนที่ 4 ข้อมูลด้านความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์
4.1.2 การแค่เฉลี่ยและตาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในตอนที่ 2 ข้อมูลด้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของ
ผู้บริโภค ตอนที่ 5 ข้อมูลด้านทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ ตอนที่ 6 ข้อมูลด้าน
ความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ และตอนที่ 7 ข้อมูลด้านแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคต
▪ 4.2 การวิเคราะห์โดยใช้สถิติอนุมาน (Inferential statistics) ได้แก่
4.2.1 การทดสอบสมมดิฐาน ข้อ 1 ด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้สถานภาพสมรส แตกต่างกันมีความ
ภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน
สมมติฐานข้อ 3 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุง
ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน และสมมติฐานข้อ 4 ความเกี่ยวพัน
4.2.2 การทดสบสมมติฐานข้อ 2 ทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์มีความสัมพันธ์กับความภักดี
ต่อตราสิค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร สมมติฐานข้อ 5
ทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอ
เลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร และสมมติฐานข้อ 6 ความภักดีต่อตราสินค้ามีความสัมพันธ์กับแนว
โน้การซื้อในอนาคตของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
▪ การศึกษาปัจจัยที่มรผลต่อการตัดสินใจซื้อครีมบารุงผิวโอเลย์ ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขต กรุงเทพมหานคร ผล
การสรุปได้ดังนี้
▪ 1. ด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนและสถานภาพ
สมรส พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 23 - 27 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.75มีระดับการศึกษา
ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 70.5 ประกอบอาชีพรับจ้าง / พนักงานบริษัท คิดเป็นร้อยละ 35.5 รายได้เฉลี่ย
ต่อเดือน 5,000 - 9,999 บาท คิดเป็นร้อยละ 32.75 และมีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 68.5
2. ผู้บริโภคมีทัศนคติต่อปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์โดยรวม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.49โดยผู้บริโภคมีทัศนคติ
ต่อด้านคิดเห็น และต้นความรู้สึก อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.52 และ 3.44
3. ด้านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ผู้บริโภคทราบข้อมูลเกี่ยวกับครีมบารุงผิวหนโอเลย์จากสือ
โทรทัศน์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 58 ในช่วงที่มีการส่งเสริมการขายผู้บริโภคซื้อสินคเท่าเดิ คิดเป็นร้อยละ
53.75 ก่อนการซื้อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้ายี่ห้อโอเลย์ผู้บริโภคพอดวามรู้บ้าง คิดเป็นร้อยละ 74 และ
การส่งเสริมการขายที่ผู้บริโภคสนใจมากที่สุดคือ การลดราคา คิดเป็นร้อยละ 31.5
4. ต้านความเกี่ยวพันต่อผลิตภัณฑ์ ผู้บริโภคเริ่มใช้ผลิตภัณฑ์บารุงผิวเพราะอยากลองคิดเป็นร้อยละ 34
เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์เพราะคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ 43.5ใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการบารุง
ผิวเพื่อลดจุดด่างคา แผลจากสิว คิดเป็นร้อยละ 34.75 โดยรวมใน
▪ 5. ผู้บริโภคมีทัศนคติต่อส่วนประสมทางการตลาดโดยรวม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.92โดยผู้บริโภค
ทัศนคติต่อส่วนประสมทางการตลาดทางด้านผลิตภัณฑ์ ต้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย และต้าน
การส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับดี มีตาเฉลี่ย 3.89, 3:83, 4.03 และ3.96 ตามลาดับ
6. ผู้บริโภคมีความภักดีต่อตราสินโดยรวม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.73 โดยผู้บริโภคมีความภักดีต่อตรา
สินค้าทางด้านความพึงพอใจ ด้านชอบ และด้านความผูกพัน อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.79, 3.66 และ
3.73 ตามลาดับ
7. ต้านแนวโนมพฤติกรมการซื้อในอนาคต ผู้บริโภคมีแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคตในภาพรวมอ
ในระดับซื้อ มีดเฉลี่ย 3.55 และความเป็นไปได้ที่จะซื้อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้ายี่ห้อโอเลย์ซ้ามากขึ้นอยู่
ในระดับไม่แน่ใจ มีดาเฉลี่ย 3.40
▪ 1. ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรสแตกต่างกันมีความภักดีต่อ
ตราสิค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน
▪ 1.1 อายุ พบว่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มอายุ ไม่แตกต่างกัน จากค่า LSDเท่ากับ 1.239 และ F-Probabilty
เท่ากับ 0.053 หมายความว่า อายุแตกต่างกันมีความภักดีต่อครีบารุงผิวหนโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขต
กรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
▪ 1.2 ระดับการศึกษา พบว่าความแปรปรวนของแต่ละระดับการศึกษาแตกต่างกันจากค่ LSD เท่กับ 4.289 และต่าง
