SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจ
         โลก

              บรรยาย
  โดย อาจารย์ ดร.อภิราดี จันทร์แสง
วัตถุประสงค์
 สรุปภาพรวมภาวะเศรษฐกิจโลกจากปี 2550 –
  2555
 วิเคราะห์ปจจัยและแนวโน้มต่อภาวะผันผวนของ
            ั
  เศรษฐกิจโลก
 สรุปภาวะเศรษฐกิจุบันกับภาวะวิกฤต
  วิเคราะห์สถานการณ์ปัจ จโลก 2550-51
 เศรษฐกิจโลกมีการขยายตัวชะลอลงจาก ปี

  2549

   ตัวแปร คือ สหรัฐ ยุโรป ญี่ปุ่น จีน และ อินเดีย
ปัญหาภายในของสหรัฐอเมริกา
   ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว เนืองจาก สินเชื่อ
                           ่
    อสังหาริมทรัพย์ชะลอตัวลง เกิดภาวะผู้กู้
    Subprime คือ ความน่าเชื่อถือตำ่า
    เลห์แมน บราเธอร์ส วาณิชธนกิจ
   ภาวะล้มละลายของเลห์แมนฯ ส่งผลให้เกิด
    ความผันผวนในตลาดการเงินระดับโลก โดย
    เฉพาะอย่างยิ่งธนาคารหลายแห่งทั่วโลกที่ทำา
    ธุรกรรมด้วย โดยสาเหตุที่เลห์แมนฯ ล้มละลาย
    เป็นเพราะขาดทุนมหาศาลจากการเข้าไปลงทุน
    ในตลาดสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ของสหรัฐ
การว่างงานในสหรัฐอเมริกา
   ประชากรเกือบ 16 ล้านคนที่ไม่สามารถหางาน
    ทำาได้ นับเป็นตัวเลขสูงสุดนับแต่เดือนเมษายน
    ปี1983 และยังคาดการณ์วาตัวเลขจะยังคงสูง
       1983                      ่
    ขึ้นอีก ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาวะเศรษฐกิจถดถอย
    ที่เลวร้ายที่สด นับแต่เศรษฐกิจตกตำ่าครั้งใหญ่
                    ุ
   การว่างงานที่ยังไม่ดขึ้นนี้ จะทำาให้การใช้จ่าย
                           ี
    ของผู้บริโภคลดลง ซึ่งจะทำาให้เศรษฐกิจสหรัฐ
    ไม่ฟื้นตัว เพราะการบริโภคภายในประเทศเป็น
    สัดส่วนถึง 70%ของเศรษฐกิจ
นโยบายต่างประเทศกับการ
        แทรกแซงความมั่นคงใน
           ตะวันออกกลาง
   การเข้ามาจัดระเบียบโลก เพือคงความเป็น
                                ่
    มหาอำานาจ ในแถบเอเชียกลาง
   เพือแก้ปญหาการก่อการร้ายของพวกขบวนการ
       ่     ั
    มุสลิมหัวรุนแรง
   เพือล้มล้างรัฐบาลตาลีบันซึ่งปกครองด้วยหลัก
         ่
    ศาสนาอิสลามอย่างเข้มงวดทำาให้ประชาชนขาด
    สิทธิเสรีภาพ แบบประชาธิปไตยที่อเมริกัน
    สนับสนุน
 เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจของอเมริกัน เช่น
  บริษัทนำ้ามันที่ได้สมปทานในเอเชียกลาง และ
                       ั
  บริษัทค้าอาวุธสงคราม
  บริษัทยักษ์ใหญ่ที่ผลิตอาวุธในสงครามที่สำาคัญ

   ของสหรัฐ คือ บริษัท นอร์ทกรอบ บริษัทลิตตัน
    นอร์ททรอบผลิตอาวุธด้านป้องกันประเทศ
   ด้านอิเลคทรอนิคส์ ส่วนลิตตัน ผลิตเรือรบต่างๆ
 กลุ่มบริษัท เพื่อผลิตอาวุธในการป้องกันประเทศ

  ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐทำาการ
  แทรกแซงทางการเมืองระหว่างประเทศหลาย
  ครั้ง แต่ละครั้งก็ทำาให้บริษัท ผลิตอาวุธของ
  สหรัฐทำารายได้อย่างมหาศาล ไม่ว่าจะเป็น
  สงครามเกาหลี เวียดนาม           อิรัก ยูโกสลาเวีย
ยุโรป
 เศรษฐกิจโดยรวมชะลอตัวลง จากปี 2549
 ได้รับผลกระทบจากการปรับเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม
  ปัจจัยในการบริโภคและการลงทุน
  ของประเทศเยอรมัน
               ภายในประเทศ
  ผลกระทบจากภาวะวิกฤต subprime ใน

   สหรัฐที่รุนแรง ทำาให้ภาคการลงทุนชะลอตัวลง
  ปัญหาวิกองในระบบการเงินตึงตัว
   สภาพคล่ ฤตทางการเงินในกลุ่มประเทศยุโรป
   โดยเฉพาะกรีซ โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี และ
   สเปน ซึ่งเป็นประเทศสมาชิกยูโรโซน เริ่มสร้าง
   ความกังวลในวงกว้างมากขึ้น และล่าสุดได้
   ลุกลามไปยังประเทศฮังการี ซึ่งอยู่นอกเหนือ
   จากยูโรโซน

