SlideShare a Scribd company logo
1 of 96
สเปกโทรสโกปีอินฟราเรดสเปกโทรสโกปีอินฟราเรด
ย่านใกล้ย่านใกล้
NearInfrared SpectroscopyNearInfrared Spectroscopy
(NIRS)(NIRS)
IntroductionIntroduction
Why near infrared spectroscopy?Why near infrared spectroscopy?
Why near infrared spectroscopy?Why near infrared spectroscopy?
ดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นต่างๆ
ค่าไขมัน
aw
%Brix
ค่าโปรตีน
ฯลฯ
Chemometrics
Application
Prediction
Classification
การดูดกลืน ความเข้มข้น
การประยุกต์ใช้งานการประยุกต์ใช้งาน
NIRS นำาไปใช้วิเคราะห์เพื่อ
ทำานายอะไรได้บ้าง?
Sky is a limit.Sky is a limit.
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับ NIRSNIRS
• ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เช่น การดูดกลืนแสง
ปฏิกิริยาของแสงกับตัวอย่าง
• เครื่องมือ เช่น ชนิด โหมดการวัด การ
เลือกอุปกรณ์ใส่ตัวอย่าง
• ปัจจัยที่มีผลต่อการวัดการดูดกลืนแสง
• Chemometrics ศาสตร์ระหว่าง
คณิตศาสตร์ เคมี และสถิติ
• การสร้างสมการแคลิเบรชั่น เช่น outlier
detection, เตรียมตัวอย่าง
สเปกโทรสโกปีสเปกโทรสโกปี (Near InfraRed
Spectroscopy)
• การศึกษาเกี่ยวกับการวัดและ
วิเคราะห์การดูดกลืนรังสีแม่เหล็ก
ไฟฟ้าของสสาร
• วิธีการวัดแบบ NIRS มีพื้นฐานจาก
การที่กลุ่มฟังก์ชัน (functional groups)
C-H, O-H และ N-H ดูดกลืนแสง
อินฟราเรดย่านใกล้
• ช่วงพลังงานแสงอินฟราเรดย่านใกล้
เป็นย่านแสงที่มองไม่เห็นด้วยตา
เปล่า ได้ถูกค้นพบก่อนแสงที่มองไม่
เห็นในย่านอื่นๆ (Blanco et al., 1998)
โดยนักวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์
ชาวเยอรมันที่เกิดในประเทศอังกฤษ
ชื่อ FrederickWilliam Herschel
http://www.glatt.com/e/11_presse/times23site/tms23_fundamentals_print.htm
Herschel ศึกษาเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างสีของ
แสงกับอุณหภูมิ
โดยใช้ปริซึมทำาจากแก้ว
(ซึ่งดูดกลืนแสงย่าน
อินฟราเรด mid-range IR)
• แสงในย่านใกล้อินฟราเรด (Near
Infrared, NIR) เป็นสเปกตรัมคลื่นแม่
เหล็กไฟ้าซึ่งตรงกับความยาวคลื่นใน
ช่วงตั้งแต่ประมาณ 780 จนถึง 2500
นาโนเมตร
http://www.glatt.com/e/11_presse/times23site/tms23_fundamentals_print.htm
ในยุคแรกแสงอินฟราเรดย่านใกล้ไม่ได้รับ
การยอมรับแม้ว่า
จะถูกค้นพบก่อน
• ในสมัยนั้นไม่สามารถค้นพบข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์และน่าสนใจ
• มีลักษณะเป็นสเปกตรัมที่มีจุดยอดที่ป้าน
กว้าง (broad band)
• อันเกิดจากผลรวมของแถบการดูดกลืน
แสง (sorption bands)
• เป็นการดูดกลืนแสงที่อ่อนกว่าย่าน
อินฟราเรด
IR and NIRIR and NIR
• IRspectroscopy เป็นเครื่องมือสำาคัญของ
นักเคมีอินทรีย์ที่ต้องการระบุ functional
group ใน unknown samples
• ช่วงคลื่นที่เป็นประโยชน์ของ mid-IR
spectra คือ ช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่ 8500
ถึง 12500 nmซึ่งลักษณะสเปกตรัมจะเป็น
