SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
หน่วยที่ 1
การพิมพ์สกรีนและอุปกรณ์ซิลสกรีน
จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพิมพ์แบบต่างๆ
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอุปกรณ์การพิมพ์ซิลสกรีน
3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการเลือกใช้วิธีพิมพ์
4. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการเลือกใช้อุปกรณ์การพิมพ์ซิลสกรีน
5. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการนาสิ่งทดแทนวัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพง
6. เพื่อให้มีทักษะในการใช้ไม้ทากรอบสกรีน
7. เพื่อให้มีความรู้เรื่องการพิมพ์ ทางานรอบครอบ รู้วิธีผลิตอุปกรณ์ซิลสกรีน
ขึ้นใช้เอง
ความหมายของการพิมพ์
การพิมพ์ คือ การถ่ายทอดหมึกพิมพ์ลงบนชิ้นงาน วิธีการพิมพ์
เครื่องมือที่ใช้พิมพ์ ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของงาน จานวนชิ้นงาน ค่าใช้จ่ายในการ
พิมพ์
การพิมพ์ด้วย “ระบบซิลสกรีน”
การพิมพ์ด้วยระบบซิลสกรีน เป็นการพิมพ์ที่มีระบบและหลักการง่ายๆ
ซึ่งสามารถพิมพ์ได้บนวัสดุชนิดและรูปทรงต่างๆ ได้ดี สามารถทาได้เองในบ้านไป
จนถึงตั้งโรงงานขนาดใหญ่ เป็นอุตสาหกรรมที่ลงทุนน้อยแต่สามารถทาผลกาไรได้
มาก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถและเชาวน์ทางศิลป์ ในการที่จะนาหลักการพิมพ์
ง่ายๆ ไปดัดแปลงให้เหมาะสม
การพิมพ์ด้วยระบบ “ซิลสกรีน” มีหลักการอย่างไร ?
มีหลักการง่ายๆ คือ การปาดหมึกพิมพ์ผ่านผ้าสกรีนที่ขึงตึงบนกรอบ
เหลี่ยม ต้องการให้หมึกผ่านผ้าสกรีนออกมาเป็นลวดลายใดๆ ก็ให้เปิดหรือปิดรูผ้า ใน
ส่วนที่ต้องการให้หมึกออกตามลวดลายเช่นนั้น
หัวใจของการพิมพ์ด้วย “ระบบซิลสกรีน” คืออะไร ?
การพิมพ์ระบบนี้สามารถใช้พิมพ์ลงบนวัสดุรูปทรงแบน กลม ไข่ เหลี่ยม
หรือรูปทรงแปลกๆ ทั้งหลาย การพิมพ์ระบบนี้ใช้การปาดหมึกพิมพ์ผ่านผ้าสกรีน
ลงไปติดบนวัสดุ เพราะฉะนั้นปริมาณของหมึกพิมพ์จึงผ่านลงไป เกาะยึดบนวัสดุ
ที่พิมพ์ได้มากและทึบกว่าการพิมพ์ระบบอื่นๆ จึงทาให้ภาพพิมพ์แลดูสด สวย
คงทน
ประเภทของการพิมพ์
จาแนกตามกรรมวิธีพิมพ์
2.1 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์นูน(Relief หรือ Letter Press Printing)
2.2 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing หรือ Rotogravure)
2.3 การพิมพ์ด้วยแสง (Photographic Printing)
2.4 การพิมพ์ด้วยไฟฟ้ าสถิตย์ (Electrostatic Printing)
2.5 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์พื้นแบน (Planographic Printing)
2.6 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Stencil Printing)
2.7 การพิมพ์ด้วยความร้อน (Heat Transfer Printing)
2.8 การพิมพ์ด้วยการยิงประจุอิเล็กตรอน (Electron Gun Printing)
การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์นูน(Reliefหรือ Letter Press Printing)
ในปัจจุบันระบบการพิมพ์พื้นนูน มี 2 ระบบ
1. ระบบเลตเตอร์เพรส (Letterpress)
2. ระบบเฟลกโซกราฟฟี่ (Flexography)
ระบบเลตเตอร์เพรส (Letterpress)
เป็ นการพิมพ์พื้นนูนที่ใช้
แม่พิมพ์ทาจากโลหะผสมหรื อ
พอลิเมอร์อย่างหนา กัดผิวจนเหลือ
ส่วนที่เป็นภาพนูนสาหรับรับหมึก
พิมพ์แล้วถ่ายทอดลงบนวัสดุที่ใช้
พิมพ์โดยใช้วิธีทับ
ระบบเฟลกโซกราฟฟี่ (Flexography)
เป็นการพิมพ์พื้นนูนที่ใช้แผ่นพอลิเมอร์
ที่มีความยืดหยุ่นที่ดี เป็นแม่พิมพ์โดยกัด
ส่วนที่ไม่รับหมึกเว้าลึกลงไป
การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing หรือ Rotogravure)
ความเร็วในการพิมพ์จึงสูงเหมือนกับการพิมพ์ชนิด โรตารี โดยทั่วไปคือ
ประมาณ 20,000 – 30,000 รอบต่อชั่วโมง
การพิมพ์ด้วยแสง (Photographic Printing)
การพิมพ์ด้วยไฟฟ้ าสถิตย์ (Electrostatic Printing)
การพิมพ์ด้วยวิธีไฟฟ้ าสถิต
ช่วยปฏิวัติงานในวงการพิมพ์ ทาให้
ได้งานที่รวดเร็ว เพราะไม่ต้องใช้การ
ถ่ายภาพหรือการทาแม่พิมพ์ในการ
ผลิตสาเนาจานวนมาก การพิมพ์ด้วย
วิธีนี้ได้แก่
การถ่ายเอกสาร
การพิมพ์เอกสาร
การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์พื้นแบน (Planographic Printing)
แม่พิมพ์ชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นแผ่น
แบน (Plate) การพิมพ์จะอาศัยหลักการทาง
เคมี คือ เมื่อจัดทาภาพบนแผ่นโลหะแบน
แล้ว คุณสมบัติที่ต้องการคือ เมื่อทาหมึกลง
บนแผ่นนั้นส่วนที่เป็นภาพจะดูดหมึกไว้
ส่วนที่ไม่มีภาพคือไม่ต้องการพิมพ์จะไม่ดูด
หมึก เมื่อนาไปกดทับกระดาษหมึกก็จะติด
บนกระดาษเป็นภาพที่ต้องการได้ การพิมพ์
แบบนี้เป็นที่นิยมมากเรียกว่าระบบออฟเซท
(Offset) เหมาะสาหรับการพิมพ์ตัวหนังสือ
และภาพหลายเส้น ลงบนแผ่นกระดาษ แผ่น
โลหะ หรือผ้าก็ได้
การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Stencil Printing)
การพิมพ์วิธีนี้แผ่นแม่พิมพ์เป็นแผ่นบางๆทึบ
