SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
หน่วยที่ 1
่
ความรูเ้ บื้องต้นเกียวกับคอมพิวเตอร์
เสนอสมาชิก


1.นางสาวสมบัติ
2.นางสาวจันทร์ศรี
3.นางสาวเนติมา
4.นางสาวดวงฤทัย
5.นางสาวสุภา
6.นางสาวสโรชินี

ป้ องชาลี
ปิ่ นคา
มัชเรส
ฝาชัยภูมิ
ขาห้วยแย้
ศิรชาติ
ิ

รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010072
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010071
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010068
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010070
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010056
รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010051
คอมพิวเตอร์ คือ


่
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึงหมายถึง การนับ หรือ การ
คานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้วา
่
่
"เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าทีเ่ หมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทีง่าย
และซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อะไรก็ได้ทสามารถรับข้อมูลเข้าไปประมวลผลแล้วได้ผลผลัพธ์
ี่
่
ออกมาตามความต้องการ โดยส่วนต่างๆ ทีประกอบกันขึ้นมาเป็ นคอมพิวเตอร์จะต้องประกอบไป
ด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล หน่วยความจา หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยแสดงผล
ข้อมูล
ลักษณะที่สาคัญของคอมพิวเตอร์


1. ทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์และอัตโนมัติ
2. มีความเร็วสูงในการประมวลผล
3. มีหน่วยความจาภายในขนาดใหญ่
่ี
่
4. ได้ผลลัพธ์ทถูกต้องและน่าเชือถือ
วิวฒนาการคอมพิวเตอร์(Computer Development)
ั


มนุษย์ได้คดค้นเครื่องมือสาหรับช่วยในการคานวณมาตังแต่สมัยโบราณ โดยเริ่มจากการใช้น้ ิว
ิ
้
มือและนิ้วเท้าช่วยนับ ต่อมาก็ใช้สงทีอยู่รอบๆตัว เช่น ก้อนหิน ก้อนกรวด แท่งไม้ หรือการทา
ิ่ ่
่
่
เครื่องหมายบนพื้นดิน หิน เป็ นต้น เครื่องช่วยในการนับทีให้ประโยชน์ตอการนับทีใช้ประโยชน์ตอการ
่
่
นับเป็ นอย่างมากได้แก่ลูกคิด(Abacus)
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ



ในปี พ.ศ. 2160 จอห์น เนเปี ยร์ (John Napier) นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต ได้คดอุปกรณ์ทใช้ชวย
ิ
ี่ ่
่
การคูณ การหาร และการถอดกรณ์ให้ง่ายขึ้น ซึงเรียกว่า Napier’sbones

จอห์น เนเปี ยร์ นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต
ในปี พ.ศ. 2173 วิลเลี่ยม ออกเทรด (William Oughtred) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์
่
ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule) ซึงต่อมากลายเป็ นพื้นฐานของการสร้างคอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก
่
ในปี พ.ศ. 2185 เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส ได้ประดิษฐ์เครื่อง
บวกลบขึ้นโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟื องและการทดเลขเมื่อฟันเฟื องหมุนครบรอบ โดยแสดงตัวเลข
่
่
่
่ี ่
จาก 0-9 ออกทีหน้าปั ดซึงมีเลขอยู่ 8 หลัก สิงประดิษฐ์ทวานี้เรียกว่า Pascaline Calculator
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


่
เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส

ในปี พ.ศ. 2214 กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาว
เยอรมัน ออกแบบเครื่องคิดเลขแบบใช้เฟื องทดเพื่อทาการคูณด้วยวิธีการบวกซา ๆ กัน ไลบนิซเป็ นผู ้
้
่
ค้นพบจานวนเลขฐานสอง (Binary Number) ซึงประกอบด้วยเลข 0 และ 1 เป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะใน
่
การคานวณ เครื่องคิดเลขทีไลบนิซสร้างขึ้น เรียกว่า Leibniz Wheel สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาวเยอรมัน
่
ในปี พ.ศ. 1804 : โจเซฟ มารี แจคการ์ด (Joseph Marie Jacquard) ชาวฝรังเศส เป็ นผูคดประดิษฐ์
้ิ
่
Jacquard’s Loom เป็ นเครื่องทอผ้าทีควบคุมการทอผ้าลายสีตาง ๆ ด้วยบัตรเจาะรู (Punched – card) จึง
่
่
เป็ นแนวคิดในการประดิษฐ์เครื่องเจาะบัตร (Punched – card machine) สาหรับเจาะบัตรทีควบคุมการทอ
่
่
่
ผ้าขึ้น และถือว่าเป็ นเครื่องจักรทีใช้โปรแกรมสังให้เครืองทางานเป็ นเครื่องแรก
ในปี พ.ศ. 1822 : ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์แห่ง
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ของอังกฤษ มีแนวความคิดสร้างเครื่องหาผลต่าง เรียกว่า Difference Engine โดย
ได้รบความช่วยเหลือจากราชสมาคม (Royal Astronomical Society) ของรัฐบาลอังกฤษ สร้างสาเร็จในปี
ั
ค.ศ. 1832
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ
ในปี พ.ศ. 2373 แบบเบจได้พยายามสร้างเครื่องคานวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่าเครื่องวิเคราะห์ โดยแบ่งการ
ทางานของเครื่องออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนควบคุม และส่วนคานวณ เครื่องมือนี้ได้รบการ
ั
ออกแบบให้ใช้ระบบพลังงานเครื่องยนต์ไอนาเป็ นตัวหมุนฟันเฟื อง
้
ในปี พ.ศ. 2393 ยอร์จ บูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คดระบบพีชคณิตระบบใหม่
ิ
่
เรียกว่า Boolean Algebra ซึงใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยา
ในปี พ.ศ. 2423 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน ได้ประดิษฐ์
ิ
ั
่่
เครื่องมือทีชวยในการทางานด้านสถิตเิ ครื่องแรกขึ้น โดยใช้กบบัตรเจาะรูทบนทึกได้ทงตัวเลข ตัวอักษรและ
ั
ี่ ั
ั้
สัญญลักษณ์พิเศษเครื่องนี้ได้รบการปรังปรุงเรื่อยมา และใช้ประโยชน์ครังแรกในปี 1890 โดยใช้ใน งาน
ั
้
ประมวลผลด้านสามะโนประชากรของสหรัฐเครื่องนี้สามารถอ่านบัตรได้ 250 บัตรต่อนาที
ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)


ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน
ิ
ั
ในปี พ.ศ. ศจ.โฮเวิรด อายเคน (Progessor Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ร่วมกับวิศวกร
์
่
ของบริษท IBM ได้สร้างเครื่องคานวณจากความคิดของแบบเบจสาเร็จ ชือว่า Autometic Sequence
ั
Controlled Calcalator (ASCC) หรือ MARX I เครื่อง ดังกล่าวนี้ทางานโดยอัตโนมัติ ตลอดทังเครื่อง
้
่ี
สามารถอ่านข้อมูลจากบัตร หรืออาจะป้ อนข้อมูลเข้า เครื่องโดยตังสวิทธ์ทหน้าปั ดควบคุมด้วยมือ และพิมพ์
้
่
ผลลัพธ์ออกทางเครื่องพิมพ์ไฟฟ้ า หรือเจาะลงบัตร ส่วนการสังและควบคุมให้ทางานนันทาจากภายนอกเครื่อง
้
โดยใช้บตรเจาะรูหรือเทปกระดาษ ถึงแม้วาเครื่องมือจะมีขนาดใหญ่โต มีสวนประกอบมากมายปฏิบตงานช้า
ั
่
่
ัิ
กว่าปั จจุบนมาก แต่ก็นบว่าเครื่อง MARX I เป็ นเครื่องคานวณอัตโนมัตเิ ครื่องแรกของโลก
ั
ั
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย



่ ้
คอมพิวเตอร์ในประเทศไทย เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2506 โดยเริ่มใช้ในการศึกษา วิจย เครื่องทีใช้ ครังแรกคือ
ั
่
เครื่อง IBM 1620 ซึงติดตังทีคณะ
้ ่
พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และใช้ในการทาสามะโนประชากร โดยใช้เครื่อง
่
IBM 1401 ซึงติดตังทีสานักงานสถิตแห่งชาติ
้ ่
ิ
ผูทริเริ่มนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในประเทศไทยคนแรก คือ ศาสตราจารย์บณฑิต กันตะบุตร หัวหน้า
้ ่ี
ั
ภาควิชาสถิตและเลขาธิการสถิตแห่งชาติจากนันมา เครื่องคอมพิวเตอร์ก็มีใช้ในประเทศไทย ตามลาดับดังนี้
ิ
ิ
้
พ.ศ. 2507 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธุรกิจขนาดใหญ่ คือ บ.ปูนซีเมนต์ไทยกับ ธนาคารกรุงเทพ
่
พ.ศ. 2517 : ได้นาคอมพิวเตอร์ไปใช้งานทีตลาดหลักทรัพย์ ในด้านการซื้อขาย โดยใช้ มินิคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2522 : ได้นา ไมโครคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในธุรกิจขนาดเล็กมากขัน
้
พ.ศ. 2525 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านการเรียนการสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยโรงเรียนต่างๆ และมีการ
เปิ ดสอนวิชาคอมพิวเตอร์กนอย่างแพร่หลาย
ั
ยุคของคอมพิวเตอร์


ตังแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็ นต้นไป ได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ อย่างแพร่หลายจึงได้เริ่มมี
้
การจัดยุคหรือช่วงเวลาของคอมพิวเตอร์โดยถือเอาความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเป็ นหลักในการ
แบ่งยุค ได้มีการแบ่งยุคคอมพิวเตอร์ออกเป็ น 5 ยุค คือ
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



่
ยุคทีหนึ่งของคอมพิวเตอร์ (FIRST GENERATION)
(พ.ศ. 2494-2501)
- ลักษณะของเครื่อง มีขนาดใหญ่โตมาก เกิดความร้อนสูง จึงต้องติดตังในห้องปรับอากาศตลอดเวลา
้
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้หลอดสุญญากาศเป็ นหน่วยความจาภายใน
ี่
- ความเร็วในการทางาน เป็ นวินาที
่
่
- สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปกระดาษ และเทปแม่เหล็ก
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly)
ี่
- ตัวอย่างเครื่อง UNIVAC I, IBM701, NCR102

รูปที่ 1.7 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
่
ยุคทีสองของคอมพิวเตอร์ (SECOND GENERATION)
(พ.ศ. 2502-2513)
- ลักษะณะของเครื่อง มีขนาดเล็กลง ใช้ความร้อนน้อยลง ทางานได้เร็วขึ้น
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ และมีวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) เป็ น
ี่
หน่วยความจาภายใน
่
- ความเร็วในการทางาน มิลลิเซคคัน
่
่
- สือข้อมูลทีใช้ ใช้บตรเจาะรูและเทปแม่เหล็กเป็ นส่วนใหญ่
ั
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาฟอร์แทรน (Fortran) และภาษาโคบอล (Cobol)
ี่
- ตัวอย่างเครื่อง IBM1620, IBM1401, CDC1604, NCR315