สมบัติเฉพาะตัวของแต่ละโมเลกุล ที่เรียก
ว่า finger-print region เนื่องจากสามารถ
นำาไปใช้ยืนยันในการระบุชนิดของสาร
บริสุทธิ์ได้
ww.wcaslab.com
Infrared spectrum
IR and NIRIR and NIR
• ในปี 1905 WilliamW. Coblentz สามารถ
หาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอะตอม
ภายในโมเลกุลกับการดูดกลืนแสงในย่าน
mid-IR(2500 to 50000 nm)
• การดูดกลืนแสงเหล่านี้เป็นผลมาจาก
interactions กับการสั่นหลักของพันธะเคมี
ของอะตอมในโมเลกุล
IR and NIRIR and NIR
การดูดกลืนในย่านการดูดกลืนในย่าน NIRNIR
• ถ้าพันธะเคมีมีพฤติกรรมเหมือนสปริง
อ่อนทุกประการ ควอนตัม-
เมคานิกส์จะจำากัดการสั่นอยู่ระหว่างแค่
สองสถานะ และนั่นจะทำาให้เกิดการดูด
กลืนในย่าน NIRน้อยมาก เพราะทั้ง
สองสถานะนั้นเกิดในย่าน IRหมด
• อย่างไรก็ตาม การดูดกลืนในย่าน NIR
(780 to 2500 nm) เกิดจากการสั่นหลัก
IR and NIRIR and NIR
• NIRregion แยกจาก IRregion ได้โดยง่าย
เนื่องจาก IRregion ประกอบด้วย
fundamental mode of vibration ส่วนใน
ย่าน NIRจะประกอบด้วย overtones และ
combination modes ที่เกิดจาก electronic
transitions ซึ่งเป็นการดูดกลืนแสงที่ตำ่า
• Bands ที่มาจาก overtones และ
combination modes เป็น forbidden
transitions
IR and NIRIR and NIR
• Overtones เปรียบเหมือนเป็น
harmonics (หรือถ้าในกรณีเสียงก็คือ
เสียงคู่แปด).
• ดังนั้นทุกโหมดการสั่นหลักก็จะมี
อนุกรมการดูดกลืน เป็นจำานวนผล
คูณของความถี่จากการสั่นหลัก
(ความถี่เป็นสัดส่วนผกผันกับ
ความยาวคลื่น)
IR and NIRIR and NIR
• กรณี Combinations จะค่อนข้างซับ
ซ้อนกว่า overtones
• การดูดกลืนย่าน NIRจะเกิดที่สถานะ
การกระตุ้นสูงกว่าการดูดกลืนแบบ
หลัก (ที่เกิดกับ IR) และใช้พลังงาน
มากกว่า
• Combinations เกิดจากการใช้
พลังงาน NIRร่วมกันระหว่างการดูด
กลืนหลักสองแบบหรือมากกว่า
IR and NIRIR and NIR
• การดูดกลืนแบบ overtones ที่เกิดจาก
การดูดกลืนหลักจะมีน้อยกว่า
combinations มาก
• อย่างไรก็ตาม ผลจากการรวมการดูด
กลืนทั้งแบบ overtones และ
combinations ทำาให้ได้ NIRspectra ที่
ประกอบด้วยพีคป้านๆ ไม่กี่พีค ที่ดูแล้ว
ไม่น่าสนใจ
emwiki.ucdavis.edu 
ww.mymcat.com 
Infrared spectrum
Near infrared spectrum
Applicability of near-infrared reflectance spectroscopy (NIRS) for determination of crude protein
content in cowpea (Vigna unguiculata) leaves (pages 45–53) 2012 Erick K. Towett, Merle Alex, Keith D.
Shepherd, Severin Polreich, Ermias Aynekulu and Brigitte L. Maass
IR and NIRIR and NIR
• วิธีการวัดแบบ NIRS มีพื้นฐานจากการที่
กลุ่มฟังก์ชัน (functional groups) C-H, O-H
และ N-Hดูดกลืนแสงอินฟราเรดย่านใกล้
• Bands ที่เกิดจาก overtones และ
combination modes ในย่าน NIRมักจะ
เหลื่อมซ้อนกัน ทำาให้การกำาหนด bands
การดูดกลืนแสง (band assignment) ที่
สัมพันธ์กับองค์ประกอบในตัวอย่างเป็น
เรื่องที่ยุ่งยาก
• Bands ที่มาจาก overtones และ
IR and NIRIR and NIR