Brown-Forsythe เท่ากับ 3.167 หมายความว่า ระดับการศึกษา แตกต่างกันมีความภักดีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุง
ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
3. การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุง
ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน
3.1 การทราบข้อมูลเกี่ยวกับครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ พบว่า ความแปรปรวนของแต่ละแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ
ครีมบารุงผิวหนโอเลของผู้บริโภค แตกต่างกัน จากค่า LSD เท่ากับ
▪ 1. ด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์
ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีและมีสถานภาพสมรส /อยู่
ด้วยกัน เป็นกลุ่มเป้ าหมายซึ่งมีความภักดีมากที่สุด ดังนั้นถ้าบริษัทจะมีการวางแผนดาเนินงานหรือมีการจัด
โปรโมชั่นต่าง ๆ ควรที่จะคานึงถึงลูกค้ากลุ่มนี้ด้วย เช่นการจัดโปรโมทสินค้าหรือมีโปรโมชั่น ใหม่ๆ ควร
เลือกสถานที่กลุ่มวัยทางานอยู่เยอะ เช่นเซ็นทรัลลาดพร้าว สยาม เป็นต้นอายุ อาชีพ รายได้และสถานภาพ
แตกต่างกันมีความภักดีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ไม่
แดกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ สุพรรณี จันทร์รัสมี
▪ ด้านทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ พบว่า ด้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคประกอบไปด้วย ด้าน
ความคิดเห็น พบว่าผู้บริโภคมีระดับทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดี และด้านความรู้สึกพบว่าผู้บริโภคมี
ระดับทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดีเหมือนกันทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิภัณฑ์ครีมบารุงผิหน้าโอเลย์ใน
ภาพรวม มีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิภัณฑ์รีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศ
หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน
ในระดับต่าและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีของ Sharon; & Saul [3] กล่าวว่า
ทัศนคติ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบด้าน ความรู้ ความเข้าใจ
(Cogntivecomponent) องค์ประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สึก (Affective component) ซึ่งสอดคล้อง
กับผลงานวิจัยคือ
▪ 3. ข้อมูลด้านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรทากิจกรรมทางการตลาด
ให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ หรือการจัดหากิจกรรม
ส่งเสริมการขายที่หลากหลายและน่าสนใจ ยิ่งในช่วงที่มีกรออกผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเป็นการเพิ่มข้อมูล
ข่าวสารให้ผู้บริโภคได้รับรู้และเข้าใจในตัวผลิตภัณฑ์ และเป็นการกระตุ้นให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้า
ง่ายขึ้น เนื่องจกการวิจัยพบว่า ด้านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ พบวการส่งเสริมการขายที่ลูกค้า
สนใจเป็นส่วนใหญ่คือ การลดราคา การขายเป็นชุด ของแถมและการจับฉลากชิงโชค ทาให้ก่อนการซื้อ
สินต้าผู้บริโภคจะมีความรู้เป็นอย่างดีระดับปริมาณการซื้อสิในช่วงที่มีการส่งสริมการขายของผู้บริโภค
ปริมาณความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้ายี่ห้อโอเลย์ก่อนซื้อ และการส่งเสริมการขาย แตกต่าง
กันมีความภักดีต่อผลิตภัณฑ์ครีบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย และครอบคลุม
กลุ่มเป้ าหมายเพื่อเป็นการรักษาฐานลูกค้าเดิมและขยายฐานลูกค้าใหม่ เนื่องจากการวิจัยพบว่า ด้านความ
เกี่ยวพันของผู้บริโภค พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่ที่เลือกใช้ผลิตภัณฑ์คือคุณภาพสินค้าดีและราคาเหมาะสม
ความมน่าเชื่อถือของตราสินค้ารวมถึงบรรจุภัณฑ์ที่พกพาสะดวก แต่ควรปรังปรุงผลิตภัณฑ์ในส่วนของกลิ่น
หอมและความหลากหลายของสินค้า เนื่องจากปัจจุบันผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจกับการดูแลตัวเองมาก
ขึ้นกว่าเดิมมาก ทาให้เกิดความแตกต่างของช่วงอายุของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรมีการวางแผนในการรองรับกับสิ่งที่อาจจะต้องเกิดขึ้นเนื่องจากสภาพ
เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลไป บริษัทอาจต้องมีการจัดโปรโมชั่นต่างๆ เข้ามาช่วย และมีการโฆษณาทางสื่อ
ด้านต่างๆ ให้มากเกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ โดยต้องทาให้เกิดวามแค่ใน
สายตาของลูกค้าให้ได้ แต่ควรปรับปรุงในส่วนของวิธีการชาระเงินให้มีความหลากหลายมากขึ้น เช่น ชาระ
ผ่านออนไลน์, บัตรเครดิต
▪ ผู้บริหารโอเลย์ควรมีการปรับปรุงและพัฒนาในส่วนของผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพดีอยู่ตลอดเวลาเพื่อจะได้
ทาให้ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจและไว้วางใจในตัวสินต้า ส่งผลต่อเนื่องให้ผู้บริโภคเกิดความภักดีและซื้อ
ซ้า
1. ด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีและมีสถานภาพ
สมรส /อยู่ด้วยกัน เป็นกลุ่มเป้ าหมายซึ่งมีความภักดีมากที่สุด ดังนั้นถ้าบริษัทจะมีการวางแผนดาเนินงาน
หรือมีการจัดโปรโมชั่นต่าง ๆ ควรที่จะคานึงถึงลูกค้ากลุ่มนี้ด้วย เช่น การโปรโมทสินค้าหรือมีโปรโมชั่น