รูปที่ 1.8 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่สอง
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



่
ยุคทีสามของคอมพิวเตอร์ (THIRD GENERATION)
(พ.ศ. 2508-2513)
- ลักษณะของเครื่อง มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม ใช้ความร้อนน้อยลงไปอีก มีความเร็วเพิ่มยิ่งขึ้นอีก และมี
มินิคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น
่ี
่
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้ไอซีแทนทรานซิสเตอร์เป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์
หลายร้อยตัว
่
- ความเร็วในการทางาน ไมโครเซคคัน
่
่
- สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก และจานแม่เหล็ก
่ี
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาพีแอลวัน (PL/1) และภาษาอาร์พีจี (RPG)
1.9
- ตัวอย่างเครื่อง IBM360, DC3300, NCR395, UNIVAC9400
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
่ ี่
ยุคทีสของคอมพิวเตอร์ (FOURTH GENERATION)
(พ.ศ. 2514-2523)
่
- ลักษณะของเครื่อง มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น ซึงไม่จาเป็ นต้องอยู่ในห้องปรับอากาศ คอมพิวเตอร์ทางาน
เร็วขึ้นและมีประสิทธฺภาพมากขึ้น
่
- วัสดุทใช้สร้าง ใช้แอลเอสไอเป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์พนตัว
ี่
ั
่
่
- ความเร็วในการทางาน นาโนเซคคันและพิโคเซคคัน
่
- สือข้อมูล เทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก ส่วนบัตรเจาะรูใช้นอยลงมากกว่ายุคก่อน
้
- ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ เริ่มมีภาษาใหม่ๆ เช่น ภาษาเบสิก (Basic) ภาษาปาสคาล (Pascal) และภาษาซี (C)
ี่
- ตัวอย่างเครื่อง IBM370, IBM3033,UNIVAC9700, CDC7600, IBMPC (XT และ AT)



1.10
ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



ยุคที่หาของคอมพิวเตอร์ (FIFTH GENERATION)
้
(พ.ศ. 2524-ปั จุบน)
ั
หลายคนคิดว่าในปั จจุบน “คอมพิวเตอร์” ได้กาวสูยุคทีหาแล้ว กล่าวคือ นับตังแต่เริ่ม ค.ศ. 1983 เป็ นต้นมา
ั
้ ่ ่ ้
้
มีการคิดประดิษฐ์ให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้เลย มีการคิดทาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer
่
Network) ซึงหมายถึงการต่อเครื่องหลายเครื่องให้ทางานร่วมกัน มีการทาคอมพิวเตอร์ให้สามารถเก็บข้อมูลได้ทุก
่
ชนิด พูดง่ายๆ ให้เหมือนมนุษย์เข้าใจภาษามนุษย์ รับส่งข้อมูลทุกอย่างทีมนุษย์รบส่งได้ ฯลฯ ชิพจะมีขนาดเล็กลง
ั
ขณะเดียวกันมีวงจรผนึกแน่นขึ้นมากด้วย ในปั จจุบนสามารถเพิ่มได้ถึง 250,000 วงจรในชิพเล็กๆ ขนาด ¼ นิ้ว
ั
่
ในอนาคตชิพขนาดนี้มวงจรผนึกถึงหนึ่งล้านตัว ซึงจะทาให้ประสิทธิภาพในการทางานสูงขึ้นด้วย
ี
ในยุคนี้ได้มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบายในการใช้
งานเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable
Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทังโครงการวิจยและพัฒนา
้
ั
เกี่ยวกับ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดย
หวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู ้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
ประเภทของคอมพิวเตอร์



จากประวัตความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้วาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มการพัฒนาเปลี่ยนแปลง
ิ
่
ี
ไปอย่างรวดเร็วมาก ทาให้ปัจจุบนมีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมาย หลายรูปแบบตามความต้องการของ
ั
ผูใ้ ช้
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นน สามารถจาแนกอกได้เป็ น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้
ั้
1.แบ่งตามหลักการประมวลผล จาแนกได้เป็ น 3 ประเภท คือ
1.1คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวล
่
่
ข้อมูลทีอาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ใช้ขอมูลทีมีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data)
้
แสดงในลักษณะสัญญาณ ทีเ่ รียกว่า Analog Signal มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปั ด และเข็มชี้ เช่น การวัดค่า
ความยาว โดยเปรียบเทียบสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับ
สเกลข้างหลอดแก้ว
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)


่ ื
่ี
่
1.2 คอมพิวเตอร์แบบดิจตอล (Digital Computer) ซึงก็คอคอมพิวเตอร์ทใช้ในการทางานทัวๆ ไป
ิ
่
่
่ ั
นันเอง เป็ นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลทีอาศัยหลักการนับ ทางานกับข้อมูลทีมีลกษณะการ
เปลี่ยนแปลงแบบไม่ตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะสัญญาณไฟฟ้ า หรือ Digital Signal อาศัย
่
การนับสัญญาณข้อมูลทีเ่ ป็ นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time)
่ ่
มาตรฐาน ทาให้ผลลัพธ์เป็ นทีน่าเชือถือ ทังสามารถนับข้อมูลให้คาความละเอียดสูง เช่น แสดงผลลัพธ์
้
่
เป็ นทศนิยมได้หลายตาแหน่ง เป็ นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)