• เมื่อเปรียบเทียบ IRกับ NIRแล้วการดูด
กลืนแสงในย่าน NIRจะค่อนข้างตำ่า
อย่างไรก็ตามสิ่งนี้ถือเป็นข้อดี เพราะนั่น
หมายถึงแสง NIRสามารถส่องผ่านเข้าไป
ในตัวอย่างได้มากกว่าแสง IR
• ดังนั้นใน NIRregion จะสามารถเลือกเซล
ใส่ตัวอย่างที่หนาตั้งแต่ 1 cmได้จนถึง 10
cmในขณะที่ในย่าน IRregion เซลใส่
ตัวอย่างจะต้องมี light path length ที่สั้น
มากๆ เนื่องจากมีการดูดกลืนแสง IRสูง
Figure 2 คือ NIRspectrumของ chloroform,
CHCl3, มีโมเลกุลประกอบด้วยอะตอม
ไฮโดรเจน 1 อะตอม และการดูดกลืนแสงที่
เกิดขึ้นทั้งหมดมาจากอะตอมไฮโดรเจนนี้ ดัง
นั้น NIRspectroscopy จะเกี่ยวข้องกับอะตอม
ไฮโดรเจนเป็นหลัก
Figure 3 คือ สเปกตรัมของเมทานอล,
CH3OH, ซึ่งมีอะตอมไฮโดรเจน 4
อะตอม สเปกตรัมนี้มีพีคที่ป้านกว้าง
ซึ่งเป็นสมบัติของสเปกตรัม NIR
• Figure 4 คือ สเปกตรัมของซูโครส,
C12H24O12, ซึ่งแสดงให้เห็นถึงช่วงการดูด
กลืนแสงที่ป้านกว้างหลายช่วง และพีค
แคบๆ เช่นเดียวกัน
• การดูดกลืนแสงเป็นพีคป้านกว้างนี้มี
สาเหตุมาจากพีคแคบๆ หลายๆ พีค
IR and NIRIR and NIR
• เนื่องจากความซับซ้อนของการดูดกลืน
แสงในย่าน NIRเมื่อเทียบกับย่าน mid-IR
ซึ่งเข้าใจได้ง่ายกว่า นักวิจัยส่วนใหญ่ใน
ยุคนั้นจึงไม่สนใจที่จะศึกษาและวิจัยเกี่ยว
กับการดูดกลืนแสงย่าน NIR
• Karl Norris: ซึ่งเป็นวิศวกรทำางานที่ USDA
ได้แสดงให้เห็นว่า การดูดกลืนแสงในย่าน
NIRมีประโยชน์ต่อการวิเคราะห์เชิง
คุณภาพสำาหรับตัวอย่างทางการเกษตร
• เหตุผลหนึ่งที่ NIRมีประโยชน์ก็คือ
• เทคนิคสเปกโทรสโกปีย่านใกล้
อินฟราเรดถูกนำามาใช้งานครั้งแรกใน
ด้านการเกษตรโดย Karl Norris (1964)
เพื่อวัดความชื้นในธัญพืช
ภาพจาก ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ
NorrisNorris และทีมงานพบว่าและทีมงานพบว่า
• วิธีระบุความยาวคลื่นที่สอดคล้องกับการ
ดูดกลืนแสง (Band assignment method)
โดยทั่วไปไม่เพียงพอในการดึงข้อมูลจาก
สเปกตรัมที่ซับซ้อนของ NIR
• แสงในย่านใกล้อินฟราเรดสามารถเปิด
เผยให้ทราบถึงข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
คุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร
มากมาย
• Chemometrics ที่เป็นเทคนิคและวิธีการ
ปรับแต่งข้อมูล (data pretreatment) ช่วย
ทำาให้สามารถดึงข้อมูลจากสเปกตรัมที่มี
Near-Infrared Spectroscopy—Its Versatility in Analytical Chemistry
Yukihiro OZAKI (2012)
• แสงในย่านใกล้อินฟราเรดมีความเหมาะ
สมในการนำามาใช้กับวัสดุทางการเกษตร
ที่มีความชื้นสูงเมื่อเทียบกับแสงย่าน
อินฟราเรด
• แสงอินฟราเรดจะถูกดูดกลืนอย่างมาก
โดยนำ้า ทำาให้การวัดแสงที่ส่องผ่านหรือ
สะท้อนทำาได้ลำาบาก
http://www.scielo.br/img/revistas/jbchs/v14n2/15598f9.gif
ในปัจจุบันในปัจจุบัน
• ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง
• มีการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ อย่าง
แพร่หลาย
• เป็นยักษ์ที่หลับมานาน และได้ตื่นขึ้นมา
แล้ว
• ยักษ์ตนนี้อยู่ในสภาวะที่กำาลังออกวิ่งนำา
หน้าเทคนิคอื่นๆ ในไม่ช้า