หมึกผ่านไปไม่ได้โดยการพิมพ์วิธีนี้ใช้สาหรับการ
พิมพ์โปสเตอร์ แผ่นโฆษณาใบปลิว เป็ นต้น
นอกจากใช้พิมพ์บนกระดาษแล้วอาจใช้พิมพ์บนผ้า
เช่น การพิมพ์ผ้าปาเต๊ะใช้พิมพ์โดยวิธีนี้ อาจพิมพ์ลง
บนสังกะสี บนไม้ บนแก้ว เช่นขวดแก้วน้าอัดลม
โดยทั่วไปใช้พิมพ์ด้วยวิธีนี้ และอาจพิมพ์บน
พลาสติกได้ด้วย
การพิมพ์ด้วยความร้อน (Heat Transfer Printing)
เป็นการพิมพ์ที่ใช้กลไกลการถ่ายโอนความร้อนไปทาให้หมึกพิมพ์เปลี่ยน
สถานะแล้วเคลื่อนที่ไปสร้างภาพบนวัสดุใช้พิมพ์ โดยใช้หมึกพิมพ์ที่เคลือบบนฟิล์ม
พลาสติก พิมพ์ได้ทั้งงานพิมพ์สีเดียว หลายสี และสอดสี การพิมพ์ไร้แรงกดแบบถ่ายโอน
ความร้อนมี 2 ระบบคือ
การพิมเทอร์มัลแวกซ์
การพิมพ์ระเหิดสีย้อม
การพิมพ์ด้วยการยิงประจุอิเล็กตรอน (Electron Gun Printing)
ระบบกราฟิกแบบอินเทอร์แอคทีฟ ประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 4 ส่วน คือ
1. คอมพิวเตอร์
2. จอภาพสาหรับการแสดงภาพ
3. อุปกรณ์ข้อมูล
4. ข้อมูลจากผู้ใช้และอุปกรณ์สาหรับพิมพ์ภาพ
จาแนกตามการใช้งาน
จาแนกตามการใช้งาน แบ่งได้เป็น 2 ระบบ คือ
1. ระบบการพิมพ์ในสานักงาน
เป็นการพิมพ์เอกสาร ที่แต่ละชิ้นแตกต่างกัน ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดีด (Typewriter)
เครื่องพิมพ์สาหรับคอมพิวเตอร์ (Printer) เครื่องถ่ายเอกสาร (Copier) เครื่องปรุไข (Stencil
Duplicating Machine) เครื่องอัดสาเนา (Duplicating Machine) และเครื่อง Copy Print เป็นต้น
2. ระบบการพิมพ์ในโรงพิมพ์
เป็นงานพิมพ์ที่ทาซ้ากันจานวนมากเป็นหลักพันขึ้นไปได้แก่ การพิมพ์ออฟเซต
การพิมพ์สกรีน เป็นต้น
การพิมพ์สกรีน (Screen Printing)
การพิมพ์สกรีนหรือการพิมพ์ “ซิลสกรีน” มีหลักการคือ ปาดหมึกพิมพ์ผ่านผ้าสกรีน
ทียึดบนกรอบ ให้หมึกพิมพ์ผ่านผ้าลงไปติดกับวัสดุที่จะพิมพ์ใช้พิมพ์ลงบนวัตถุได้แทบทุกชนิด
ไม่ว่าจะเป็นทรงแบน กลม เหลี่ยม หรือรูปทรงแปลกๆ ทั้งหลาย ผ้าซิลสกรีนเดิมเป็นผ้าไหม
การพิมพ์สกรีน (Screen Printing)
ปัจจุบันใช้เป็นใยสังเคราะห์ หรือเส้น การพิมพ์สกรีนจึงได้ถูกนาไปใช้อย่าง
กว้างขวาง ดังต่อไปนี้ คือ
1. พิมพ์โปสเตอร์โฆษณาขนาดใหญ่
2. พิมพ์บนแก้ว พลาสติก กระเบื้องเคลือบ
3. พิมพ์ผ้า เสื้อ และสิ่งทอต่างๆ ได้
4. พิมพ์งานเป็นศิลปะ เช่น งานภาพพิมพ์ต่างๆ
5. พิมพ์แผนวงจรพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ พิมพ์แผ่น CD จอภาพโทรทัศน์สี
วัสดุ อุปกรณ์ในการทาซิลสกรีน
วัสดุ คือ ของใช้ที่ใช้หมดไป เช่น กาวอัด น้ายาไวแสง หมึกพิมพ์ น้ามัน
น้ายาสารเคมีต่างๆ
อุปกรณ์ คือ เครื่องมือ เครื่องใช้ช่วยในการทาซิลสกรีน อุปกรณ์ที่จาเป็น
เช่น กรอบ ผ้าสกรีน ตู้ไฟถ่ายสกรีน ยางปาด อุปกรณ์ช่วยให้งานง่ายขึ้น เช่น ราง
ปาด โต๊ะพิมพ์งาน บานพับจับบล็อก เครื่องดึงผ้าสกรีน เครื่องยิงลวด ถุงทรายทับ
แบบ
กรอบสกรีน (Screen Frame)
กรอบสกรีนทาหน้าที่ยึดผ้าสกรีนให้ตึง วัสดุที่ใช้ทากรอบสกรีน เช่น ไม้
อะลูมิเนียม สแตนเลส
ประเภทของกรอบสกรีน
กรอบไม้ (Wooden Frame) เป็นกรอบที่ประกอบเองได้
กรอบอะลูมิเนียม (Aluminium Frame) เป็นกรอบที่คงทนมาก ออกแบบ
ให้ถอดและใส่ผ้าที่ถ่ายแบบแล้วได้ หรือยึดผ้าให้ติดกรอบด้วยกาว
กรอบเหล็ก (Steel Frame) หรือสแตนเลส เป็นกรอบที่แข็งแรง ขนาดใหญ่
ขอบบางกว่า กรอบอะลูมิเนียม ทนแรงดึงมากไม่บิดงอง่าย แต่น้าหนักมาก เหมาะ
กับงานพิมพ์ขนาดใหญ่
ขนาดของกรอบสกรีน
ผ้าสกรีน (Ssceen Fabric)
ผ้าสกรีน คือ ผ้าที่มีขนาดของรูผ้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ ทาจาก
ไนลอน โพลิเอสเตอร์ (Nylon, Polyester) เส้นทองแดง หรือเส้น สแตนเลส
(Stanless Stteel)
ขนาดของรูผ้า หรือความห่างระหว่างเส้นใย บอกขนาดเป็นตัวเลข
เช่น ผ้าสกรีนเบอร์ 60, 90, 100, 120, ตัวเลข(นัมเบอร์) นี้มาจากจานวน
เส้นด้ายต่อความยาว 1 เซนติเมตร หรือ ความยาว 1 นิ้ว ซึ่งส่วนใหญ่ที่ใช้กัน
จะเป็นระบบเมตริก คือเซนติเมตร เบอร์ของผ้ายิ่งมากขึ้น ขนาดของรูผ้าก็จะ
เล็กลง
ผ้าสกรีน (Screen Fabric)
การเลือกใช้เบอร์ผ้าสกรีนให้ถูกต้องเหมาะสมกับงานที่จะพิมพ์ คือ
1. พิมพ์ผ้า ใช้ประมาณ เบอร์ 18 – 70 เป็นผ้า Screen ที่มีขนาดรูของผ้า
ใหญ่ เพื่อให้หมึกลงได้มาก ส่วนใหญ่ในแบบ หรือภาพที่มีเส้นใหญ่มีการดูดซึมของ
หมึกมาก
2. พิมพ์กระดาษ ไม้ โปสเตอร์ ใช้ผ้าประมาณเบอร์ 90 – 120 รูของผ้าปาน
กลาง ใช้ใน การพิมพ์งานระดับธรรมดาจนถึงลายเส้นเล็ก
3. พิมพ์แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ สติ๊กเกอร์ ป้ ายฉลาก ภาชนะพลาสติก ใช้
เบอร์ผ้า 130 – 200 เป็นผ้าที่มีขนาดรูผ้าละเอียดมาก ใช้ในการพิมพ์งานลายเส้นเล็ก
และคมชัดมากๆ
ผ้าสกรีน (Screen Fabric)
ผ้าสกรีน (Screen Fabric)
เบอร์ผ้า ความเหมาะสมกับการใช้งาน
18,20,36,48,54,61,68,77
90,95,100,110,120
130,140,150,165,180,200