   จากผลประกอบการขาดทุนของสถาบันการเงิน
    บางแห่ง ทำาให้ภาคการบริโภคชะลอตัวลง
   ภาคการส่งออกชะลอตัวลง เนืองจากสหรัฐเป็น
                                     ่
   ตลาดส่งออกทีขึ้นคัญ่องจากค่าเงินสหรัฐอ่อนค่า
    ค่าเงินยูโรปรับ ่สำา เนื
    ลง
   อัตราค่านำ้ามันที่ปรับสูงขึ้น ทำาให้ภาวะเงินเฟ้อ
    อยู่สงกว่าเป้าหมายที่กำาหนดไว้
          ู
   ขยายตัวได้น้อยกว่าที่คาดไว้ จึงทำาให้โอกาสที่
    เศรษฐกิจญี่ปุ่นจะหลุดพ้นจากภาวะเงินฝืดลด
    น้อยลง
   เครื่องชีเศรษฐกิจที่สำาคัญมีแนวโน้มดีขึ้น เช่น
             ้
   ภาวการณ์บริโภคภายในประเทศยังอยู่ในภาวะ
    ซบเซา เหตุจากการลงทุนภาคเอกชนได้รับผลก
    ระทบจากปัญหา Subprime ในสหรัฐอเมริกา
   สถาบันการเงินประสบปัญหาขาดทุนจากการ
    ลงทุน
   อัตราเงินเฟ้อกลับติดลบ ทำาให้ธนาคารกลาง
    ญี่ปุ่นต้องหยุดปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ย และ
    ดำาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไป
    เพือดูสถานการณ์และลดผลกระทบจากวิกฤติ
       ่
    subprime ในสหรัฐนอกจากนี้ สถานการณ์
    ทางการเมืองที่เกิดความขัดแย้ง จนอดีตนายก
    รัฐมนตรีชนโซ อาเบะ ต้องประกาศลาออกจาก
               ิ
   นอกจากนี้ สถานการณ์ทางการเมืองที่เกิดความ
    ขัดแย้ง จนอดีตนายกรัฐมนตรีชนโซ อาเบะ
                                   ิ
    ต้องประกาศลาออกจากตำาแหน่งในเดือน
    กรกฎาคม 2550
   ทำาให้ความเชือมั่นของนักลงทุนและผู้บริโภค
                 ่
    ตกตำ่าลง เป็นสาเหตุที่ทำาให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นมี
    สัญญาณชะลอตัวลง
จีน สมัยใหม่
   เป็นประเทศเศรษฐกิจหลักประเทศเดียวที่ขยาย
    ตัวได้เร่งขึ้นจากปีก่อนและเป็นแรงขับเคลื่อน
    สำาคัญของเศรษฐกิจโลก
   การปรับเพิมอัตราดอกเบียเงินกู้และเงินฝาก
                 ่           ้
    ระยะเวลา 1 ปี ถึง 6 ครั้ง
   การปรับเพิมอัตราเงินสดสำารองตามกฎหมาย
                   ่
    ของธนาคารพาณิชย์ถึง 9 ครั้ง เพือชะลอการ
                                     ่
    ขยายตัวการลงทุนที่ร้อนแรงจากต่างประเทศ
    Foreign Direct Investment ที่มมูลค่ารวม
                                         ี
    ถึง 74.8 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ เพิมจากปี
                                       ่
    เดียวกัน ร้อยละ 13.6
   กอปรกับการส่งออกที่ขยายตัวทำาสถิติสงสุด
                                        ู
    อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 จีนส่งออกสินค้า
    และบริการมีมูลค่ารวมถึง 1,218 พันล้านดอล
    ล่าร์สหรัฐ
   หรือขยายตัวจากปีก่อนถึงร้อยละ 25.7
   จนทำาให้เงินสำารองระหว่างประเทศทะลุระดับ
    1.0 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ
   และผลักดันให้เศรษฐกิจจีนขยายตัวได้ถึงร้อย
    ละ 11.4
   อย่างไรก็ตามภายใต้การขยายตัวอย่างร้อนแรง
    จีนต้องเผชิญกับปัญหาเสถียรภาพทาง
    เศรษฐกิจ
   การเกิดโรคระบาดในสุกร
   ภาวะวิกฤตจากภัยธรรมชาติ
   แรงกดดันจากประเทศมหาอำานาจต่างๆให้จีน
    ปรับเปลี่ยนค่าเงินหยวนให้มีความยืดหยุ่นมาก
    ขึ้น
   การว่างงาน
เศรษฐกิจโลกปี 2551-53
   คาดว่าจะชะลอตัวลงท่ามกลางปัจจัยเสียงต่างๆ
                                           ่
   เศรษฐกิจยุโรปที่ต้องเผชิญแรงกดดันจากค่าเงิน
    ยูโรที่แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง
   ญี่ปุ่นได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจสหรัฐ
   จีนต้องรับมือกับอัตราเงินเฟ้อที่สงขึ้น
                                     ู
   จีนและอินเดีย ขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง และ
    กลุ่มประเทศใหม่ในเอเชียที่ยังเติบโตได้ดี รวม
    ทั้งประเทศตะวันออกกลางที่ขยายตัวตามราคา
    นำ้ามันในตลาดโลก
ปัจจัยเสี่ยงที่สำาคัญในปี 2554-55
   ปัญหา Subprime ผลกระทบจากวิกฤตการณ์
    สินเชือ ของสหรัฐ ที่มีปัจจัยมาจาก วิกฤต
          ่
    เศรษฐกิจโลก 1930 มีผลต่อการลงทุนและการ
    บริโภคภาคเอกชน และส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่
    ไปยังประเทศต่างๆ
   ราคานำ้ามัน มีทิศทางที่สูงขึ้น ทีมีปัจจัยความ
    ต้องการในการใช้ปริมาณนำ้ามันของประเทศจีน
    สหรัฐและอินเดียเพิ่มขึ้น และความต้องการ
    ภายในประเทศตะวันออกกลาง ปริมาณนำ้ามัน
    สำารองของสหรัฐที่ลดลง รวมทั้งต้นทุนในการ
   อัตราดอกเบี้ย มีทิศทางไม่แน่นอนและ
    ยากต่อการคาดเดา เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อ
    สูงขึ้นในแต่ละประเทศ โดยอัตราดอกเบี้ย
    ในสหรัฐลดลง
   ความไม่สมดุลของการค้าโลก โดยเฉพาะ
    การขาดดุลการค้าอย่างมหาศาลของ
    สหรัฐอเมริกา ในขณะที่การเกินดุลจำานวน
    มากของจีนที่ยังกดดันต่อเสถียรภาพของ
    เศรษฐกิจโลก ผู้ส่งออกแต่ละประเทศต้อง
    เผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงระหว่าง
   การกระจุกตัวของเงินสำารองระหว่างประเทศ ที่
    กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มประเทศเอเชีย โดยเฉพาะ
    จีน ญี่ปุ่น และอินเดีย กอปรกับอัตราแลกเปลี่ยน
    ที่มีแนวโน้มผันผวนมากขึ้น