• ขึ้นอยู่กับวิธีมาตรฐานที่ใช้ในการหาค่า
ทางเคมีที่ต้องการวัดในตัวอย่าง
• สมการทำานายที่มีความแม่นยำาและนำามา
http://media.strategywiki.org/images/c/cd/MS_Monster_Evil_Spirit_Giant.gif
Absorbance
Wavelength (nm)
Soybean
Rice
Protein
Water
Oil
Starch
Absorbance
Wavelength (nm)
Soybean
Rice
Protein
Water
Oil
Starch
Absorbance
Wavelength (nm)
Soybean
Rice
Protein
Water
Oil
Starch
Absorbance
Wavelength (nm)
Soybean
Rice
Protein
Water
Oil
Starch
ทฤษฎีทฤษฎี
• การดูดกลืนรังสีอินฟราเรดถูกจำากัดส่วน
ใหญ่ในโมเลกุลที่มีความแตกต่างระดับ
พลังงานในช่วงพลังงานสั่นและพลังงาน
การหมุน
• พลังงานที่ต้องการเพื่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของการหมุนจะมีค่า
น้อยกว่าพลังงานที่ต้องการสำาหรับให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงสถานะของการสั่นอย่าง
มาก
ความแตกต่างพื้นฐานระหว่างความแตกต่างพื้นฐานระหว่าง NIRNIRและและ
สเปกโทรสโกปีย่านสเปกโทรสโกปีย่าน mid-IRmid-IR
• การดูดกลืนแสงในย่านใกล้อินฟราเรดจะ
เกิดจากโอเวอร์โทน (overtones) และคอม
บิเนชัน (combinations) หรือผลรวมของ
แถบคลื่นความถี่ของการสั่นหลัก (OH, NH
และ CHฟังก์ชัน) ที่เกิดในย่านกลาง
อินฟราเรด (Mid Infrared, MIR) 400 –
4000 cm-1
พันธะเคมีกับการดูดกลืนพลังงานพันธะเคมีกับการดูดกลืนพลังงาน
• เราสามารถเปรียบพันธะเคมีเป็น
เสมือนสปริงอ่อน ที่ยึดอะตอมตั้งแต่ 2
อะตอมขึ้นไปเข้าด้วยกัน สปริงดัง
กล่าวจะสั่นตามธรรมชาติ และเมื่อได้
รับพลังงานก็จะสั่นอย่างแรงมากขึ้น
• อย่างไรก็ตาม อะตอมในโมเลกุลจะมี
พฤติกรรมเป็นไปตามควอนตัมเมคา
นิกส์ นั่นคือ จะมีระดับพลังงานเฉพาะ
หนึ่งๆ (quantum)เท่านั้นที่สามารถ
กระตุ้นพันธะหรือถูกดูดกลืนได้
แสงอินฟราเรดจะถูกดูดกลืนได้ก็ต่อแสงอินฟราเรดจะถูกดูดกลืนได้ก็ต่อ
เมื่อเมื่อ
• แสงจะต้องมีพลังงานสูงเพียงพอที่จะ
ทำาให้เกิดการเปลี่ยนระดับพลังงาน
การสั่นในโมเลกุลที่เกี่ยวข้อง
• ความถี่ของแสงจะต้องเหมือนกับ
ความถี่การสั่นหลัก (fundamental
vibration frequency) สำาหรับโมเลกุ
ลนั้นๆ
µπ
ν
k
2
1
=
21
21
mm
mm
+
=µ
m1 m2
k
ν is frequency and k is a force constant
Harmonic VibrationHarmonic Vibration
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
2
2
1
kxV =
http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/
%E2%80%8Chbase/quantum/hosc.html
v
http://131.104.156.23/Lectures/CHEM_207/vibrational_spectroscopy
• การสั่นแบบ simple harmonic oscillation
ไม่สามารถอธิบายพฤติกรรมของโมเลกุลได้
สมบูรณ์ เนื่องจากเป็นระบบที่มีขนาดเล็กมาก
• ทั้งนี้เนื่องจากระบบโมเลกุลจะไม่สามารถ
ใช้ได้กับการดูดกลืนหรือคายพลังงานอย่าง
ต่อเนื่องได้ เหมือนกับที่โมเดลมวลกับสปริง
อธิบายได้
• ระบบโมเลกุลสามารถดูดกลืนหรือคาย
พลังงานได้เฉพาะระดับพลังงานที่แตกต่างกัน
แน่นอน (Eυ) ตามกฎควอนตัมเมคานิกส์
เท่านั้น ซึ่งเป็นไปตามสมการดังนี้:
νυυ hE 