พิมพ์ผ้าตั้งแต่ลายหยาบ จนถึงรายละเอียดเพราะใน
การพิมพ์ผ้าต้องการปริมาณหมึกพิมพ์ที่ไหลผ่าน
ออกมามาก
พิมพ์กระดาษ ไม้โลหะ พลาสติก ที่ต้องการให้
ปริมาณหมึกพิมพ์ไหลออกปานกลาง และภาพมี
รายละเอียดของเส้นประมาณ 1 – 2 มม. ขึ้นไป
พิมพ์กระดาษ ไม้โลหะ พลาสติก ที่ต้องการปริมาณ
หมึกพิมพ์ไหลออกบาง และภาพมีรายละเอียดของ
เส้นประมาณ 1 มม. ลงมา
ยางปาด (Squeegee)
ผลิตจากยางสังเคราะห์มีความแข็งแรง ยืดหยุ่นดี คงทนต่อแรงเสียดสี ความ
ร้อน และน้ามันผสม หรือน้ามันล้างได้ดี การใช้งาน ขึ้นอยู่กับชนิดงานคือ ที่ใช้กับ
หมึกพิมพ์เชื้อน้าหรือหมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน
ยางปาด (Squeegee)
รูปร่างหน้าตัด มีหลายแบบ เพื่อให้เหมาะกับงานพิมพ์
หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยม เหมาะกับงานพิมพ์ผิวเรียบที่ต้องการให้หมึกลงน้อย
หน้าตัดปลายมน เหมาะกับงานพิมพ์ผ้า หมึกพิมพ์จะลงมากกว่าแบบเหลี่ยม
หน้าตัดรูปสี่เหลี่ยมเฉียงข้างเดียว เหมาะกับงานพิมพ์ผิวเรียบมันหรือแข็ง
เช่น กระจก
หน้าตัดเป็นรูปตัววี (V) เหมาะกับการพิมพ์ผ้าลายละเอียด วัสดุโค้งเว้า
หน้าตัดเป็นรูปตัวยู (U) เหมาะกับงานพิมพ์ผ้าลายหยาบๆ
หน้าตัดเป็นรูปตัววีปลายมน เหมาะกับงานพิมพ์เครื่องปั้นดินเผา
กาวอัดและน้ายาไวแสง (Screen Ink)
กาวอัดและน้ายาไวแสง ใช้ทาให้เกิดลายภาพบนแม่พิมพ์สกรีน กาวอัดที่ใช้กับงานเล็กๆ
ทั่วไปผสมกับน้ายาไวแสงชนิดไดโครเมท (Dichromate)เช่น กาวอัดสีชมพู และกาวอัดสีม่วง
หมึกพิมพ์ซิลสกรีน (Screen Ink)
หมึกพิมพ์ หรือบางทีนิยมเรียกว่า สีสกรีน เนื้อสีมีลักษณะข้น และละเอียด แบ่งออกเป็น
หมึกพิมพ์เชื้อน้า และหมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน
1. หมึกพิมพ์เชื้อน้า หรือสีน้า คือ สีที่ผสม และล้างด้วยน้าเหมาะสาหรับใช้พิมพ์ผ้า มีให้
เลือกใช้หลายชนิด เช่น สีน้าธรรมดา สีลอย สีนูน สีฟู สีกากเพชร สีสะท้อนแสง ฯลฯ
2. หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน หรือสีน้ามัน คือ มีที่ผสม และล้างด้วยน้ามัน มีทั้งชนิดแห้งเร็ว
และแห้งช้า มีทั้งชนิดสีด้าน และสีมันเงา
กาวอัดและน้ายาไวแสง (Screen Ink)
หมึกสาหรับพิมพ์แผ่นวงจรอยู่ในกลุ่มหมึกเชื้อน้ามัน แบ่งตามการใช้งานเป็น 3
หน้าที่คือ
1. เพื่อกัดลายทองแดง เมื่อกัดลายทองแดงแล้วก็จะล้างออก เรียกว่าหมึก Etching
2. เพื่อบอกตาแหน่งอุปกรณ์ ใช้หมึกที่มีส่วนผสม 2 ชนิด ติดแน่นคงทนต่อน้ายาล้าง
3. เพื่อเคลือบก้นตะกั่วเกาะ มีลักษณะเหมือนวานิชใสเคลือบปิดก้นตะกั่วเกาะ
ลายทองแดง
หมึกพิมพ์ (Screen Printing)
ประเภทของหมึกพิมพ์
หมึกที่ใช้พิมพ์ในระบบซิลสกรีน ต่างกับหมึกพิมพ์ในระบบอื่นๆ เพราะ
ต้องมีความข้น-เหลว และความละเอียดของเนื้อหมึกพิมพ์สูง อีกทั้งการพิมพ์ในระบบ
ซิลสกรีน สามารถพิมพ์ได้บนวัสดุหลายชนิด เช่น กระดาษ เหล็ก พลาสติก กระจก
ภาชนะพลาสติก แผ่นวงจรไฟฟ้ า ฯลฯ ซึ่งวัสดุแต่ละชนิดใช้หมึกพิมพ์ที่ต่างประเภท
กัน จึงจาเป็นต้องศึกษาและเข้าใจประเภทของหมึกพิมพ์ การผสม การล้างหมึกพิมพ์
ให้ถูกต้องเพื่อประโยชน์สูงสุดในการพิมพ์
หมึกพิมพ์ (Screen Printing)
เราสามารถแบ่งหมึกพิมพ์ซิลค์สกรีนออกเป็น 4 ประเภท โดยถือหลักจากตัวทา
ละลายเป็นหลัก คือ
1. หมึกพิมพ์เชื้อน้า
2. หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน
3. หมึกพิมพ์เชื้อพลาสติก
4. หมึกพิมพ์ยูวี
หมึกพิมพ์ (Screen Printing)
1. หมึกพิมพ์เชื้อน้า
- เป็นหมึกพิมพ์ ที่ใช้น้าสะอาด เป็นตัวผสมและล้างหมึกพิมพ์ หมึกพิมพ์
เชื้อน้า สามารถทาละลายได้ดีในน้าสะอาด จึงสะดวกในการผสม และล้างแม่พิมพ์
เมื่อเสร็จงานพิมพ์
- แม่พิมพ์ที่จะใช้พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์เชื้อน้าจาเป็นต้องมีความคงทนต่อน้า
ได้ เช่น แม่พิมพ์วิธีกาวอัด ทนน้า (DIRASOL-25) ซึ่งเคลือบด้วยน้ายาแพ็ทลี่ หรือ
แม่พิมพ์วิธีฟิล์มเขียว
หมึกพิมพ์ (Screen Printing)
2. หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน
- หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน ใช้ไวท์สปิริต (WHITE SPIRIT) หรือน้ามันกันตัน
รหัส 6032 ซึ่ง ทาละลายหมึกได้ดีมากเป็นตัวละลาย แต่อาจจะใช้ น้ามันก๊าด,
น้ามันสน, หรือน้ามันซักแห้ง เป็นตัว ทาละลายได้เหมือนกัน ซึ่งไม่ดีนัก น้ามัน
เหล่านี้ไม่สามารถทาละลายหมึกได้ดี ทาให้เกิดเป็นเม็ดสี เมื่อพิมพ์จะเกิดปัญหา
อุดตัน
หมึกพิมพ์ (Screen Printing)
3. หมึกพิมพ์เชื้อพลาสติก
ในปัจจุบันรอบตัวของเรา ไม่ว่าจะมองไปทางทิศทางไหน เราก็พบสิ่งของ
เครื่องใช้ที่ทามาจากพลาสติก หรือใช้พลาสติกเป็นส่วนประกอบแทบทั้งนั้น เราต้อง
ยอมรับว่าปัจจุบันนี้เราไม่ได้อยู่ในยุคหินหรือยุคสาริด แต่เรากาลังอยู่ในยุคทองของ
พลาสติก ซึ่งเป็นการหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เราจาเป็นต้องเรียนรู้ในเรื่องประเภทและ