     ปัญหาการว่างงานและถูกปลดออกจากงาน
การรายงานจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
  (ILO) หน่วยงานในสังกัดองค์การ
  สหประชาชาติ (UN) ที่ระบุว่า วิกฤตการเงิน
  โลกจะทำาให้มีผลให้คนตกงานทั่วโลกเพิ่มขึ้น
  ภายในปี 2552 ถึง 210 ล้านคน ถือเป็นอัตรา
ภาวะตลาดหุ้น นำ้ามัน ทองคำา และ
         ตลาดเงินต่างประเทศ
   ดัชนีดาวโจนส์ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดร่วงลงกว่า
    100 จุด เนืองจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะ
                 ่
    ตึงตัวในตลาดแรงงานสหรัฐ หลังจากกระทรวง
    แรงงานสหรัฐเปิดเผยตัวเลขว่างงานประจำา
    สัปดาห์ที่อยู่ในระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์
    นอกจากนี้ ตลาดหุ้นนิวยอร์กยังได้รับแรงกดดัน
    ข่าวที่ว่าบริษัทจัดอันดับความน่าเชือถือได้ปรับ
                                       ่
    ลดอันดับเครดิตของอังกฤษ
 สัญญานำ้ามันดิบตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงเมื่อคืน
  นี้ (21 พ.ค.) หลังจากธนาคารกลางสหรัฐ
  (เฟด) คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจสหรัฐจะยังคงหด
  ตัวลงในปีนี้ ซึ่งจุดปะทุให้เกิดความกังวลว่า
  ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะฉุดดีมานด์พลังงานลด
  ลงด้วย
                   ทองคำา
สัญญาทองคำาตลาดนิวยอร์กปิดพุงขึ้นแข็งแกร่ง
                                  ่
  โดยสัญญาทะยานขึ้นเหนือระดับ 950
  ดอลลาร์/ออนซ์เป็นครั้งแรกในรอบ 2 เดือน
  เพราะได้รับแรงหนุนจากค่าเงินดอลลาร์ที่ร่วงลง
  เมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ โดยสัญญาทองคำา
ค่าเงินแลกเปลี่ยน
   ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐร่วงลงเมือเทียบกับสกุล
                                 ่
    เงินหลักๆของโลก ในการซื้อขายที่ตลาด
    ปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (21 พ.ค.
    53) หลังจากมีรายงานว่าตัวเลขว่างงานประจำา
    สัปดาห์ของสหรัฐยังคงอยู่ที่ระดับสูงสุดเป็น
    ประวัติการณ์ นอกจากนี้ ดอลลาร์ยังได้รับแรง
    กดดันจากความวิตกกังวลที่ว่าสหรัฐอาจมี
    ตัวเลขขาดดุลที่สูงเกินคาด
    โดยค่าเงินดอลลาร์สหรัฐร่วงลง 0.59% เมื่อ
    เทียบกับเงินเยนที่ 94.290 เยน/ดอลลาร์ จาก
 ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ ทั้งภัยธรรมชาติ โรค
  ระบาดการเมืองภายในประเทศลามถึง
         สถานการณ์ทางการเมือง จนลุก –
ต่างประเทศ ะหว่างประเทศ และกระเทือนต่อ
  ความสัมพันธ์ร
  เศรษฐกิจโลกในที่สุด
ปรากฏการณ์เสื้อเหลือง – เสื้อแดง
ปัญหาชายแดนภาคใต้
ปัญหาเขตปักปันดินแดนระหว่าง
ไทย-กัมพูชา
ปัญหาการลักลอบเข้าเมืองไทย-
พม่า
ปัญหาการลักลอบค้ายาเสพติด
ภัยธรรมชาติ-มหันตภัยสึนามิ
   คลื่นสึนามิ มาจากคำาว่า tsunami (สึนะมิ) ใน
    ภาษาญี่ปน ที่แปลว่าคลื่นที่ท่าเรือ หรือ คลื่น
                ุ่
    ชายฝั่ง ความหมายของมันคือคลื่นหรือกลุ่ม
    คลื่นที่มีจุดกำาเนิดอยู่ในเขตทะเลลึก ซึ่งมัก
    ปรากฏหลังแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว
    ใต้ทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม แผ่นดินทรุด
    หรืออุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงในทะเล ดังนั้น
    อานุภาพของสึนามิจึงสามารถเข้าทำาลายพื้นที่
    ชายฝั่ง ทำาให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและ
    ทรัพย์สน ิ
   จากเหตุแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย ทำาให้
    เกิดสึนามิเกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทยวันที่
    26 ธันวาคม 2004
   ก่อให้เกิดคลื่นยักษ์ถาโถมเข้าถล่มและคร่าชีวิต
    ผู้คนจำานวนมากที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หรือบริเวณที่
    ใกล้กับจุดเกิดแผ่นดินไหว เช่น อินโดนีเซีย,
    ไทย, และพื้นที่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกเฉียง
    เหนือของมาเลเซีย
   นอกจากนี้พื้นที่ที่อยู่ห่างไกลออกไปหลายพัน
    กิโลเมตรในบังกลาเทศ, อินเดีย, ศรีลังกา, หมู่
    เกาะมัลดีฟส์, และแม้กระทั่งโซมาเลีย, เคนยา,
   ยอดผูเสียชีวิตและบาดเจ็บข้อมูล:
         ้
   Indonesia166,320
   SriLanka 6,007
   India 10,749
   Thailand 5,313
   Somalia 1500
   Maldives 8226
   Malaysia 686
   Myanmar 590
   Tanzania 100
   Bangladesh 20 Kenya 10 Seychelles 30
   Total 212,611
Ike Hurricane in US-Cuba
   12 September 2008 – Texas Coast
Earthquakes in Japan and
         China
Bird Flu
   ไข้หวัดนก
1918 Virus Outbreak –
killed 50–100 million people worldwide
ไวรัส H1N1
   จำานวนผู้ติดเชือไวรัสไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่
                    ้
    2009 ที่ได้รับการ ยืนยันล่าสุด เพิ่มขึ้นเป็น
    365 รายใน 12 ประเทศและ 1 ดินแดน โดย
    พบผู้ติดเชื้อล่าสุดพบที่ฮ่องกง นับเป็นผู้ตดเชือ
                                              ิ   ้
    ไวรัสมรณะที่ได้รับการยืนยันรายแรกในเอเชีย ผู้
    ติดเชื้อเป็นนักท่องเที่ยวชายชาวเม็กซิโกวัย 25
    ปี เพิ่งเดินทางมาถึงฮ่องกง ขณะนี้ผู้ปวยถูก
                                          ่
    กักตัวอยู่ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งและอาการยัง
    ทรงตัว
   ล่าสุด ทางการฮ่องกงได้สั่งกักบริเวณแขกที่พัก
History of H1N1 Virus
เศรษฐกิจไทย 2554
เศรษฐกิจไทยกับอาเซียน
   การค้าระหว่างไทยกับชาติสมาชิกอาเซียน 9
    ประเทศมีมูลค่าถึง 1.76 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ
    เพิมขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2552 ที่ยังไม่ได้
        ่
    เปิดอาฟต้าถึงร้อยละ 52
   การค้าที่เพิ่มขึ้นเป็นมูลค่าจากการส่งออก 1.05
    หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 67.3
    และการนำาเข้า 7,115 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่ม
    ขึ้นร้อยละ 33.88
   ส่งผลให้ไทยเกินดุลการค้าจากอาเซียน 3,407
    ล้านเหรียญสหรัฐ
   สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมส่วนใหญ่แข่งขัน
    ได้ แต่ภาคบริการและลงทุนยังกังวลว่า
   ไทยอาจเสียเปรียบสิงคโปร์ เวียดนาม และ
    อินโดนีเซีย ที่มีจุดเด่นเรื่องการเมืองที่มี
    เสถียรภาพ เปิดรับการลงทุนจากต่างประเทศ
    เป็นแหล่งเงินทุนขนาดใหญ่