+=
2
1
• Although the harmonic model can help understanding vibrational
spectroscopy, it produces some disappointing restrictions for NIR
spectroscopy because it can not permit transitions where ∆υ is
greater than 1 (selection rule of n ± 1 ).
• Transitions with ∆υ = 2 or greater (absorption frequencies of 2n, 3n
etc.) are forbidden by the harmonic/quantum model and, in this
way, most of the observable phenomena in the NIR region, the
overtones bands, should not exist.
• Also, the vibrations in the harmonic model are independent and
their combinations would not exist under the restrictions imposed
by the model.
• Nevertheless, both overtones and combination bands exist.
Pasquini Near Infrared Spectroscopy: Fundamentals, Practical Aspects and Analytical Applications
J. Braz. Chem. Soc., Vol. 14, No. 2, 198-219, 2003.
Anharmonic VibrationsAnharmonic Vibrations
• The fact that springs eventually loose their elasticity and
break has its correspondence in the quantum chemical
oscillator.
• The key to a correct description is the use of an anharmonic
potential.
• A consequence of anharmonicity is, that the vibratory levels
are now not evenly spaced but tend to become closer with
increasing quantum numbers.
• One way to address this issue is to assume that the individual
energies En from the harmonic case are only the first linear
term of a series that comprises terms of higher order.
ν = 0
ν = 3
ν = 2
ν = 1
ν = 0
ν = 3
ν = 2
ν = 1
de de
Interatomic Distance
PotentialEnergy(V)
A
Harmonic Potential
B
Anharmonic Potential
Dissociation
Fundamental
First overtone
Second overtone
2
2
1
kxV =
νυυ hE 