ใหม่ๆ ควรเลือกสถานที่กลุ่มวัยทางานอยู่เยอะ เช่น เซ็นทรัลลาดพร้าวสยาม เป็นต้น
2. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรปรับปรุงผลิตภัณฑ์ไนเรื่องของส่วนผสม คุณภาพผลิตภัณฑ์ไห้ครบคลุกับ
ทุกสภาพผิวของผู้บริโภค และบรรจุภัณฑ์หมีความหรูหรานใช้เหมาะกับผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้
ผู้บริโภคมากขึ้น เนื่องจากการวิจัยพบว่า ต้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค ประกอบไปด้วย ต้านความ
คิดเห็น พบว่าผู้บริโภคมีระดับทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดี และต้านความรู้สึกพบว่าผู้บริโภคมีระดับ
ทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดีเหมือนกัน
▪ 3. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรทากิจกรรมทางการตลาดให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางช่องทางการสื่สารต่าง ๆ
หรือการจัดหากิจกรรมส่งเสริมการขายที่หลากหลายและน่าสนใจ ยิ่งในช่วงที่มีการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเป็นการเพิ่มข้อมูลข่าวสารให้
ผู้บริโภคได้รับรู้และเข้าใจในตัวผลิภัณฑ์
▪ 4. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์เลย์ควรปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย และครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมายเพื่อเป็นการรักษาฐาน
ลูกด้าเดิมและขยายฐานลูกค้าใหม่ เนื่องจากการวิจัยพบว่า ด้านความเกี่ยวพันของผู้บริโภค พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่ที่เลือกใช้ผลิตภัณฑ์คือ
คุณภาพสินค้าดีและราคาเหมาะสม ความนเชื่อถือของตราสินค้ารวมถึงบรรจุภัณฑ์ที่พกพาสะดวก แต่ควรปรังปรุง
▪ 5. ผู้บริหารผลิภัณฑ์โอเลย์ควรมีการวางแผนในการรองรับกับสิ่งที่อาจจะต้องเกิดขึ้นเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลไป บริษัท
อาจต้องมีการจัดโปรโมชั่นต่างๆ เข้ามาช่วยและมีการโฆษณาทางสื่อด้านต่างๆ ให้มากเกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และประโยชน์ที่
ลูกค้าจะได้รับ โดยต้องทาให้เกิดความคุ้มในสายตาของลูกค้าให้ได้ แต่ควรปรับปรุงในส่วนของวิธีการชาระเงินให้มีความหลากหลายมาก
ขึ้น
▪ 6. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรจะมีการสอบถามความรู้สึกของลูกค้าโดยใช้วิธีต่างๆ เช่นการกรอกแบบสอบถาม จกลูกด้ที่ใช้ผลิคภัณฑ์
แล้ว หรือสอบถามเกี่ยวกับเทรนใหม่ที่โอเลย์กาลังจะออกว่า มีความรู้สึกอย่างไรบ้าง เพื่อจะได้ทราบแนวโน้มความต้องการของลูกค้าที่
แท้จริง โดยอาจจะมีของเล็กๆ น้อยๆ ให้ เพื่องยต่อการเก็บข้อมูลหรือได้ข้อมูลที่ใกล้เคียงที่สุด และเป็นระโยชน์
▪ [1 บริษัท ไทยคูนแบรนด์เอจ โฮลดิ้ง จากัด. (2548). โอเลย์โดนพอนด์สเบ็ดเสร็จส่ง 25 นวัตกรรม
▪ ต่อยอด. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2554, จาก www.brandage.com/Modules/Desktop
▪ Modules/Article
▪ [2 ศิริวรณ เสรีรัตน์ และคนอื่นๆ. (2534). กลยุทธ์การตลาดสาหรับการจัดการธุรกิจบริหาร.
▪ กรุงเทพฯ: วิศิทธิพัฒนา.
▪ [3]Brehm, Sharon S.; & Kassin, Saul M. (1996). Social Psychology. 3rd Ed. Boston :
▪ Houghton Mifflin Co.
▪ [4 รีรพันธ์ โล่ห์ทองดา. (2544). กลยุทธ์การสื่สารแบบครบวงจร. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ:
▪ ทิปปิ้ง พอยท์.
▪ [5] Bowen, L.; & Chaffee, S. H. (1974). Product involvement and pertinent advertising
▪ appeals. Journalism Quarterly. 51: 613-621.
▪ [6]Perreault, William D., Jr; & McCarthy, E. Jerome. (1990). Basic Marketing. 10th Ed.
▪ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
▪ Illinois. Ridchard D. Irwin,Inc.
▪ [7] Schiffman, L. G.; & Kanuk, L. L. (2000). Consumer Behavior. 7th Ed. New Jersey:
▪ Prentice Hall.
▪ [8] Aaker, David A. (1991). Managing Brand Equity. London: The Free press.
▪ [9 กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549). สถิติสาหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร.
▪ [10] สุพรรณี จันทร์รัส (2550). ป้ จจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อความจงรักภักดีในตราสินค้าของ
▪ เครื่องสาอางระดับบนในห้างสรรพสินคเซ็นทรัลของคนในเขตกรุงเทพมหานคร.
▪ สารนิพนธ์ บรม.(การตลาด). กรุงเทพย. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
▪ ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
▪ [1] บุศรา สุนทรัตตา. (2550). กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้หญิงไทยในการซื้อผลิตภัณฑ์
▪ เครื่องสาอางประเภทแต่งหน้า (Make up) ที่มีจาหน่ายในเคาน์เตอร์ของห้างสรรพสินค้า
▪ ในเตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ บร.ม. (การตลาด). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
▪ [12] อัญชลี ประภายนต์. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่ความพึงพอใจและแนวโนมพฤติกรรมของลูกค้าที่
▪ มีผลต่อเครื่องสาอางอาร์ทสทรีในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ บร.ม. (การตลาด).
▪ กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
▪ [13] Oliver, Richard L. (1999). Whence Customer Loyalty. Journal of Marketing.