ลักษณะการใช้งาน ของพลาสติกให้ละเอียดเพราะหมึกพิมพ์พลาสติกที่จะนามาใช้
พิมพ์บนพลาสติก ชนิดนั้น ประเภทนั้น ได้ติดแน่นคงทน จาต้องเป็นหมึกที่ถูกต้อง
และสัมพันธ์กับประเภทหรือเชื้อของพลาสติกที่นามาพิมพ์
หมึกพิมพ์ (Screen Printing)
4. หมึกพิมพ์ยูวี (ULTRA VIOLET INK)
ในอดีตที่ผ่านมาตั้งแต่สมัยก่อนที่ชาวจีนเริ่มพิมพ์ซิลสกรีนเมื่อหลายปีก่อน
จนถึงปัจจุบันนี้หมึกพิมพ์ซิลค์สกรีนที่ใช้พิมพ์ จะเป็นหมึกที่แห้งด้วยการระเหย
ทั้งหมด มีทั้งหมึกชนิดแห้งเร็วและแห้งช้า ซึ่งมีข้อเสียหลายอย่างในการทางาน
แต่มาวันนี้หมึกพิมพ์ซิลค์สกรีนได้เปลี่ยนโฉมหน้าไปสู่ยุคใหม่ของหมึก
พิมพ์ที่ไม่ได้แห้งด้วยการระเหยอีกต่อไปนั่นคือหมึกพิมพ์ยูวี
เคมีภัณฑ์ในงานสกรีน
เคมีภัณฑ์มีความจาเป็นต่องานพิมพ์สกรีน มีมากมายหลายอย่าง เพื่อเสริมความ
สะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพงานพิมพ์ ควรเลือกใช้ตามความเหมาะสม เช่น
1. กาวอุดสกรีน (Screen Filler) ใช้อุดรูรั่ว บนแม่พิมพ์สกรีน หลังจากถ่ายไฟ
เรียบร้อยแล้ว แบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้
- กาวอุดทนน้ามัน ใช้กับแม่พิมพ์ที่พิมพ์กับหมึกเชื้อน้ามัน ใช้น้าล้างกาวอุด
ออกเมื่อเสร็จงาน
- กาวอุดทนน้า ใช้กับแม่พิมพ์สกรีนที่พิมพ์กับหมึกเชื้อน้า หรือใช้หมึกพิมพ์
PVC อุดก็ได้
2. น้ายาล้างไขผ้าสกรีน (Screen Degreaser) คือ น้ายาล้างไขมัน น้ามันล้างหมึก
ฝุ่นละออง คราบหมึกสกรีน และยังป้องกันไม่ให้เกิดไฟฟ้าสถิตย์บนผ้าสกรีนก่อน
นาไปทาแม่พิมพ์
3. กาวทากรอบสกรีน (Screen Frame Adhesive) เป็นกาวสาหรับยึดผ้าสกรีน
กับกรอบสกรีน ในกรณีที่ขึงผ้าสกรีนด้วยเครื่องดึง แล้วทากาวยึดไว้
4. น้ายาล้างกาวอัด (Stencil Remover) คือ การล้างกาวอัดที่ผ่านการฉายแสง
ทาแบบแล้ว เพื่อนาบล็อกสกรีนกลับมาใช้อีก เช่น การใช้คลอรีน ผงล้างกาวอัด ครีม
ล้างกาวอัด
5. น้ามันผสมหมึกพิมพ์ Thinner หรือ น้ามันกันดัน Retarder เป็นน้ามัน
ผสมสาหรับปรับความหนืด และการแห้งตัวของหมึกพิมพ์ ขณะพิมพ์น้ามันที่ผสมจะ
ระเหยทาให้หมึกข้น ลงน้อย หรือแห้งอุดตันผ้าสกรีน น้ามันผสมหมึกพิมพ์มีทั้งชนิด
แห้งช้า และแห้งไว
เคมีภัณฑ์ในงานสกรีน
6. น้ายาล้างคราบต่างๆ (Fabric Regenerator) ใช้ล้างสิ่งตกค้างบนแม่พิมพ์สกรีน
หลังจากที่ล้างกาวอักออกไปแล้ว เช่น
น้ามันล้างหมึกพิมพ์ (Cleaner) ใช้ล้างหมึกพิมพ์ ชนิดเชื้อน้ามัน มีทั้งชนิด
แห้งช้า แห้งเร็ว
น้ายาล้างคราบหมึกพิมพ์ (Screensolve) ทาความสะอาดคราบหมึกพิมพ์
หรือสิ่งที่ติดค้างอยู่บนแม่พิมพ์สกรีน ที่น้ามันล้างหมึกล้างออกไม่หมด
ครีมทาความสะอาดคราบเงา (Screenpaste) ใช้ทาความสะอาดคราบเงาของ
กาวอัดบนผ้าสกรีน ทาความสะอาดผิวโลหะ ใช้เตรียมผ้าสกรีนเพื่อนากลับมาใช้ใหม่
เคมีภัณฑ์ในงานสกรีน
การขึงผ้าสกรีน (Stretching)
การขึงผ้าสกรีนเข้ากับกรอบนั้นจาเป็นต้องขึงให้ผ้าตึงและแนวผ้าได้ฉาก
โดยตารางผ้าไม่โย้จะมีผลให้การทาแบบ และการพิมพ์มีคุณภาพสูง ในการขึงผ้า
สกรีนนั้นมีวิธีการทาได้ 2 วิธี คือ
1. การขึงด้วยมือ
2. การขึงผ้าด้วยเครื่อง
การขึงผ้าสกรีน (Stretching)
1. การขึงด้วยมือ เป็นวิธีการที่ง่ายไม่ต้องใช้เครื่องมือมากนัก เพราะใช้แรงคนดึงผ้า
และใช้ตาปู หรือลวดเย็บกระดาษเป็นตัวเย็บ แต่คุณภาพด้านความตึงอาจไม่
สม่าเสมอเท่ากับการขึงด้วยเครื่อง
การขึงผ้าสกรีน (Stretching)
วิธีการ
ตัดผ้าสกรีนให้มีขนาดกว้างกว่ากรอบไม้ประมาณ 3 นิ้ว พับริมขอบผ้าซ้อนกัน
เพื่อช่วยไม่ให้ผ้าขาดเวลาดึง ใช้ลวดเย็บมุมกรอบที่ 1 เป็นลักษณะกากบาท ดึงผ้าตาม
แนว A มาที่จุดที่ 2 แล้วยิงลวดเย็บลักษณะกากบาทจากนั้นยิงลวดตามแนว A ตลอด
แนวในลักษณะเฉียง ดึงผ้าตามแนว B ยิงลวดเย็บกากบาทที่จุดที่ 3 แล้วยิงลวดเย็บ
ตามแนว B ตลอดแนว ดึงผ้ามาตามแนว C ยิงลวดเย็บตลอดแนว C จากนั้นก็หลือ
ด้าน D เป็นด้านสุดท้าย ยิงลวดเย็บตลอดแนว D ตามลาดับ เสร็จแล้วตัดขอบผ้าให้
เสมอขอบไม้ให้เรียบร้อย
การขึงผ้าสกรีน (Stretching)
ในกรณีที่ใช้เป๊กหัวกลมเป็นตัวเย็บ ควรตอกเป๊กหัวกลมที่ด้านข้างของกรอบ
การขึงผ้าสกรีน (Stretching)
2. การขึงผ้าด้วยเครื่อง วิธีนี้เหมาะสาหรับสกรีนที่มีขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมโดยมี
ข้อดี คือ สามารถสร้างความตึงให้กับผ้าสกรีนได้อย่างสม่าเสมอ และสร้างแนวผ้าได้
ฉากทาให้ตารางของรูผ้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมไม่โย้หลักการง่ายๆของเครื่องขึงผ้าจะมีตัว
จับขอบผ้าทั้ง 4 ด้าน และมีแรงดึงทุกๆจุดออกพร้อมๆกัน หรืออาจใช้วิธีตรึงขอบผ้า
ทั้ง 4 ด้านไว้ มีเครื่องโยกดันกรอบไม้ให้สูงขึ้น กรอบไม้จะดันให้ผ้าตึงทีละน้อย
จนถึงระดับที่ต้องการ
การขึงผ้าสกรีน (Stretching)
เมื่อผ้าตึงได้ระดับแล้ว ก็จะใช้กาวชนิดพิเศษทาที่กรอบให้ติดกับผ้า
แทนการใช้ลวดเย็บ วิธีนี้จะทาให้ผ้ามีความตึงสม่าเสมอเป็นอย่างดี
สุดท้ายนี้.......