่
1.3 คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) คือเครื่องประมวลผลข้อมูลทีอาศัยเทคนิคการ
่
ทางานแบบผสมผสานระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทัวไปมักใช้ในงาน
่
เฉพาะกิจ โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศทีใช้ Analog Computer
ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการคานวณ ระยะทาง เป็ นต้น

คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer)
การทางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ยงต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม
ั
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



2.แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน จาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ
2.1เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง
่
เครื่องประมวลผลข้อมูลทีถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุมให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นการเฉพาะ
่
(Inflexible) โดยทัวไปมักใช้งานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมทีเ่ น้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่น เครื่อง
คอมพิวเตอร์ควบคุมไฟจราจร ควบคุมลิฟต์ หรือควบคุมระบบอัตโนมัตในรถยนต์
ิ
2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผล
่
ข้อมูลทีมีความยืดหยุ่นในการทางาน (Flexible) โดยได้รบการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้งานประเภทต่างๆ
ั
่
ได้โดยสะดวก เราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เครือง
นี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชี และสามารถใช้ในการออกเช็คเงินเดือนได้ เป็ นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

 โดยพิจารณาจากความสามารถในการเก็บข้อมูล
3. แบ่งตามความสามารถของระบบ จาแนกได้เป็ น 4 ประเภท
และความเร็วในการประมวลผลเป็ นหลัก ดังนี้
่
3.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลทีมีความสามารถในการ
่
ประมวลผลสูงทีสุด สร้างขึ้นเป็ นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจย
ั
่
ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสือดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็ นต้น
่ ่
3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลทีมีสวนความจาและ
่
ความเร็วน้อยลง สามารถใช้ขอมูลและคาสังของเครื่องรุนอืนในตระกูลเดียวกันได้
้
่ ่
ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)


่
3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer ) ธุรกิจหน่วยงานทีมีขนาดเล็กไม่จาเป็ นต้องใช้คอมพิวเตอร์
่
ขนาดเมนเฟรมซึงมีราคาแพง
3.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีสวนของ
่
่
หน่วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้อยทีสุด
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1.แบบติดตังใช้งานอยู่กบทีบนโต๊ะทางาน (Desktop Computer)
้
ั ่
2.แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกติดตัวได้ อาศัยพลังงานไฟฟ้ า
จากแบตเตอรี่จากภายนอก เรียกว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
่
องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์


่ ่
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิงทีมองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทงหมดทีเ่ กี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่วา
ั้
่
จะเป็ นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ตอพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่
่
เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้ นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อน ๆ
ื่
่ ่
2.ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสังทีควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน
่ ้
่
่ี
ให้ได้ผลลัพธ์ตามทีตองการ ซึงคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้
่ ่ ั่
ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซงเป็ นโปรแกรมหรือชุดคาสังทีสงให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้
ึ่
่
องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ)



ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
่ั
1.)ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็ นซอฟต์แวร์ททาหน้าทีจดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง
ี่
ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือสาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ
2.)ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ทสร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้
ี่
่ ้
งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามทีผูใ้ ช้ตองการ เช่น งานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การ
่
จัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอืน ๆ ตามแต่ผูใ้ ช้ตองการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนก
้
ได้เป็ น 2 ประเภท คือ
่
2.1ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือโปรแกรมซึงเขียนเพื่อการทางานเฉพาะอย่างทีเ่ ราต้องการ
่
2.2ซอฟต์แวร์สาหรับงานทัวไป เป็ นโปรแกรมประยุกต์ทมีผูจดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภท
ี่ ้ ั
่
ต่างๆ ทัวไป
่
องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ)

นคอมพิวเตอร์ซง่ึ มีความรูเ้ กี่ยวกับ
3.)บุคคลากร (Peopleware) คือ บุคลากรในงานด้า
่
่ ้
คอมพิวเตอร์สามารถใช้งาน สังงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามทีตองการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ
ดังนี้
-ผูจดการระบบ (System Manager)
้ั
-นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
-โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
-ผูใ้ ช้ (User)
่
่ ่ ้
4.)ข้อมูล เป็ นองค์ประกอบทีสาคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นสิงทีตองป้ อนเข้าไปใน
่ ั
คอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมทีนกคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ทตองการออกมา
ี่ ้

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
yawamon boonwang
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Lupin F'n
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Rogozo Joosawa
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
konkamon
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
Mevenwen Singollo
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
supatra2011
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
Beerza Kub
 

What's hot (17)

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Comandtechno1
Comandtechno1Comandtechno1
Comandtechno1
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 

Similar to เสนอผลงานหน่วยที่ 1

เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
Duangruethai Fachaiyaphum
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
Arnon2516
 

Similar to เสนอผลงานหน่วยที่ 1 (20)

เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
คอม ยุค 1
คอม ยุค 1คอม ยุค 1
คอม ยุค 1
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
 