More Related Content

Similar to Factors affecting the well being of olay facial cream products of female consumers in bangkok

การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...NoppapadonTreewihit
 
Voice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้าVoice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้าSudpatapee Wiengsee
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1pattanapong1320
 
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...LoRy7
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1Dok-Dak R-Sasing
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยSirirat Yimthanom
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5singhabizcourse
 

Similar to Factors affecting the well being of olay facial cream products of female consumers in bangkok (20)

Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
การรับรู้ของผู้ประกอบการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางการตลาด และรูปแบบกลยุทธ์การสร้...
 
Voice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้าVoice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้า
 
Pharmacy ayudya
Pharmacy ayudyaPharmacy ayudya
Pharmacy ayudya
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
 
F
FF
F
 
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค กลุ่ม 1
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
Dove
DoveDove
Dove
 
Maetaporn
MaetapornMaetaporn
Maetaporn
 
G.u.y contest 2011
G.u.y contest 2011G.u.y contest 2011
G.u.y contest 2011
 
1
11
1
 
1
11
1
 
การศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัยการศึกษางานวิจัย
การศึกษางานวิจัย
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5
 
Mark30955nk abs
Mark30955nk absMark30955nk abs
Mark30955nk abs
 

Factors affecting the well being of olay facial cream products of female consumers in bangkok