อย่าลืมอ่านมาด้วยน๊ะครับ
อาทิตย์หน้าสอบเก็บคะแนน

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1Nookik
 
เรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงเรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงPamPaul
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 Akawid Puangkeaw
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
 
เรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงเรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรง
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3 บทคัดย่อ โครงงานIS3
บทคัดย่อ โครงงานIS3
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 

Viewers also liked

คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559Thailand Board of Investment North America
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบันมาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบันThailand Board of Investment North America
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมJunjira Wuttiwitchai
 

Viewers also liked (7)

A Business Guide to Thailand (2016)
A Business Guide to Thailand (2016)A Business Guide to Thailand (2016)
A Business Guide to Thailand (2016)
 
New Investment Promotion Measures
New Investment Promotion MeasuresNew Investment Promotion Measures
New Investment Promotion Measures
 
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
คู่มือการขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2559
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบันมาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในปัจจุบัน
 
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม
 
ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
 

งานนำเสนอ1

  • 2. จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพิมพ์แบบต่างๆ 2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอุปกรณ์การพิมพ์ซิลสกรีน 3. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการเลือกใช้วิธีพิมพ์ 4. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการเลือกใช้อุปกรณ์การพิมพ์ซิลสกรีน 5. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการนาสิ่งทดแทนวัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพง 6. เพื่อให้มีทักษะในการใช้ไม้ทากรอบสกรีน 7. เพื่อให้มีความรู้เรื่องการพิมพ์ ทางานรอบครอบ รู้วิธีผลิตอุปกรณ์ซิลสกรีน ขึ้นใช้เอง
  • 3. ความหมายของการพิมพ์ การพิมพ์ คือ การถ่ายทอดหมึกพิมพ์ลงบนชิ้นงาน วิธีการพิมพ์ เครื่องมือที่ใช้พิมพ์ ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพของงาน จานวนชิ้นงาน ค่าใช้จ่ายในการ พิมพ์
  • 4. การพิมพ์ด้วย “ระบบซิลสกรีน” การพิมพ์ด้วยระบบซิลสกรีน เป็นการพิมพ์ที่มีระบบและหลักการง่ายๆ ซึ่งสามารถพิมพ์ได้บนวัสดุชนิดและรูปทรงต่างๆ ได้ดี สามารถทาได้เองในบ้านไป จนถึงตั้งโรงงานขนาดใหญ่ เป็นอุตสาหกรรมที่ลงทุนน้อยแต่สามารถทาผลกาไรได้ มาก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถและเชาวน์ทางศิลป์ ในการที่จะนาหลักการพิมพ์ ง่ายๆ ไปดัดแปลงให้เหมาะสม
  • 5. การพิมพ์ด้วยระบบ “ซิลสกรีน” มีหลักการอย่างไร ? มีหลักการง่ายๆ คือ การปาดหมึกพิมพ์ผ่านผ้าสกรีนที่ขึงตึงบนกรอบ เหลี่ยม ต้องการให้หมึกผ่านผ้าสกรีนออกมาเป็นลวดลายใดๆ ก็ให้เปิดหรือปิดรูผ้า ใน ส่วนที่ต้องการให้หมึกออกตามลวดลายเช่นนั้น
  • 6. หัวใจของการพิมพ์ด้วย “ระบบซิลสกรีน” คืออะไร ? การพิมพ์ระบบนี้สามารถใช้พิมพ์ลงบนวัสดุรูปทรงแบน กลม ไข่ เหลี่ยม หรือรูปทรงแปลกๆ ทั้งหลาย การพิมพ์ระบบนี้ใช้การปาดหมึกพิมพ์ผ่านผ้าสกรีน ลงไปติดบนวัสดุ เพราะฉะนั้นปริมาณของหมึกพิมพ์จึงผ่านลงไป เกาะยึดบนวัสดุ ที่พิมพ์ได้มากและทึบกว่าการพิมพ์ระบบอื่นๆ จึงทาให้ภาพพิมพ์แลดูสด สวย คงทน
  • 7. ประเภทของการพิมพ์ จาแนกตามกรรมวิธีพิมพ์ 2.1 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์นูน(Relief หรือ Letter Press Printing) 2.2 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing หรือ Rotogravure) 2.3 การพิมพ์ด้วยแสง (Photographic Printing) 2.4 การพิมพ์ด้วยไฟฟ้ าสถิตย์ (Electrostatic Printing) 2.5 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์พื้นแบน (Planographic Printing) 2.6 การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Stencil Printing) 2.7 การพิมพ์ด้วยความร้อน (Heat Transfer Printing) 2.8 การพิมพ์ด้วยการยิงประจุอิเล็กตรอน (Electron Gun Printing)
  • 8. การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์นูน(Reliefหรือ Letter Press Printing) ในปัจจุบันระบบการพิมพ์พื้นนูน มี 2 ระบบ 1. ระบบเลตเตอร์เพรส (Letterpress) 2. ระบบเฟลกโซกราฟฟี่ (Flexography)
  • 9. ระบบเลตเตอร์เพรส (Letterpress) เป็ นการพิมพ์พื้นนูนที่ใช้ แม่พิมพ์ทาจากโลหะผสมหรื อ พอลิเมอร์อย่างหนา กัดผิวจนเหลือ ส่วนที่เป็นภาพนูนสาหรับรับหมึก พิมพ์แล้วถ่ายทอดลงบนวัสดุที่ใช้ พิมพ์โดยใช้วิธีทับ