เสนอผลงานหน่วยที่ 1

  • 2. เสนอสมาชิก  1.นางสาวสมบัติ 2.นางสาวจันทร์ศรี 3.นางสาวเนติมา 4.นางสาวดวงฤทัย 5.นางสาวสุภา 6.นางสาวสโรชินี ป้ องชาลี ปิ่ นคา มัชเรส ฝาชัยภูมิ ขาห้วยแย้ ศิรชาติ ิ รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010072 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010071 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010068 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010070 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010056 รหัสประจาตัวนักเรียน 5422010051
  • 3. คอมพิวเตอร์ คือ  ่ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึงหมายถึง การนับ หรือ การ คานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้วา ่ ่ "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทาหน้าทีเ่ หมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทีง่าย และซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์" คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อะไรก็ได้ทสามารถรับข้อมูลเข้าไปประมวลผลแล้วได้ผลผลัพธ์ ี่ ่ ออกมาตามความต้องการ โดยส่วนต่างๆ ทีประกอบกันขึ้นมาเป็ นคอมพิวเตอร์จะต้องประกอบไป ด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ หน่วยรับข้อมูล หน่วยความจา หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยแสดงผล ข้อมูล
  • 5. วิวฒนาการคอมพิวเตอร์(Computer Development) ั  มนุษย์ได้คดค้นเครื่องมือสาหรับช่วยในการคานวณมาตังแต่สมัยโบราณ โดยเริ่มจากการใช้น้ ิว ิ ้ มือและนิ้วเท้าช่วยนับ ต่อมาก็ใช้สงทีอยู่รอบๆตัว เช่น ก้อนหิน ก้อนกรวด แท่งไม้ หรือการทา ิ่ ่ ่ ่ เครื่องหมายบนพื้นดิน หิน เป็ นต้น เครื่องช่วยในการนับทีให้ประโยชน์ตอการนับทีใช้ประโยชน์ตอการ ่ ่ นับเป็ นอย่างมากได้แก่ลูกคิด(Abacus)
  • 6. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ  ในปี พ.ศ. 2160 จอห์น เนเปี ยร์ (John Napier) นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต ได้คดอุปกรณ์ทใช้ชวย ิ ี่ ่ ่ การคูณ การหาร และการถอดกรณ์ให้ง่ายขึ้น ซึงเรียกว่า Napier’sbones จอห์น เนเปี ยร์ นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อต ในปี พ.ศ. 2173 วิลเลี่ยม ออกเทรด (William Oughtred) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ ่ ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule) ซึงต่อมากลายเป็ นพื้นฐานของการสร้างคอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก ่ ในปี พ.ศ. 2185 เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส ได้ประดิษฐ์เครื่อง บวกลบขึ้นโดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟื องและการทดเลขเมื่อฟันเฟื องหมุนครบรอบ โดยแสดงตัวเลข ่ ่ ่ ่ี ่ จาก 0-9 ออกทีหน้าปั ดซึงมีเลขอยู่ 8 หลัก สิงประดิษฐ์ทวานี้เรียกว่า Pascaline Calculator
  • 7. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  ่ เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรังเศส ในปี พ.ศ. 2214 กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาว เยอรมัน ออกแบบเครื่องคิดเลขแบบใช้เฟื องทดเพื่อทาการคูณด้วยวิธีการบวกซา ๆ กัน ไลบนิซเป็ นผู ้ ้ ่ ค้นพบจานวนเลขฐานสอง (Binary Number) ซึงประกอบด้วยเลข 0 และ 1 เป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะใน ่ การคานวณ เครื่องคิดเลขทีไลบนิซสร้างขึ้น เรียกว่า Leibniz Wheel สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้
  • 8. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  กอตต์ ฟอน ลิบนิซ (Gottfried Von Leibniz) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ ชาวเยอรมัน ่ ในปี พ.ศ. 1804 : โจเซฟ มารี แจคการ์ด (Joseph Marie Jacquard) ชาวฝรังเศส เป็ นผูคดประดิษฐ์ ้ิ ่ Jacquard’s Loom เป็ นเครื่องทอผ้าทีควบคุมการทอผ้าลายสีตาง ๆ ด้วยบัตรเจาะรู (Punched – card) จึง ่ ่ เป็ นแนวคิดในการประดิษฐ์เครื่องเจาะบัตร (Punched – card machine) สาหรับเจาะบัตรทีควบคุมการทอ ่ ่ ่ ผ้าขึ้น และถือว่าเป็ นเครื่องจักรทีใช้โปรแกรมสังให้เครืองทางานเป็ นเครื่องแรก ในปี พ.ศ. 1822 : ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์แห่ง มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ของอังกฤษ มีแนวความคิดสร้างเครื่องหาผลต่าง เรียกว่า Difference Engine โดย ได้รบความช่วยเหลือจากราชสมาคม (Royal Astronomical Society) ของรัฐบาลอังกฤษ สร้างสาเร็จในปี ั ค.ศ. 1832
  • 9. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2373 แบบเบจได้พยายามสร้างเครื่องคานวณอีกชนิดหนึ่งเรียกว่าเครื่องวิเคราะห์ โดยแบ่งการ ทางานของเครื่องออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนควบคุม และส่วนคานวณ เครื่องมือนี้ได้รบการ ั ออกแบบให้ใช้ระบบพลังงานเครื่องยนต์ไอนาเป็ นตัวหมุนฟันเฟื อง ้ ในปี พ.ศ. 2393 ยอร์จ บูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คดระบบพีชคณิตระบบใหม่ ิ ่ เรียกว่า Boolean Algebra ซึงใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยา ในปี พ.ศ. 2423 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน ได้ประดิษฐ์ ิ ั ่่ เครื่องมือทีชวยในการทางานด้านสถิตเิ ครื่องแรกขึ้น โดยใช้กบบัตรเจาะรูทบนทึกได้ทงตัวเลข ตัวอักษรและ ั ี่ ั ั้ สัญญลักษณ์พิเศษเครื่องนี้ได้รบการปรังปรุงเรื่อยมา และใช้ประโยชน์ครังแรกในปี 1890 โดยใช้ใน งาน ั ้ ประมวลผลด้านสามะโนประชากรของสหรัฐเครื่องนี้สามารถอ่านบัตรได้ 250 บัตรต่อนาที