+=
2
1 )
2
1
()
2
1
(1)
2
1
()
2
1
( 2
+



+−≅+−+≅ υυνυνυν mm xhhxhE
( )2)(
1 erra
e eDV −−
−=
การสั่นของพันธะที่ประกอบด้วยการสั่นของพันธะที่ประกอบด้วย 22 อะตอมอะตอม
De
โหมดการสั่น (Modes of vibration)
Symmetrical Asymmetrical Symmetrical
stretching stretching in-plane deformation
(scissoring)
Asymmetrical Symmetrical Asymmetrical
in-plane deformation out-of-plane deformation out-of-plane deformation
(rocking) (wagging) (twisting)
Bending
Bending
Symmetrical stretching Asymmetrical stretching
Symmetrical
In-plane deformation
(Scissoring)
Asymmetrical
In-plane deformation
(Rocking)
Symmetrical
Out-of-plane deformation
(Wagging)
Asymmetrical
Out-of-plane deformation
(Twisting)
Absorption due to overtoneAbsorption due to overtone
νn
= nν0
[1 – (n + 1)X]
Where
n = positive integer
ν0
= wave number of the fundamental vibration
X = anharmonicity constant
Absorption due to combinationAbsorption due to combination
νn
= n1ν1
+ n2ν2
Where
n1, n2 = positive integers
ν1 ,
ν2
= wave number of the fundamental vibration
Simultaneous excitation of more than one
quantum number gives rise to a combination band.
สำาหรับโมเลกุลที่มีอะตอมหลายอะตอมสำาหรับโมเลกุลที่มีอะตอมหลายอะตอม
((polyatomic moleculespolyatomic molecules))
• มีความถี่หลักหลายความถี่
• มีการเปลี่ยนระดับพลังงานที่โหมดการ
สั่นมากกว่าหนึ่งโหมด
• เป็นการเปลี่ยนระดับพลังงานการสั่น
จากสถานะพื้นไปยังสถานะกระตุ้นของ
หลายพันธะพร้อม ๆ กันในโมเลกุล
ทำาให้เกิดแถบดูดกลืนผลรวมของความถี่
• ความถี่ที่สังเกตได้จะเกิดจากผลบวก
หรือผลต่างของความถี่หลักของแต่ละ
โหมดด้วย (f1 + f2, 2f1 + f2 ฯลฯ หรือ f1 - f2,
• โอเวอร์โทนจะเกิดที่แถบคลื่นความถี่ที่
เป็นผลคูณจำานวนเต็มของแถบคลื่น
ความถี่หลัก
• ตัวอย่างเช่น โอเวอร์โทนของพันธะ C-H
ที่มีแถบคลื่นความถี่หลักที่
2960 cm-1
(C-HStretch) จะเกิดใกล้กับค่า
2960 cm-1
x 2 = 5920 cm-1
= 1689 nmและที่
2960 cm-1
x 3 = 8880 cm-1
= 1126 nm
• ส่วนคอมบิเนชันจะเกิดที่ใกล้กับผลบวก
ของสองหรือสามแถบคลื่นความถี่ยก
ตัวอย่างเช่น
คอมบิเนชันของ C-Hจะเกิดใกล้ๆ ที่
2960 cm-1
(C-HStretch) + 1460 cm-1
(C-H
Bond vibrationBond vibration Wavenumber
(cm-1)
Wavelength
(nm)
Asymmetrical stretching of NH 3400 2941
Symmetrical stretching of NH 3300 3030
Overtone of asymmetrical stretching of
NH
6803 1470
Overtone of symmetrical stretching of NH 6536 1530
Combination of symmetrical stretching
and asymmetrical stretching of NH
6666 1500
Fundamental, overtone andFundamental, overtone and
combination vibrations of ureacombination vibrations of urea
1 introduction to nirs

More Related Content

What's hot

พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการSomyot Ongkhluap
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Thai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object IdentifierThai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object IdentifierBoonlert Aroonpiboon
 
Aula 13 ferros fundidos nodulares
Aula 13   ferros fundidos nodularesAula 13   ferros fundidos nodulares
Aula 13 ferros fundidos nodularesRonald Vasconcelos
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่
12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่
12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่Wichai Likitponrak
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดMiss.Yupawan Triratwitcha
 