  • 11. การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ร่องลึก (Intaglio Printing หรือ Rotogravure) ความเร็วในการพิมพ์จึงสูงเหมือนกับการพิมพ์ชนิด โรตารี โดยทั่วไปคือ ประมาณ 20,000 – 30,000 รอบต่อชั่วโมง
  • 13. การพิมพ์ด้วยไฟฟ้ าสถิตย์ (Electrostatic Printing) การพิมพ์ด้วยวิธีไฟฟ้ าสถิต ช่วยปฏิวัติงานในวงการพิมพ์ ทาให้ ได้งานที่รวดเร็ว เพราะไม่ต้องใช้การ ถ่ายภาพหรือการทาแม่พิมพ์ในการ ผลิตสาเนาจานวนมาก การพิมพ์ด้วย วิธีนี้ได้แก่ การถ่ายเอกสาร การพิมพ์เอกสาร
  • 14. การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์พื้นแบน (Planographic Printing) แม่พิมพ์ชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นแผ่น แบน (Plate) การพิมพ์จะอาศัยหลักการทาง เคมี คือ เมื่อจัดทาภาพบนแผ่นโลหะแบน แล้ว คุณสมบัติที่ต้องการคือ เมื่อทาหมึกลง บนแผ่นนั้นส่วนที่เป็นภาพจะดูดหมึกไว้ ส่วนที่ไม่มีภาพคือไม่ต้องการพิมพ์จะไม่ดูด หมึก เมื่อนาไปกดทับกระดาษหมึกก็จะติด บนกระดาษเป็นภาพที่ต้องการได้ การพิมพ์ แบบนี้เป็นที่นิยมมากเรียกว่าระบบออฟเซท (Offset) เหมาะสาหรับการพิมพ์ตัวหนังสือ และภาพหลายเส้น ลงบนแผ่นกระดาษ แผ่น โลหะ หรือผ้าก็ได้
  • 15. การพิมพ์ด้วยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Stencil Printing) การพิมพ์วิธีนี้แผ่นแม่พิมพ์เป็นแผ่นบางๆทึบ หมึกผ่านไปไม่ได้โดยการพิมพ์วิธีนี้ใช้สาหรับการ พิมพ์โปสเตอร์ แผ่นโฆษณาใบปลิว เป็ นต้น นอกจากใช้พิมพ์บนกระดาษแล้วอาจใช้พิมพ์บนผ้า เช่น การพิมพ์ผ้าปาเต๊ะใช้พิมพ์โดยวิธีนี้ อาจพิมพ์ลง บนสังกะสี บนไม้ บนแก้ว เช่นขวดแก้วน้าอัดลม โดยทั่วไปใช้พิมพ์ด้วยวิธีนี้ และอาจพิมพ์บน พลาสติกได้ด้วย
  • 16. การพิมพ์ด้วยความร้อน (Heat Transfer Printing) เป็นการพิมพ์ที่ใช้กลไกลการถ่ายโอนความร้อนไปทาให้หมึกพิมพ์เปลี่ยน สถานะแล้วเคลื่อนที่ไปสร้างภาพบนวัสดุใช้พิมพ์ โดยใช้หมึกพิมพ์ที่เคลือบบนฟิล์ม พลาสติก พิมพ์ได้ทั้งงานพิมพ์สีเดียว หลายสี และสอดสี การพิมพ์ไร้แรงกดแบบถ่ายโอน ความร้อนมี 2 ระบบคือ การพิมเทอร์มัลแวกซ์ การพิมพ์ระเหิดสีย้อม
  • 17. การพิมพ์ด้วยการยิงประจุอิเล็กตรอน (Electron Gun Printing) ระบบกราฟิกแบบอินเทอร์แอคทีฟ ประกอบไปด้วยส่วนสาคัญ 4 ส่วน คือ 1. คอมพิวเตอร์ 2. จอภาพสาหรับการแสดงภาพ 3. อุปกรณ์ข้อมูล 4. ข้อมูลจากผู้ใช้และอุปกรณ์สาหรับพิมพ์ภาพ
  • 18. จาแนกตามการใช้งาน จาแนกตามการใช้งาน แบ่งได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบการพิมพ์ในสานักงาน เป็นการพิมพ์เอกสาร ที่แต่ละชิ้นแตกต่างกัน ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดีด (Typewriter) เครื่องพิมพ์สาหรับคอมพิวเตอร์ (Printer) เครื่องถ่ายเอกสาร (Copier) เครื่องปรุไข (Stencil Duplicating Machine) เครื่องอัดสาเนา (Duplicating Machine) และเครื่อง Copy Print เป็นต้น 2. ระบบการพิมพ์ในโรงพิมพ์ เป็นงานพิมพ์ที่ทาซ้ากันจานวนมากเป็นหลักพันขึ้นไปได้แก่ การพิมพ์ออฟเซต การพิมพ์สกรีน เป็นต้น
  • 19. การพิมพ์สกรีน (Screen Printing) การพิมพ์สกรีนหรือการพิมพ์ “ซิลสกรีน” มีหลักการคือ ปาดหมึกพิมพ์ผ่านผ้าสกรีน ทียึดบนกรอบ ให้หมึกพิมพ์ผ่านผ้าลงไปติดกับวัสดุที่จะพิมพ์ใช้พิมพ์ลงบนวัตถุได้แทบทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นทรงแบน กลม เหลี่ยม หรือรูปทรงแปลกๆ ทั้งหลาย ผ้าซิลสกรีนเดิมเป็นผ้าไหม
  • 20. การพิมพ์สกรีน (Screen Printing) ปัจจุบันใช้เป็นใยสังเคราะห์ หรือเส้น การพิมพ์สกรีนจึงได้ถูกนาไปใช้อย่าง กว้างขวาง ดังต่อไปนี้ คือ 1. พิมพ์โปสเตอร์โฆษณาขนาดใหญ่ 2. พิมพ์บนแก้ว พลาสติก กระเบื้องเคลือบ 3. พิมพ์ผ้า เสื้อ และสิ่งทอต่างๆ ได้ 4. พิมพ์งานเป็นศิลปะ เช่น งานภาพพิมพ์ต่างๆ 5. พิมพ์แผนวงจรพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ พิมพ์แผ่น CD จอภาพโทรทัศน์สี
  • 21. วัสดุ อุปกรณ์ในการทาซิลสกรีน วัสดุ คือ ของใช้ที่ใช้หมดไป เช่น กาวอัด น้ายาไวแสง หมึกพิมพ์ น้ามัน น้ายาสารเคมีต่างๆ อุปกรณ์ คือ เครื่องมือ เครื่องใช้ช่วยในการทาซิลสกรีน อุปกรณ์ที่จาเป็น เช่น กรอบ ผ้าสกรีน ตู้ไฟถ่ายสกรีน ยางปาด อุปกรณ์ช่วยให้งานง่ายขึ้น เช่น ราง ปาด โต๊ะพิมพ์งาน บานพับจับบล็อก เครื่องดึงผ้าสกรีน เครื่องยิงลวด ถุงทรายทับ แบบ
  • 22. กรอบสกรีน (Screen Frame) กรอบสกรีนทาหน้าที่ยึดผ้าสกรีนให้ตึง วัสดุที่ใช้ทากรอบสกรีน เช่น ไม้ อะลูมิเนียม สแตนเลส
  • 23. ประเภทของกรอบสกรีน กรอบไม้ (Wooden Frame) เป็นกรอบที่ประกอบเองได้ กรอบอะลูมิเนียม (Aluminium Frame) เป็นกรอบที่คงทนมาก ออกแบบ ให้ถอดและใส่ผ้าที่ถ่ายแบบแล้วได้ หรือยึดผ้าให้ติดกรอบด้วยกาว กรอบเหล็ก (Steel Frame) หรือสแตนเลส เป็นกรอบที่แข็งแรง ขนาดใหญ่ ขอบบางกว่า กรอบอะลูมิเนียม ทนแรงดึงมากไม่บิดงอง่าย แต่น้าหนักมาก เหมาะ กับงานพิมพ์ขนาดใหญ่