  • 10. ประวัติความเป็ นมาบุคคลสาคัญทางคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศ (ต่อ)  ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Dr Herman Hollerith) นั กสถิตชาวอเมริกน ิ ั ในปี พ.ศ. ศจ.โฮเวิรด อายเคน (Progessor Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ร่วมกับวิศวกร ์ ่ ของบริษท IBM ได้สร้างเครื่องคานวณจากความคิดของแบบเบจสาเร็จ ชือว่า Autometic Sequence ั Controlled Calcalator (ASCC) หรือ MARX I เครื่อง ดังกล่าวนี้ทางานโดยอัตโนมัติ ตลอดทังเครื่อง ้ ่ี สามารถอ่านข้อมูลจากบัตร หรืออาจะป้ อนข้อมูลเข้า เครื่องโดยตังสวิทธ์ทหน้าปั ดควบคุมด้วยมือ และพิมพ์ ้ ่ ผลลัพธ์ออกทางเครื่องพิมพ์ไฟฟ้ า หรือเจาะลงบัตร ส่วนการสังและควบคุมให้ทางานนันทาจากภายนอกเครื่อง ้ โดยใช้บตรเจาะรูหรือเทปกระดาษ ถึงแม้วาเครื่องมือจะมีขนาดใหญ่โต มีสวนประกอบมากมายปฏิบตงานช้า ั ่ ่ ัิ กว่าปั จจุบนมาก แต่ก็นบว่าเครื่อง MARX I เป็ นเครื่องคานวณอัตโนมัตเิ ครื่องแรกของโลก ั ั
  • 11. ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย  ่ ้ คอมพิวเตอร์ในประเทศไทย เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2506 โดยเริ่มใช้ในการศึกษา วิจย เครื่องทีใช้ ครังแรกคือ ั ่ เครื่อง IBM 1620 ซึงติดตังทีคณะ ้ ่ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และใช้ในการทาสามะโนประชากร โดยใช้เครื่อง ่ IBM 1401 ซึงติดตังทีสานักงานสถิตแห่งชาติ ้ ่ ิ ผูทริเริ่มนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในประเทศไทยคนแรก คือ ศาสตราจารย์บณฑิต กันตะบุตร หัวหน้า ้ ่ี ั ภาควิชาสถิตและเลขาธิการสถิตแห่งชาติจากนันมา เครื่องคอมพิวเตอร์ก็มีใช้ในประเทศไทย ตามลาดับดังนี้ ิ ิ ้ พ.ศ. 2507 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธุรกิจขนาดใหญ่ คือ บ.ปูนซีเมนต์ไทยกับ ธนาคารกรุงเทพ ่ พ.ศ. 2517 : ได้นาคอมพิวเตอร์ไปใช้งานทีตลาดหลักทรัพย์ ในด้านการซื้อขาย โดยใช้ มินิคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2522 : ได้นา ไมโครคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในธุรกิจขนาดเล็กมากขัน ้ พ.ศ. 2525 : ได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในด้านการเรียนการสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยโรงเรียนต่างๆ และมีการ เปิ ดสอนวิชาคอมพิวเตอร์กนอย่างแพร่หลาย ั
  • 12. ยุคของคอมพิวเตอร์  ตังแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็ นต้นไป ได้มีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ อย่างแพร่หลายจึงได้เริ่มมี ้ การจัดยุคหรือช่วงเวลาของคอมพิวเตอร์โดยถือเอาความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีเป็ นหลักในการ แบ่งยุค ได้มีการแบ่งยุคคอมพิวเตอร์ออกเป็ น 5 ยุค คือ
  • 13. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ ยุคทีหนึ่งของคอมพิวเตอร์ (FIRST GENERATION) (พ.ศ. 2494-2501) - ลักษณะของเครื่อง มีขนาดใหญ่โตมาก เกิดความร้อนสูง จึงต้องติดตังในห้องปรับอากาศตลอดเวลา ้ - วัสดุทใช้สร้าง ใช้หลอดสุญญากาศเป็ นหน่วยความจาภายใน ี่ - ความเร็วในการทางาน เป็ นวินาที ่ ่ - สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปกระดาษ และเทปแม่เหล็ก - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) และภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ี่ - ตัวอย่างเครื่อง UNIVAC I, IBM701, NCR102 รูปที่ 1.7 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1
  • 14. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ่ ยุคทีสองของคอมพิวเตอร์ (SECOND GENERATION) (พ.ศ. 2502-2513) - ลักษะณะของเครื่อง มีขนาดเล็กลง ใช้ความร้อนน้อยลง ทางานได้เร็วขึ้น - วัสดุทใช้สร้าง ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสุญญากาศ และมีวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) เป็ น ี่ หน่วยความจาภายใน ่ - ความเร็วในการทางาน มิลลิเซคคัน ่ ่ - สือข้อมูลทีใช้ ใช้บตรเจาะรูและเทปแม่เหล็กเป็ นส่วนใหญ่ ั - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาฟอร์แทรน (Fortran) และภาษาโคบอล (Cobol) ี่ - ตัวอย่างเครื่อง IBM1620, IBM1401, CDC1604, NCR315  รูปที่ 1.8 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในยุคที่สอง
  • 15. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ ยุคทีสามของคอมพิวเตอร์ (THIRD GENERATION) (พ.ศ. 2508-2513) - ลักษณะของเครื่อง มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม ใช้ความร้อนน้อยลงไปอีก มีความเร็วเพิ่มยิ่งขึ้นอีก และมี มินิคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น ่ี ่ - วัสดุทใช้สร้าง ใช้ไอซีแทนทรานซิสเตอร์เป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์ หลายร้อยตัว ่ - ความเร็วในการทางาน ไมโครเซคคัน ่ ่ - สือข้อมูลทีใช้ บัตรเจาะรู เทปแม่เหล็ก และจานแม่เหล็ก ่ี - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ภาษาพีแอลวัน (PL/1) และภาษาอาร์พีจี (RPG) 1.9 - ตัวอย่างเครื่อง IBM360, DC3300, NCR395, UNIVAC9400