What's hot (20)

กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Thai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object IdentifierThai DOI - Digital Object Identifier
Thai DOI - Digital Object Identifier
 
1 4
1 41 4
1 4
 
Aula 13 ferros fundidos nodulares
Aula 13   ferros fundidos nodularesAula 13   ferros fundidos nodulares
Aula 13 ferros fundidos nodulares
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Dureza Hv
Dureza HvDureza Hv
Dureza Hv
 
1 3
1 31 3
1 3
 
2 2
2 22 2
2 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่
12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่
12ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 

Viewers also liked

Particle in a Box problem Quantum Chemistry
Particle in a Box problem Quantum ChemistryParticle in a Box problem Quantum Chemistry
Particle in a Box problem Quantum ChemistryNeel Kamal Kalita
 
SIP Report- Aman Agrawal
SIP Report- Aman AgrawalSIP Report- Aman Agrawal
SIP Report- Aman AgrawalAman Agrawal
 
Caterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines s
Caterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines sCaterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines s
Caterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines sZubes Masade
 
Caterpillar Case Study Presentation
Caterpillar Case Study PresentationCaterpillar Case Study Presentation
Caterpillar Case Study PresentationAman Agrawal
 
Fuel Injection Systems
Fuel Injection SystemsFuel Injection Systems
Fuel Injection SystemsRajat Seth
 
Diesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination Control
Diesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination ControlDiesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination Control
Diesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination ControlMd. Moynul Islam
 
Fuel Injection and Ignition
Fuel Injection and IgnitionFuel Injection and Ignition
Fuel Injection and Ignitionguest2c6da6
 

Viewers also liked (15)

Engine systems diesel engine analyst - parte 4
Engine systems   diesel engine analyst - parte 4Engine systems   diesel engine analyst - parte 4
Engine systems diesel engine analyst - parte 4
 
Las instituciones
Las institucionesLas instituciones
Las instituciones
 
Particle in a Box problem Quantum Chemistry
Particle in a Box problem Quantum ChemistryParticle in a Box problem Quantum Chemistry
Particle in a Box problem Quantum Chemistry
 
SIP Report- Aman Agrawal
SIP Report- Aman AgrawalSIP Report- Aman Agrawal
SIP Report- Aman Agrawal
 
Caterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines s
Caterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines sCaterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines s
Caterpillar operation and maintenance manual 3500 b engines s
 
Caterpillar Case Study Presentation
Caterpillar Case Study PresentationCaterpillar Case Study Presentation
Caterpillar Case Study Presentation
 
Caterpillar.Inc case study analysis
Caterpillar.Inc case study analysisCaterpillar.Inc case study analysis
Caterpillar.Inc case study analysis
 
Caterpillar
CaterpillarCaterpillar
Caterpillar
 
Engine systems diesel engine analyst - parte 3
Engine systems   diesel engine analyst - parte 3Engine systems   diesel engine analyst - parte 3
Engine systems diesel engine analyst - parte 3
 
Fuel Injection Systems
Fuel Injection SystemsFuel Injection Systems
Fuel Injection Systems
 
Diesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination Control
Diesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination ControlDiesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination Control
Diesel Engine Lubrication and Lube Oil Contamination Control
 
Engine systems diesel engine analyst - full
Engine systems   diesel engine analyst - fullEngine systems   diesel engine analyst - full
Engine systems diesel engine analyst - full
 
Engine systems diesel engine analyst - part 2
Engine systems   diesel engine analyst - part 2Engine systems   diesel engine analyst - part 2
Engine systems diesel engine analyst - part 2
 
Fuel Injection and Ignition
Fuel Injection and IgnitionFuel Injection and Ignition
Fuel Injection and Ignition
 
Engine systems diesel engine analyst - part 1
Engine systems   diesel engine analyst - part 1Engine systems   diesel engine analyst - part 1
Engine systems diesel engine analyst - part 1
 

1 introduction to nirs