  • 25. ผ้าสกรีน (Ssceen Fabric) ผ้าสกรีน คือ ผ้าที่มีขนาดของรูผ้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ ทาจาก ไนลอน โพลิเอสเตอร์ (Nylon, Polyester) เส้นทองแดง หรือเส้น สแตนเลส (Stanless Stteel) ขนาดของรูผ้า หรือความห่างระหว่างเส้นใย บอกขนาดเป็นตัวเลข เช่น ผ้าสกรีนเบอร์ 60, 90, 100, 120, ตัวเลข(นัมเบอร์) นี้มาจากจานวน เส้นด้ายต่อความยาว 1 เซนติเมตร หรือ ความยาว 1 นิ้ว ซึ่งส่วนใหญ่ที่ใช้กัน จะเป็นระบบเมตริก คือเซนติเมตร เบอร์ของผ้ายิ่งมากขึ้น ขนาดของรูผ้าก็จะ เล็กลง
  • 26. ผ้าสกรีน (Screen Fabric) การเลือกใช้เบอร์ผ้าสกรีนให้ถูกต้องเหมาะสมกับงานที่จะพิมพ์ คือ 1. พิมพ์ผ้า ใช้ประมาณ เบอร์ 18 – 70 เป็นผ้า Screen ที่มีขนาดรูของผ้า ใหญ่ เพื่อให้หมึกลงได้มาก ส่วนใหญ่ในแบบ หรือภาพที่มีเส้นใหญ่มีการดูดซึมของ หมึกมาก 2. พิมพ์กระดาษ ไม้ โปสเตอร์ ใช้ผ้าประมาณเบอร์ 90 – 120 รูของผ้าปาน กลาง ใช้ใน การพิมพ์งานระดับธรรมดาจนถึงลายเส้นเล็ก 3. พิมพ์แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ สติ๊กเกอร์ ป้ ายฉลาก ภาชนะพลาสติก ใช้ เบอร์ผ้า 130 – 200 เป็นผ้าที่มีขนาดรูผ้าละเอียดมาก ใช้ในการพิมพ์งานลายเส้นเล็ก และคมชัดมากๆ
  • 28. ผ้าสกรีน (Screen Fabric) เบอร์ผ้า ความเหมาะสมกับการใช้งาน 18,20,36,48,54,61,68,77 90,95,100,110,120 130,140,150,165,180,200 พิมพ์ผ้าตั้งแต่ลายหยาบ จนถึงรายละเอียดเพราะใน การพิมพ์ผ้าต้องการปริมาณหมึกพิมพ์ที่ไหลผ่าน ออกมามาก พิมพ์กระดาษ ไม้โลหะ พลาสติก ที่ต้องการให้ ปริมาณหมึกพิมพ์ไหลออกปานกลาง และภาพมี รายละเอียดของเส้นประมาณ 1 – 2 มม. ขึ้นไป พิมพ์กระดาษ ไม้โลหะ พลาสติก ที่ต้องการปริมาณ หมึกพิมพ์ไหลออกบาง และภาพมีรายละเอียดของ เส้นประมาณ 1 มม. ลงมา
  • 29. ยางปาด (Squeegee) ผลิตจากยางสังเคราะห์มีความแข็งแรง ยืดหยุ่นดี คงทนต่อแรงเสียดสี ความ ร้อน และน้ามันผสม หรือน้ามันล้างได้ดี การใช้งาน ขึ้นอยู่กับชนิดงานคือ ที่ใช้กับ หมึกพิมพ์เชื้อน้าหรือหมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน
  • 30. ยางปาด (Squeegee) รูปร่างหน้าตัด มีหลายแบบ เพื่อให้เหมาะกับงานพิมพ์ หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยม เหมาะกับงานพิมพ์ผิวเรียบที่ต้องการให้หมึกลงน้อย หน้าตัดปลายมน เหมาะกับงานพิมพ์ผ้า หมึกพิมพ์จะลงมากกว่าแบบเหลี่ยม หน้าตัดรูปสี่เหลี่ยมเฉียงข้างเดียว เหมาะกับงานพิมพ์ผิวเรียบมันหรือแข็ง เช่น กระจก หน้าตัดเป็นรูปตัววี (V) เหมาะกับการพิมพ์ผ้าลายละเอียด วัสดุโค้งเว้า หน้าตัดเป็นรูปตัวยู (U) เหมาะกับงานพิมพ์ผ้าลายหยาบๆ หน้าตัดเป็นรูปตัววีปลายมน เหมาะกับงานพิมพ์เครื่องปั้นดินเผา
  • 31. กาวอัดและน้ายาไวแสง (Screen Ink) กาวอัดและน้ายาไวแสง ใช้ทาให้เกิดลายภาพบนแม่พิมพ์สกรีน กาวอัดที่ใช้กับงานเล็กๆ ทั่วไปผสมกับน้ายาไวแสงชนิดไดโครเมท (Dichromate)เช่น กาวอัดสีชมพู และกาวอัดสีม่วง หมึกพิมพ์ซิลสกรีน (Screen Ink) หมึกพิมพ์ หรือบางทีนิยมเรียกว่า สีสกรีน เนื้อสีมีลักษณะข้น และละเอียด แบ่งออกเป็น หมึกพิมพ์เชื้อน้า และหมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน 1. หมึกพิมพ์เชื้อน้า หรือสีน้า คือ สีที่ผสม และล้างด้วยน้าเหมาะสาหรับใช้พิมพ์ผ้า มีให้ เลือกใช้หลายชนิด เช่น สีน้าธรรมดา สีลอย สีนูน สีฟู สีกากเพชร สีสะท้อนแสง ฯลฯ 2. หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน หรือสีน้ามัน คือ มีที่ผสม และล้างด้วยน้ามัน มีทั้งชนิดแห้งเร็ว และแห้งช้า มีทั้งชนิดสีด้าน และสีมันเงา
  • 32. กาวอัดและน้ายาไวแสง (Screen Ink) หมึกสาหรับพิมพ์แผ่นวงจรอยู่ในกลุ่มหมึกเชื้อน้ามัน แบ่งตามการใช้งานเป็น 3 หน้าที่คือ 1. เพื่อกัดลายทองแดง เมื่อกัดลายทองแดงแล้วก็จะล้างออก เรียกว่าหมึก Etching 2. เพื่อบอกตาแหน่งอุปกรณ์ ใช้หมึกที่มีส่วนผสม 2 ชนิด ติดแน่นคงทนต่อน้ายาล้าง 3. เพื่อเคลือบก้นตะกั่วเกาะ มีลักษณะเหมือนวานิชใสเคลือบปิดก้นตะกั่วเกาะ ลายทองแดง
  • 33. หมึกพิมพ์ (Screen Printing) ประเภทของหมึกพิมพ์ หมึกที่ใช้พิมพ์ในระบบซิลสกรีน ต่างกับหมึกพิมพ์ในระบบอื่นๆ เพราะ ต้องมีความข้น-เหลว และความละเอียดของเนื้อหมึกพิมพ์สูง อีกทั้งการพิมพ์ในระบบ ซิลสกรีน สามารถพิมพ์ได้บนวัสดุหลายชนิด เช่น กระดาษ เหล็ก พลาสติก กระจก ภาชนะพลาสติก แผ่นวงจรไฟฟ้ า ฯลฯ ซึ่งวัสดุแต่ละชนิดใช้หมึกพิมพ์ที่ต่างประเภท กัน จึงจาเป็นต้องศึกษาและเข้าใจประเภทของหมึกพิมพ์ การผสม การล้างหมึกพิมพ์ ให้ถูกต้องเพื่อประโยชน์สูงสุดในการพิมพ์
  • 34. หมึกพิมพ์ (Screen Printing) เราสามารถแบ่งหมึกพิมพ์ซิลค์สกรีนออกเป็น 4 ประเภท โดยถือหลักจากตัวทา ละลายเป็นหลัก คือ 1. หมึกพิมพ์เชื้อน้า 2. หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน 3. หมึกพิมพ์เชื้อพลาสติก 4. หมึกพิมพ์ยูวี
  • 35. หมึกพิมพ์ (Screen Printing) 1. หมึกพิมพ์เชื้อน้า - เป็นหมึกพิมพ์ ที่ใช้น้าสะอาด เป็นตัวผสมและล้างหมึกพิมพ์ หมึกพิมพ์ เชื้อน้า สามารถทาละลายได้ดีในน้าสะอาด จึงสะดวกในการผสม และล้างแม่พิมพ์ เมื่อเสร็จงานพิมพ์ - แม่พิมพ์ที่จะใช้พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์เชื้อน้าจาเป็นต้องมีความคงทนต่อน้า ได้ เช่น แม่พิมพ์วิธีกาวอัด ทนน้า (DIRASOL-25) ซึ่งเคลือบด้วยน้ายาแพ็ทลี่ หรือ แม่พิมพ์วิธีฟิล์มเขียว