  • 16. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ่ ี่ ยุคทีสของคอมพิวเตอร์ (FOURTH GENERATION) (พ.ศ. 2514-2523) ่ - ลักษณะของเครื่อง มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น ซึงไม่จาเป็ นต้องอยู่ในห้องปรับอากาศ คอมพิวเตอร์ทางาน เร็วขึ้นและมีประสิทธฺภาพมากขึ้น ่ - วัสดุทใช้สร้าง ใช้แอลเอสไอเป็ นหน่วยความจาภายใน ซึงสามารถทางานได้เท่ากับทรานซิสเตอร์พนตัว ี่ ั ่ ่ - ความเร็วในการทางาน นาโนเซคคันและพิโคเซคคัน ่ - สือข้อมูล เทปแม่เหล็กและจานแม่เหล็ก ส่วนบัตรเจาะรูใช้นอยลงมากกว่ายุคก่อน ้ - ภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ เริ่มมีภาษาใหม่ๆ เช่น ภาษาเบสิก (Basic) ภาษาปาสคาล (Pascal) และภาษาซี (C) ี่ - ตัวอย่างเครื่อง IBM370, IBM3033,UNIVAC9700, CDC7600, IBMPC (XT และ AT)  1.10
  • 17. ยุคของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ยุคที่หาของคอมพิวเตอร์ (FIFTH GENERATION) ้ (พ.ศ. 2524-ปั จุบน) ั หลายคนคิดว่าในปั จจุบน “คอมพิวเตอร์” ได้กาวสูยุคทีหาแล้ว กล่าวคือ นับตังแต่เริ่ม ค.ศ. 1983 เป็ นต้นมา ั ้ ่ ่ ้ ้ มีการคิดประดิษฐ์ให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจภาษามนุษย์ได้เลย มีการคิดทาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer ่ Network) ซึงหมายถึงการต่อเครื่องหลายเครื่องให้ทางานร่วมกัน มีการทาคอมพิวเตอร์ให้สามารถเก็บข้อมูลได้ทุก ่ ชนิด พูดง่ายๆ ให้เหมือนมนุษย์เข้าใจภาษามนุษย์ รับส่งข้อมูลทุกอย่างทีมนุษย์รบส่งได้ ฯลฯ ชิพจะมีขนาดเล็กลง ั ขณะเดียวกันมีวงจรผนึกแน่นขึ้นมากด้วย ในปั จจุบนสามารถเพิ่มได้ถึง 250,000 วงจรในชิพเล็กๆ ขนาด ¼ นิ้ว ั ่ ในอนาคตชิพขนาดนี้มวงจรผนึกถึงหนึ่งล้านตัว ซึงจะทาให้ประสิทธิภาพในการทางานสูงขึ้นด้วย ี ในยุคนี้ได้มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และความสะดวกสบายในการใช้ งานเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้ โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทังโครงการวิจยและพัฒนา ้ ั เกี่ยวกับ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดย หวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู ้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
  • 18. ประเภทของคอมพิวเตอร์  จากประวัตความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้วาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์มการพัฒนาเปลี่ยนแปลง ิ ่ ี ไปอย่างรวดเร็วมาก ทาให้ปัจจุบนมีเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มากมาย หลายรูปแบบตามความต้องการของ ั ผูใ้ ช้ การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นน สามารถจาแนกอกได้เป็ น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้ ั้ 1.แบ่งตามหลักการประมวลผล จาแนกได้เป็ น 3 ประเภท คือ 1.1คอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวล ่ ่ ข้อมูลทีอาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ใช้ขอมูลทีมีการเปลี่ยนแปลงแบบต่อเนื่อง (Continuous Data) ้ แสดงในลักษณะสัญญาณ ทีเ่ รียกว่า Analog Signal มักแสดงผลด้วยสเกลหน้าปั ด และเข็มชี้ เช่น การวัดค่า ความยาว โดยเปรียบเทียบสเกลบนไม้บรรทัด การวัดค่าความร้อนจากการขยายตัวของปรอทเปรียบเทียบกับ สเกลข้างหลอดแก้ว
  • 19. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ ื ่ี ่ 1.2 คอมพิวเตอร์แบบดิจตอล (Digital Computer) ซึงก็คอคอมพิวเตอร์ทใช้ในการทางานทัวๆ ไป ิ ่ ่ ่ ั นันเอง เป็ นเครื่องมือประมวลผลข้อมูลทีอาศัยหลักการนับ ทางานกับข้อมูลทีมีลกษณะการ เปลี่ยนแปลงแบบไม่ตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะสัญญาณไฟฟ้ า หรือ Digital Signal อาศัย ่ การนับสัญญาณข้อมูลทีเ่ ป็ นจังหวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใต้ระบบฐานเวลา (Clock Time) ่ ่ มาตรฐาน ทาให้ผลลัพธ์เป็ นทีน่าเชือถือ ทังสามารถนับข้อมูลให้คาความละเอียดสูง เช่น แสดงผลลัพธ์ ้ ่ เป็ นทศนิยมได้หลายตาแหน่ง เป็ นต้น
  • 20. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ 1.3 คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) คือเครื่องประมวลผลข้อมูลทีอาศัยเทคนิคการ ่ ทางานแบบผสมผสานระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทัวไปมักใช้ในงาน ่ เฉพาะกิจ โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศทีใช้ Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computer ในการคานวณ ระยะทาง เป็ นต้น คอมพิวเตอร์แบบลูกผสม (Hybrid Computer) การทางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ยงต้องอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เช่นเดิม ั