  • 2. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสินค้าต่อ ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้แก่ ปัจจัยทางด้น ประชากรศาสตร์ ปัจจัยทางด้านทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์ การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการและความ เกี่ยวพันของผู้บริโภค โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริโภคที่ใช้หรือเคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุง ผิวหน้าโอเลย์ จานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน คือ การ วิเคราะห์ความแตกต่างโดยการหาดที และความแปรปรวนทางเดียวการเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญน้อยที่สุด
  • 3. ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนที่มีแสงแดดสม่าเสมอตลอดทั้งปี ทาให้ได้รับอิทธิพลจากรังสี UV ที่เป็น อันตรายต่อผิวหนัง ซึ่งจะทาให้ผิวแดงไหม้ คล้า แห้งกร้าน เหี่ยวย่น เป็นฝ้ าตกกระ แก่ก่อนวัย และอาจก่อให้เกิด มะเร็งผิวหนังได้ในระยะยาว ผู้หญิงกับการดูแลตัวเองถือเป็นเรื่องที่สาคัญมากทาให้ผู้หญิงทั้งหลายให้ความสาคัญ อย่างมากในการดูแลผิวและการแต่งหน้า บริษัทเครื่องสาอางต่างๆ ได้ทาการผลิตสินค้าออกจาหน่ายซึ่งมี หลากหลายตรายี่ห้อในตลาด ดังนั้นในการดาเนินธุรกิจจาหน่ายเครื่องสาอาง บริษัทผลิตเครื่องสาอางต่าง ๆจะต้อง คิดดันผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้นมา และปรับกลยุทธ์ทางการตลาดให้สามารถตอบสนองตามความต้องการผู้บริโภคได้ ทั้งในด้นความสามารถในการซื้อหา สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และอาจต้องใช้กลยุทธ์ทางด้านราคา เพื่อรักษาหอช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดไว้ "โอเลย์"ในปัจจุบันได้กลายมาเป็นผู้นาตลาดผลิตภัณฑ์บารุงผิวหนแทน "พอนด์ส" ของยูนิลีเวอร์ ด้วยส่วนแบ่งตลาดรวมกว่า 34% จากตลาดรวมมูลค่า 6,400 ล้านบาท กว่าจะแย่งส่วน แบ่งการตลาด
  • 4. ▪ 1. เพื่อศึกษาถึงลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้สถานภาพสมรส ที่มีผลต่อความภักดีต่อตรา สินค้าครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิง ▪ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์กับความภักดีต่อตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุง ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ▪ 3. เพื่อศึกษาการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของ ผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ▪ 4. เพื่อศึกษาความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อสินค้าที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ข องผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ▪ 5. เพื่อศึกษาความมพันธ์ระหว่างทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดกับความภักดีต่อตราสิค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุง ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ▪ 6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความภักดีต่อตราสินค้ากับแนวโนมพฤติกรรมการซื้อครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ในอนคต ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
  • 5. ▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องของประชากรศาสตร์ ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีขอศิริวรรณเสรีรัตน์; และ คนอื่น ๆ ได้กล่าวว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์ (Demographic) ประกอบด้วย อายุ เพศ ขนาดครอบครัว สถานภาพครอบครัว รายได้ อาชีพ การศึกษา เหล่นี้เป็นเกณฑ์ที่นิยมใช้ในการแบ่งส่วนตลาด ▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องของทัศนคติ ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของ Sharon; & Saul กล่าวว ทัศนคติ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบด้าน ความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สึก หมายถึง ความรู้สึกในทางบวก หรือลบ หรือทั้งบวกและลบต่อเป้ าหมาย องค์ประกอบด้าน พฤติกรรม ▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องของการสื่สารการตลาดแบบบูรณาการ ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของธีรพันธ์ โล่ ทองคา การสื่สารการตลาดแบบครบวงจร เป็นการวางแผนภายใต้แนวความคิดเดียว โดยใช้การสื่อสาร หลายๆ รูปแบบเพื่อให้บรรลุแผนดังกล่าว
  • 6. ▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องความเกี่ยวพันของผู้บริโภค ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของBowen; & Chaffee [5] ให้คานิยามว่า ความเกี่ยวพันกับสินค คือผลประโยชน์หรือผลตอบแทนของสินค้าใดสินค้าหนึ่งที่มีต่อตัว ผู้บริโภคโดยตรงเกิดขึ้นจากคุณสมบัติสินค้านั้น ๆ ▪ ทฤษฎีที่นามาอ้างอิงในเรื่องส่วนประสมทางการตลาด ผู้วิจัยยึดแนวทฤษฎีของ MoCathy; & Pereault ให้คานิยามว่า ความเกี่ยวข้องกันของ 4 ส่วนคือ ผลิตภัณฑ์โครงสร้างราคา ระบบการจัดจาหน่าย และ กิจกรรมส่งเสริมการตลาด
  • 7. ▪ 1. ผู้บริโภคที่มีลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้สถานภาพสมรส แตกต่งกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มี ต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน ▪ 2. ทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์มีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอ เลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขต ▪ 3. การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลของผู้บริโภคเพศหญิง ในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน ▪ 4. ความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้ที่มีต่อผลิภัณฑ์คบารุงผิวหน้าโอ เลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน ▪ 5. ทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางกรตลาดมีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภค เพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ▪ 6. ความภักดีต่อตราสินมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคตของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