  • 36. หมึกพิมพ์ (Screen Printing) 2. หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน - หมึกพิมพ์เชื้อน้ามัน ใช้ไวท์สปิริต (WHITE SPIRIT) หรือน้ามันกันตัน รหัส 6032 ซึ่ง ทาละลายหมึกได้ดีมากเป็นตัวละลาย แต่อาจจะใช้ น้ามันก๊าด, น้ามันสน, หรือน้ามันซักแห้ง เป็นตัว ทาละลายได้เหมือนกัน ซึ่งไม่ดีนัก น้ามัน เหล่านี้ไม่สามารถทาละลายหมึกได้ดี ทาให้เกิดเป็นเม็ดสี เมื่อพิมพ์จะเกิดปัญหา อุดตัน
  • 37. หมึกพิมพ์ (Screen Printing) 3. หมึกพิมพ์เชื้อพลาสติก ในปัจจุบันรอบตัวของเรา ไม่ว่าจะมองไปทางทิศทางไหน เราก็พบสิ่งของ เครื่องใช้ที่ทามาจากพลาสติก หรือใช้พลาสติกเป็นส่วนประกอบแทบทั้งนั้น เราต้อง ยอมรับว่าปัจจุบันนี้เราไม่ได้อยู่ในยุคหินหรือยุคสาริด แต่เรากาลังอยู่ในยุคทองของ พลาสติก ซึ่งเป็นการหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เราจาเป็นต้องเรียนรู้ในเรื่องประเภทและ ลักษณะการใช้งาน ของพลาสติกให้ละเอียดเพราะหมึกพิมพ์พลาสติกที่จะนามาใช้ พิมพ์บนพลาสติก ชนิดนั้น ประเภทนั้น ได้ติดแน่นคงทน จาต้องเป็นหมึกที่ถูกต้อง และสัมพันธ์กับประเภทหรือเชื้อของพลาสติกที่นามาพิมพ์
  • 38. หมึกพิมพ์ (Screen Printing) 4. หมึกพิมพ์ยูวี (ULTRA VIOLET INK) ในอดีตที่ผ่านมาตั้งแต่สมัยก่อนที่ชาวจีนเริ่มพิมพ์ซิลสกรีนเมื่อหลายปีก่อน จนถึงปัจจุบันนี้หมึกพิมพ์ซิลค์สกรีนที่ใช้พิมพ์ จะเป็นหมึกที่แห้งด้วยการระเหย ทั้งหมด มีทั้งหมึกชนิดแห้งเร็วและแห้งช้า ซึ่งมีข้อเสียหลายอย่างในการทางาน แต่มาวันนี้หมึกพิมพ์ซิลค์สกรีนได้เปลี่ยนโฉมหน้าไปสู่ยุคใหม่ของหมึก พิมพ์ที่ไม่ได้แห้งด้วยการระเหยอีกต่อไปนั่นคือหมึกพิมพ์ยูวี
  • 39. เคมีภัณฑ์ในงานสกรีน เคมีภัณฑ์มีความจาเป็นต่องานพิมพ์สกรีน มีมากมายหลายอย่าง เพื่อเสริมความ สะดวก และเพิ่มประสิทธิภาพงานพิมพ์ ควรเลือกใช้ตามความเหมาะสม เช่น 1. กาวอุดสกรีน (Screen Filler) ใช้อุดรูรั่ว บนแม่พิมพ์สกรีน หลังจากถ่ายไฟ เรียบร้อยแล้ว แบ่งเป็น 2 ประเภทดังนี้ - กาวอุดทนน้ามัน ใช้กับแม่พิมพ์ที่พิมพ์กับหมึกเชื้อน้ามัน ใช้น้าล้างกาวอุด ออกเมื่อเสร็จงาน - กาวอุดทนน้า ใช้กับแม่พิมพ์สกรีนที่พิมพ์กับหมึกเชื้อน้า หรือใช้หมึกพิมพ์ PVC อุดก็ได้ 2. น้ายาล้างไขผ้าสกรีน (Screen Degreaser) คือ น้ายาล้างไขมัน น้ามันล้างหมึก ฝุ่นละออง คราบหมึกสกรีน และยังป้องกันไม่ให้เกิดไฟฟ้าสถิตย์บนผ้าสกรีนก่อน นาไปทาแม่พิมพ์
  • 40. 3. กาวทากรอบสกรีน (Screen Frame Adhesive) เป็นกาวสาหรับยึดผ้าสกรีน กับกรอบสกรีน ในกรณีที่ขึงผ้าสกรีนด้วยเครื่องดึง แล้วทากาวยึดไว้ 4. น้ายาล้างกาวอัด (Stencil Remover) คือ การล้างกาวอัดที่ผ่านการฉายแสง ทาแบบแล้ว เพื่อนาบล็อกสกรีนกลับมาใช้อีก เช่น การใช้คลอรีน ผงล้างกาวอัด ครีม ล้างกาวอัด 5. น้ามันผสมหมึกพิมพ์ Thinner หรือ น้ามันกันดัน Retarder เป็นน้ามัน ผสมสาหรับปรับความหนืด และการแห้งตัวของหมึกพิมพ์ ขณะพิมพ์น้ามันที่ผสมจะ ระเหยทาให้หมึกข้น ลงน้อย หรือแห้งอุดตันผ้าสกรีน น้ามันผสมหมึกพิมพ์มีทั้งชนิด แห้งช้า และแห้งไว เคมีภัณฑ์ในงานสกรีน
  • 41. 6. น้ายาล้างคราบต่างๆ (Fabric Regenerator) ใช้ล้างสิ่งตกค้างบนแม่พิมพ์สกรีน หลังจากที่ล้างกาวอักออกไปแล้ว เช่น น้ามันล้างหมึกพิมพ์ (Cleaner) ใช้ล้างหมึกพิมพ์ ชนิดเชื้อน้ามัน มีทั้งชนิด แห้งช้า แห้งเร็ว น้ายาล้างคราบหมึกพิมพ์ (Screensolve) ทาความสะอาดคราบหมึกพิมพ์ หรือสิ่งที่ติดค้างอยู่บนแม่พิมพ์สกรีน ที่น้ามันล้างหมึกล้างออกไม่หมด ครีมทาความสะอาดคราบเงา (Screenpaste) ใช้ทาความสะอาดคราบเงาของ กาวอัดบนผ้าสกรีน ทาความสะอาดผิวโลหะ ใช้เตรียมผ้าสกรีนเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ เคมีภัณฑ์ในงานสกรีน
  • 43. การขึงผ้าสกรีน (Stretching) 1. การขึงด้วยมือ เป็นวิธีการที่ง่ายไม่ต้องใช้เครื่องมือมากนัก เพราะใช้แรงคนดึงผ้า และใช้ตาปู หรือลวดเย็บกระดาษเป็นตัวเย็บ แต่คุณภาพด้านความตึงอาจไม่ สม่าเสมอเท่ากับการขึงด้วยเครื่อง
  • 44. การขึงผ้าสกรีน (Stretching) วิธีการ ตัดผ้าสกรีนให้มีขนาดกว้างกว่ากรอบไม้ประมาณ 3 นิ้ว พับริมขอบผ้าซ้อนกัน เพื่อช่วยไม่ให้ผ้าขาดเวลาดึง ใช้ลวดเย็บมุมกรอบที่ 1 เป็นลักษณะกากบาท ดึงผ้าตาม แนว A มาที่จุดที่ 2 แล้วยิงลวดเย็บลักษณะกากบาทจากนั้นยิงลวดตามแนว A ตลอด แนวในลักษณะเฉียง ดึงผ้าตามแนว B ยิงลวดเย็บกากบาทที่จุดที่ 3 แล้วยิงลวดเย็บ ตามแนว B ตลอดแนว ดึงผ้ามาตามแนว C ยิงลวดเย็บตลอดแนว C จากนั้นก็หลือ ด้าน D เป็นด้านสุดท้าย ยิงลวดเย็บตลอดแนว D ตามลาดับ เสร็จแล้วตัดขอบผ้าให้ เสมอขอบไม้ให้เรียบร้อย
  • 46. การขึงผ้าสกรีน (Stretching) 2. การขึงผ้าด้วยเครื่อง วิธีนี้เหมาะสาหรับสกรีนที่มีขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมโดยมี ข้อดี คือ สามารถสร้างความตึงให้กับผ้าสกรีนได้อย่างสม่าเสมอ และสร้างแนวผ้าได้ ฉากทาให้ตารางของรูผ้าเป็นรูปสี่เหลี่ยมไม่โย้หลักการง่ายๆของเครื่องขึงผ้าจะมีตัว จับขอบผ้าทั้ง 4 ด้าน และมีแรงดึงทุกๆจุดออกพร้อมๆกัน หรืออาจใช้วิธีตรึงขอบผ้า ทั้ง 4 ด้านไว้ มีเครื่องโยกดันกรอบไม้ให้สูงขึ้น กรอบไม้จะดันให้ผ้าตึงทีละน้อย จนถึงระดับที่ต้องการ