  • 21. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  2.แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน จาแนกได้เป็ น 2 ประเภท คือ 2.1เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง ่ เครื่องประมวลผลข้อมูลทีถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุมให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นการเฉพาะ ่ (Inflexible) โดยทัวไปมักใช้งานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมทีเ่ น้นการประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์ควบคุมไฟจราจร ควบคุมลิฟต์ หรือควบคุมระบบอัตโนมัตในรถยนต์ ิ 2.2 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผล ่ ข้อมูลทีมีความยืดหยุ่นในการทางาน (Flexible) โดยได้รบการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้งานประเภทต่างๆ ั ่ ได้โดยสะดวก เราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึ่งเราอาจใช้เครือง นี้ในงานประมวลผลเกี่ยวกับระบบบัญชี และสามารถใช้ในการออกเช็คเงินเดือนได้ เป็ นต้น
  • 22. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  โดยพิจารณาจากความสามารถในการเก็บข้อมูล 3. แบ่งตามความสามารถของระบบ จาแนกได้เป็ น 4 ประเภท และความเร็วในการประมวลผลเป็ นหลัก ดังนี้ ่ 3.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลทีมีความสามารถในการ ่ ประมวลผลสูงทีสุด สร้างขึ้นเป็ นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์และต้องการความเร็วสูง เช่น งานวิจย ั ่ ขีปนาวุธ งานโครงการอวกาศสหรัฐ (NASA) งานสือดาวเทียม หรืองานพยากรณ์อากาศ เป็ นต้น ่ ่ 3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลทีมีสวนความจาและ ่ ความเร็วน้อยลง สามารถใช้ขอมูลและคาสังของเครื่องรุนอืนในตระกูลเดียวกันได้ ้ ่ ่
  • 23. ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ่ 3.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini computer ) ธุรกิจหน่วยงานทีมีขนาดเล็กไม่จาเป็ นต้องใช้คอมพิวเตอร์ ่ ขนาดเมนเฟรมซึงมีราคาแพง 3.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลข้อมูลขนาดเล็ก มีสวนของ ่ ่ หน่วยความจาและความเร็วในการประมวลผลน้อยทีสุด เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.แบบติดตังใช้งานอยู่กบทีบนโต๊ะทางาน (Desktop Computer) ้ ั ่ 2.แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Computer) สามารถพกติดตัวได้ อาศัยพลังงานไฟฟ้ า จากแบตเตอรี่จากภายนอก เรียกว่า Laptop Computer หรือ Notebook Computer
  • 24. ่ องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์  ่ ่ 1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิงทีมองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทงหมดทีเ่ กี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่วา ั้ ่ จะเป็ นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ตอพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่ ่ เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้ นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อน ๆ ื่ ่ ่ 2.ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคาสังทีควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ่ ้ ่ ่ี ให้ได้ผลลัพธ์ตามทีตองการ ซึงคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทางานได้ ่ ่ ั่ ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซงเป็ นโปรแกรมหรือชุดคาสังทีสงให้ฮาร์ดแวร์ทางานตามต้องการได้ ึ่
  • 25. ่ องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ)  ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ่ั 1.)ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็ นซอฟต์แวร์ททาหน้าทีจดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ี่ ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอานวยความสะดวกด้านเครื่องมือสาหรับการทางานพื้นฐานต่าง ๆ 2.)ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ทสร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้ ี่ ่ ้ งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามทีผูใ้ ช้ตองการ เช่น งานด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การ ่ จัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอืน ๆ ตามแต่ผูใ้ ช้ตองการ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนก ้ ได้เป็ น 2 ประเภท คือ ่ 2.1ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือโปรแกรมซึงเขียนเพื่อการทางานเฉพาะอย่างทีเ่ ราต้องการ ่ 2.2ซอฟต์แวร์สาหรับงานทัวไป เป็ นโปรแกรมประยุกต์ทมีผูจดทาไว้เพื่อใช้ในการทางานประเภท ี่ ้ ั ่ ต่างๆ ทัวไป
  • 26. ่ องค์ประกอบของเครืองคอมพิวเตอร์ (ต่อ) นคอมพิวเตอร์ซง่ึ มีความรูเ้ กี่ยวกับ 3.)บุคคลากร (Peopleware) คือ บุคลากรในงานด้า ่ ่ ้ คอมพิวเตอร์สามารถใช้งาน สังงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางานตามทีตองการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ -ผูจดการระบบ (System Manager) ้ั -นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) -โปรแกรมเมอร์ (Programmer) -ผูใ้ ช้ (User) ่ ่ ่ ้ 4.)ข้อมูล เป็ นองค์ประกอบทีสาคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นสิงทีตองป้ อนเข้าไปใน ่ ั คอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมทีนกคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ทตองการออกมา ี่ ้