  • 8. ▪ 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช่ใการวิจัย ได้แก่ ประชากรเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานครที่มี อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้บริโภคที่ใช้หรือเคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ เนื่องจากผู้บริโภค ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปเป็นกลุ่มที่สามารถตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางได้เองซึ่งไม่ทราบจานวน ประชากรที่แน่นอน ▪ 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างสาหรับการวิจัย คือ ประชากรเพศหญิงในเขต กรุงเทพมหานครที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่เป็นผู้บริโภคทีใช้หรือเคยใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้า โอเลย์ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่สามารถตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องสาอางได้เองซึ่งไม่ทราบจานวนประชากรที่ แน่นอนได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงกาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรคานวณแบบไม่ทราบจานวนประชากรของ กัลยา วานิชย์บัญชา [9 ที่มีระดับความเชื่อมัน 95% ได้ขนาดตัวอย่าง 385 คน และเพิ่มจานวนตัวอย่าง 4% เท่ากับ 15 คน รวมขนาดตัวอย่างทั้งหมดเท่ากับ
  • 9. ขั้นที่ 1 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) โดยวิธีการจับฉลากเพื่อคัดเลือก เขตในกรุงเทพมหานคร จานวน 8 เขต จากเขตทั้งหมด 50 เขต ได้แก่ เขตปทุมวันเขตวัฒนา เขตยานนาวา เขตธนบุรี เขตภาษีเจริญ เขตบางกอกใหญ่ เขตรังสิต เขตสาทร ขั้นที่ 2 ใช้วิธีการกาหนดโควตา (Quota sampling) โดยการกาหนดจานวนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละเขตได้ เขตละ 50คน
  • 10. ▪ ขั้นที่ 3 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยเลือกกลุ่มเป้ าหมายในย่านศูนย์การค้า บริเวณที่มีคนสัญจรไปมา หรือมหาวิทยาลัย ในแต่ละเขตที่สุ่มได้ โดยแจกแบบสอบถามกับผู้ที่ใช้หรือเคยใช้ ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์ โดยก่อนให้ทาการกรอกแบบสอบถาม ต้องทาการสอบถามว่าเคยใช้ผลิตภัณฑ์ ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์หรือไม่ ถ้าเคยใช้จึงเลือกเป็นกลุ่มป้ ายหมาย แล้วให้กรอกแบบสอบถาม จนครบจานวน ตัวอย่างแต่ละเขต ได้เลือกสถานที่ดังนี้ เขตปทุมวัน - สยามสแควร์, เขตวัฒนา - มศว, เขตยานนาวา -เซ็นทรัล พระราม 3 ธนบุรี - เดอะมอลล์ ท่าพระ, เขตภาษีเจริญ - โรบินสัน บางแด 5,เขตบางกอกใหญ่ - โลตัส เอ็กซเพรส สาขา จรัญ 13, เขตรังสิต - ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต, เขตสาธร-ย่านคนทางานถนนสีลม เหตุที่เลือกสถานที่ดังกล่าว เนื่องจากเป็นสถานที่ใจกลางเมืองในแต่ละเขตทาให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายได้ครอบคลุมมากขึ้น ▪ ขั้นที่ 4 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก
  • 11. ตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะประชากศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 5 ข้อ ได้แก่อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ สถานภาพสมรส และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด ตอนที่ 2 ข้อมูด้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคซึ่งแบ่งเป็น ต้านความคิดเห็น3 ข้อ และด้าน ความรู้สึก 3 ข้อ ด้านความรู้ความเข้าใจ เป็นลักษณะคาถามแบบ Semantic Differential Scale มีระดับ การวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval scale) มีคะแนน 5 ระดับ ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านการสื่สารการตลาดแบบบูรณาการ จานวน 4 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด ใช้ระดับกรวัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ (Nominal scale) ตอนที่ 4 ข้อมูด้านความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน 4 ข้อ มี ลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด ใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ(Nominal scale)
  • 12. ตอนที่ 5 ข้อมูลด้านทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน 19 ข้อ มีลักษณะคาถามปลายปิด แบบ Likert scale ซึ่งแบ่งระดับความติดเห็นของผู้บริโภค 5 ระดับ จัดเป็นการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชัน(Interval scale) ตอนที่ 6 ข้อมูลด้านความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน 15 ข้อมี ลักษณะคาถามปลายปิด แบบ Likert scale ซึ่งแบ่งระดับความคิดเห็นของผู้บริโภค 5 ระดับ จัดเป็ นการวัด ข้อมูลประเภทอันตรภาคชัน(Interval scale) ตอนที่ 7 ข้อมูลด้านแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคตผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ จานวน 2 ข้อ เป็นลักษณะคาถามแบบ Semantic differential scale มีระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval scale) มีคะแนน 5 ระดับ
  • 13. 4.1 การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ 4.1. การแจกแจงความถี่แสดงผลเป็นร้อยละในตอนที่ 1 ข้อมูลลักษณะประชากศาสตร์ตอนที่ 3 ข้อมูลด้าน การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ และตอนที่ 4 ข้อมูลด้านความเกี่ยวพันของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ 4.1.2 การแค่เฉลี่ยและตาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในตอนที่ 2 ข้อมูลด้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของ ผู้บริโภค ตอนที่ 5 ข้อมูลด้านทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ ตอนที่ 6 ข้อมูลด้าน ความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ และตอนที่ 7 ข้อมูลด้านแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคต
  • 14. ▪ 4.2 การวิเคราะห์โดยใช้สถิติอนุมาน (Inferential statistics) ได้แก่ 4.2.1 การทดสอบสมมดิฐาน ข้อ 1 ด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้สถานภาพสมรส แตกต่างกันมีความ ภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน สมมติฐานข้อ 3 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุง ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน และสมมติฐานข้อ 4 ความเกี่ยวพัน 4.2.2 การทดสบสมมติฐานข้อ 2 ทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์มีความสัมพันธ์กับความภักดี ต่อตราสิค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร สมมติฐานข้อ 5 ทัศนคติที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าโอ เลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร และสมมติฐานข้อ 6 ความภักดีต่อตราสินค้ามีความสัมพันธ์กับแนว โน้การซื้อในอนาคตของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
  • 16. ▪ 1. ด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนและสถานภาพ สมรส พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 23 - 27 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.75มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 70.5 ประกอบอาชีพรับจ้าง / พนักงานบริษัท คิดเป็นร้อยละ 35.5 รายได้เฉลี่ย ต่อเดือน 5,000 - 9,999 บาท คิดเป็นร้อยละ 32.75 และมีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 68.5 2. ผู้บริโภคมีทัศนคติต่อปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์โดยรวม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.49โดยผู้บริโภคมีทัศนคติ ต่อด้านคิดเห็น และต้นความรู้สึก อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.52 และ 3.44
  • 17. 3. ด้านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ผู้บริโภคทราบข้อมูลเกี่ยวกับครีมบารุงผิวหนโอเลย์จากสือ โทรทัศน์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 58 ในช่วงที่มีการส่งเสริมการขายผู้บริโภคซื้อสินคเท่าเดิ คิดเป็นร้อยละ 53.75 ก่อนการซื้อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้ายี่ห้อโอเลย์ผู้บริโภคพอดวามรู้บ้าง คิดเป็นร้อยละ 74 และ การส่งเสริมการขายที่ผู้บริโภคสนใจมากที่สุดคือ การลดราคา คิดเป็นร้อยละ 31.5 4. ต้านความเกี่ยวพันต่อผลิตภัณฑ์ ผู้บริโภคเริ่มใช้ผลิตภัณฑ์บารุงผิวเพราะอยากลองคิดเป็นร้อยละ 34 เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์เพราะคุณภาพดี คิดเป็นร้อยละ 43.5ใช้ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการบารุง ผิวเพื่อลดจุดด่างคา แผลจากสิว คิดเป็นร้อยละ 34.75 โดยรวมใน
  • 18. ▪ 5. ผู้บริโภคมีทัศนคติต่อส่วนประสมทางการตลาดโดยรวม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.92โดยผู้บริโภค ทัศนคติต่อส่วนประสมทางการตลาดทางด้านผลิตภัณฑ์ ต้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย และต้าน การส่งเสริมการตลาด อยู่ในระดับดี มีตาเฉลี่ย 3.89, 3:83, 4.03 และ3.96 ตามลาดับ 6. ผู้บริโภคมีความภักดีต่อตราสินโดยรวม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.73 โดยผู้บริโภคมีความภักดีต่อตรา สินค้าทางด้านความพึงพอใจ ด้านชอบ และด้านความผูกพัน อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย 3.79, 3.66 และ 3.73 ตามลาดับ 7. ต้านแนวโนมพฤติกรมการซื้อในอนาคต ผู้บริโภคมีแนวโน้มพฤติกรรมการซื้อในอนาคตในภาพรวมอ ในระดับซื้อ มีดเฉลี่ย 3.55 และความเป็นไปได้ที่จะซื้อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้ายี่ห้อโอเลย์ซ้ามากขึ้นอยู่ ในระดับไม่แน่ใจ มีดาเฉลี่ย 3.40
  • 19. ▪ 1. ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรสแตกต่างกันมีความภักดีต่อ ตราสิค้าของผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน ▪ 1.1 อายุ พบว่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มอายุ ไม่แตกต่างกัน จากค่า LSDเท่ากับ 1.239 และ F-Probabilty เท่ากับ 0.053 หมายความว่า อายุแตกต่างกันมีความภักดีต่อครีบารุงผิวหนโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขต กรุงเทพมหานคร ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ▪ 1.2 ระดับการศึกษา พบว่าความแปรปรวนของแต่ละระดับการศึกษาแตกต่างกันจากค่ LSD เท่กับ 4.289 และต่าง Brown-Forsythe เท่ากับ 3.167 หมายความว่า ระดับการศึกษา แตกต่างกันมีความภักดีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุง ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
  • 20. 3. การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ แตกต่างกันมีความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุง ผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร แตกต่างกัน 3.1 การทราบข้อมูลเกี่ยวกับครีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ พบว่า ความแปรปรวนของแต่ละแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ ครีมบารุงผิวหนโอเลของผู้บริโภค แตกต่างกัน จากค่า LSD เท่ากับ
  • 21. ▪ 1. ด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีและมีสถานภาพสมรส /อยู่ ด้วยกัน เป็นกลุ่มเป้ าหมายซึ่งมีความภักดีมากที่สุด ดังนั้นถ้าบริษัทจะมีการวางแผนดาเนินงานหรือมีการจัด โปรโมชั่นต่าง ๆ ควรที่จะคานึงถึงลูกค้ากลุ่มนี้ด้วย เช่นการจัดโปรโมทสินค้าหรือมีโปรโมชั่น ใหม่ๆ ควร เลือกสถานที่กลุ่มวัยทางานอยู่เยอะ เช่นเซ็นทรัลลาดพร้าว สยาม เป็นต้นอายุ อาชีพ รายได้และสถานภาพ แตกต่างกันมีความภักดีต่อผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหนโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร ไม่ แดกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ สุพรรณี จันทร์รัสมี
  • 22. ▪ ด้านทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ พบว่า ด้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคประกอบไปด้วย ด้าน ความคิดเห็น พบว่าผู้บริโภคมีระดับทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดี และด้านความรู้สึกพบว่าผู้บริโภคมี ระดับทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดีเหมือนกันทัศนคติผู้บริโภคที่มีต่อผลิภัณฑ์ครีมบารุงผิหน้าโอเลย์ใน ภาพรวม มีความสัมพันธ์กับความภักดีต่อตราสินค้าที่มีต่อผลิภัณฑ์รีมบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศ หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน ในระดับต่าและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีของ Sharon; & Saul [3] กล่าวว่า ทัศนคติ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบด้าน ความรู้ ความเข้าใจ (Cogntivecomponent) องค์ประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สึก (Affective component) ซึ่งสอดคล้อง กับผลงานวิจัยคือ
  • 23. ▪ 3. ข้อมูลด้านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรทากิจกรรมทางการตลาด ให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ หรือการจัดหากิจกรรม ส่งเสริมการขายที่หลากหลายและน่าสนใจ ยิ่งในช่วงที่มีกรออกผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเป็นการเพิ่มข้อมูล ข่าวสารให้ผู้บริโภคได้รับรู้และเข้าใจในตัวผลิตภัณฑ์ และเป็นการกระตุ้นให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้า ง่ายขึ้น เนื่องจกการวิจัยพบว่า ด้านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ พบวการส่งเสริมการขายที่ลูกค้า สนใจเป็นส่วนใหญ่คือ การลดราคา การขายเป็นชุด ของแถมและการจับฉลากชิงโชค ทาให้ก่อนการซื้อ สินต้าผู้บริโภคจะมีความรู้เป็นอย่างดีระดับปริมาณการซื้อสิในช่วงที่มีการส่งสริมการขายของผู้บริโภค ปริมาณความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้ายี่ห้อโอเลย์ก่อนซื้อ และการส่งเสริมการขาย แตกต่าง กันมีความภักดีต่อผลิตภัณฑ์ครีบารุงผิวหน้าโอเลย์ของผู้บริโภคเพศหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร
  • 24. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย และครอบคลุม กลุ่มเป้ าหมายเพื่อเป็นการรักษาฐานลูกค้าเดิมและขยายฐานลูกค้าใหม่ เนื่องจากการวิจัยพบว่า ด้านความ เกี่ยวพันของผู้บริโภค พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่ที่เลือกใช้ผลิตภัณฑ์คือคุณภาพสินค้าดีและราคาเหมาะสม ความมน่าเชื่อถือของตราสินค้ารวมถึงบรรจุภัณฑ์ที่พกพาสะดวก แต่ควรปรังปรุงผลิตภัณฑ์ในส่วนของกลิ่น หอมและความหลากหลายของสินค้า เนื่องจากปัจจุบันผู้บริโภคหันมาให้ความสนใจกับการดูแลตัวเองมาก ขึ้นกว่าเดิมมาก ทาให้เกิดความแตกต่างของช่วงอายุของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
  • 25. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรมีการวางแผนในการรองรับกับสิ่งที่อาจจะต้องเกิดขึ้นเนื่องจากสภาพ เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลไป บริษัทอาจต้องมีการจัดโปรโมชั่นต่างๆ เข้ามาช่วย และมีการโฆษณาทางสื่อ ด้านต่างๆ ให้มากเกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับ โดยต้องทาให้เกิดวามแค่ใน สายตาของลูกค้าให้ได้ แต่ควรปรับปรุงในส่วนของวิธีการชาระเงินให้มีความหลากหลายมากขึ้น เช่น ชาระ ผ่านออนไลน์, บัตรเครดิต
  • 27. 1. ด้านลักษณะทางประชากรศาสตร์ ได้แก่ ผู้บริโภคที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีและมีสถานภาพ สมรส /อยู่ด้วยกัน เป็นกลุ่มเป้ าหมายซึ่งมีความภักดีมากที่สุด ดังนั้นถ้าบริษัทจะมีการวางแผนดาเนินงาน หรือมีการจัดโปรโมชั่นต่าง ๆ ควรที่จะคานึงถึงลูกค้ากลุ่มนี้ด้วย เช่น การโปรโมทสินค้าหรือมีโปรโมชั่น ใหม่ๆ ควรเลือกสถานที่กลุ่มวัยทางานอยู่เยอะ เช่น เซ็นทรัลลาดพร้าวสยาม เป็นต้น 2. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรปรับปรุงผลิตภัณฑ์ไนเรื่องของส่วนผสม คุณภาพผลิตภัณฑ์ไห้ครบคลุกับ ทุกสภาพผิวของผู้บริโภค และบรรจุภัณฑ์หมีความหรูหรานใช้เหมาะกับผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้ ผู้บริโภคมากขึ้น เนื่องจากการวิจัยพบว่า ต้านทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค ประกอบไปด้วย ต้านความ คิดเห็น พบว่าผู้บริโภคมีระดับทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดี และต้านความรู้สึกพบว่าผู้บริโภคมีระดับ ทัศนคติในภาพรวมอยู่ในระดับดีเหมือนกัน
  • 28. ▪ 3. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรทากิจกรรมทางการตลาดให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางช่องทางการสื่สารต่าง ๆ หรือการจัดหากิจกรรมส่งเสริมการขายที่หลากหลายและน่าสนใจ ยิ่งในช่วงที่มีการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อเป็นการเพิ่มข้อมูลข่าวสารให้ ผู้บริโภคได้รับรู้และเข้าใจในตัวผลิภัณฑ์ ▪ 4. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์เลย์ควรปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย และครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมายเพื่อเป็นการรักษาฐาน ลูกด้าเดิมและขยายฐานลูกค้าใหม่ เนื่องจากการวิจัยพบว่า ด้านความเกี่ยวพันของผู้บริโภค พบว่าสาเหตุส่วนใหญ่ที่เลือกใช้ผลิตภัณฑ์คือ คุณภาพสินค้าดีและราคาเหมาะสม ความนเชื่อถือของตราสินค้ารวมถึงบรรจุภัณฑ์ที่พกพาสะดวก แต่ควรปรังปรุง ▪ 5. ผู้บริหารผลิภัณฑ์โอเลย์ควรมีการวางแผนในการรองรับกับสิ่งที่อาจจะต้องเกิดขึ้นเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลไป บริษัท อาจต้องมีการจัดโปรโมชั่นต่างๆ เข้ามาช่วยและมีการโฆษณาทางสื่อด้านต่างๆ ให้มากเกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และประโยชน์ที่ ลูกค้าจะได้รับ โดยต้องทาให้เกิดความคุ้มในสายตาของลูกค้าให้ได้ แต่ควรปรับปรุงในส่วนของวิธีการชาระเงินให้มีความหลากหลายมาก ขึ้น ▪ 6. ผู้บริหารผลิตภัณฑ์โอเลย์ควรจะมีการสอบถามความรู้สึกของลูกค้าโดยใช้วิธีต่างๆ เช่นการกรอกแบบสอบถาม จกลูกด้ที่ใช้ผลิคภัณฑ์ แล้ว หรือสอบถามเกี่ยวกับเทรนใหม่ที่โอเลย์กาลังจะออกว่า มีความรู้สึกอย่างไรบ้าง เพื่อจะได้ทราบแนวโน้มความต้องการของลูกค้าที่ แท้จริง โดยอาจจะมีของเล็กๆ น้อยๆ ให้ เพื่องยต่อการเก็บข้อมูลหรือได้ข้อมูลที่ใกล้เคียงที่สุด และเป็นระโยชน์
  • 29. ▪ [1 บริษัท ไทยคูนแบรนด์เอจ โฮลดิ้ง จากัด. (2548). โอเลย์โดนพอนด์สเบ็ดเสร็จส่ง 25 นวัตกรรม ▪ ต่อยอด. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2554, จาก www.brandage.com/Modules/Desktop ▪ Modules/Article ▪ [2 ศิริวรณ เสรีรัตน์ และคนอื่นๆ. (2534). กลยุทธ์การตลาดสาหรับการจัดการธุรกิจบริหาร. ▪ กรุงเทพฯ: วิศิทธิพัฒนา. ▪ [3]Brehm, Sharon S.; & Kassin, Saul M. (1996). Social Psychology. 3rd Ed. Boston : ▪ Houghton Mifflin Co. ▪ [4 รีรพันธ์ โล่ห์ทองดา. (2544). กลยุทธ์การสื่สารแบบครบวงจร. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: ▪ ทิปปิ้ง พอยท์. ▪ [5] Bowen, L.; & Chaffee, S. H. (1974). Product involvement and pertinent advertising ▪ appeals. Journalism Quarterly. 51: 613-621. ▪ [6]Perreault, William D., Jr; & McCarthy, E. Jerome. (1990). Basic Marketing. 10th Ed. ▪ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
  • 30. ▪ Illinois. Ridchard D. Irwin,Inc. ▪ [7] Schiffman, L. G.; & Kanuk, L. L. (2000). Consumer Behavior. 7th Ed. New Jersey: ▪ Prentice Hall. ▪ [8] Aaker, David A. (1991). Managing Brand Equity. London: The Free press. ▪ [9 กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549). สถิติสาหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร. ▪ [10] สุพรรณี จันทร์รัส (2550). ป้ จจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อความจงรักภักดีในตราสินค้าของ ▪ เครื่องสาอางระดับบนในห้างสรรพสินคเซ็นทรัลของคนในเขตกรุงเทพมหานคร. ▪ สารนิพนธ์ บรม.(การตลาด). กรุงเทพย. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ▪ ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. ▪ [1] บุศรา สุนทรัตตา. (2550). กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้หญิงไทยในการซื้อผลิตภัณฑ์ ▪ เครื่องสาอางประเภทแต่งหน้า (Make up) ที่มีจาหน่ายในเคาน์เตอร์ของห้างสรรพสินค้า ▪ ในเตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ บร.ม. (การตลาด). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
  • 31. ▪ [12] อัญชลี ประภายนต์. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่ความพึงพอใจและแนวโนมพฤติกรรมของลูกค้าที่ ▪ มีผลต่อเครื่องสาอางอาร์ทสทรีในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ บร.ม. (การตลาด). ▪ กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. ▪ [13] Oliver, Richard L. (1999). Whence Customer Loyalty. Journal of Marketing.