More Related Content

Viewers also liked

โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
Poramate Minsiri
 
ภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญา
ภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญาภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญา
ภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญา
Poramate Minsiri
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
Anissa Aromsawa
 

Viewers also liked (7)

P14
P14P14
P14
 
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการรับมือภัยพิบัติ
 
ภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญา
ภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญาภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญา
ภัยพิบัติเสนอเครือข่ายสถาบันทางปัญญา
 
สไลด์ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน+505+dltvsocp6+55t2soc p06 ...
สไลด์  การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน+505+dltvsocp6+55t2soc p06 ...สไลด์  การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน+505+dltvsocp6+55t2soc p06 ...
สไลด์ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน+505+dltvsocp6+55t2soc p06 ...
 
สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิด
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
State of the Word 2011
State of the Word 2011State of the Word 2011
State of the Word 2011
 

Similar to ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55

SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
SCBEICSCB
 
บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251
Usani
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kowin Butdawong
 
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
Panda Jing
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
SCBEICSCB
 

Similar to ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55 (20)

FINNOMENA Weekly Market Insight 226.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 226.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 226.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 226.pdf
 
ใบงานที่4.2
ใบงานที่4.2ใบงานที่4.2
ใบงานที่4.2
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
The Global Middle Class
The Global Middle ClassThe Global Middle Class
The Global Middle Class
 
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
EXTalk @ Maruey - จับชีพจรเศรษฐกิจโลก ปี 2559
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 229.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 229.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 229.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 229.pdf
 
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundLatin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fund
 
SET.pdf
SET.pdfSET.pdf
SET.pdf
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_14_#246.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_14_#246.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_14_#246.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_14_#246.pdf
 
บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251บทวิเคราะห์ 171251
บทวิเคราะห์ 171251
 
Outlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdf
Outlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdfOutlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdf
Outlook_1Q22_20220329_ALL_YT2_final.pdf
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
สุดยอด 11 เหตุการณ์เขย่าหุ้นไทยปี 2011
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
 
Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6
 
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
"ส่อง ทองคำ ดอลลาร์ และ S&P500 ยามวิกฤติ กันวิกฤติได้แค่ไหน" - FINNOMENA LIVE
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdf
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 

ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลก54 55

  • 1. ภาวะผันผวนของเศรษฐกิจ โลก บรรยาย โดย อาจารย์ ดร.อภิราดี จันทร์แสง
  • 2. วัตถุประสงค์  สรุปภาพรวมภาวะเศรษฐกิจโลกจากปี 2550 – 2555  วิเคราะห์ปจจัยและแนวโน้มต่อภาวะผันผวนของ ั เศรษฐกิจโลก  สรุปภาวะเศรษฐกิจุบันกับภาวะวิกฤต วิเคราะห์สถานการณ์ปัจ จโลก 2550-51  เศรษฐกิจโลกมีการขยายตัวชะลอลงจาก ปี 2549  ตัวแปร คือ สหรัฐ ยุโรป ญี่ปุ่น จีน และ อินเดีย
  • 3. ปัญหาภายในของสหรัฐอเมริกา  ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว เนืองจาก สินเชื่อ ่ อสังหาริมทรัพย์ชะลอตัวลง เกิดภาวะผู้กู้ Subprime คือ ความน่าเชื่อถือตำ่า เลห์แมน บราเธอร์ส วาณิชธนกิจ  ภาวะล้มละลายของเลห์แมนฯ ส่งผลให้เกิด ความผันผวนในตลาดการเงินระดับโลก โดย เฉพาะอย่างยิ่งธนาคารหลายแห่งทั่วโลกที่ทำา ธุรกรรมด้วย โดยสาเหตุที่เลห์แมนฯ ล้มละลาย เป็นเพราะขาดทุนมหาศาลจากการเข้าไปลงทุน ในตลาดสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ของสหรัฐ
  • 4. การว่างงานในสหรัฐอเมริกา  ประชากรเกือบ 16 ล้านคนที่ไม่สามารถหางาน ทำาได้ นับเป็นตัวเลขสูงสุดนับแต่เดือนเมษายน ปี1983 และยังคาดการณ์วาตัวเลขจะยังคงสูง 1983 ่ ขึ้นอีก ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาวะเศรษฐกิจถดถอย ที่เลวร้ายที่สด นับแต่เศรษฐกิจตกตำ่าครั้งใหญ่ ุ  การว่างงานที่ยังไม่ดขึ้นนี้ จะทำาให้การใช้จ่าย ี ของผู้บริโภคลดลง ซึ่งจะทำาให้เศรษฐกิจสหรัฐ ไม่ฟื้นตัว เพราะการบริโภคภายในประเทศเป็น สัดส่วนถึง 70%ของเศรษฐกิจ
  • 5. นโยบายต่างประเทศกับการ แทรกแซงความมั่นคงใน ตะวันออกกลาง  การเข้ามาจัดระเบียบโลก เพือคงความเป็น ่ มหาอำานาจ ในแถบเอเชียกลาง  เพือแก้ปญหาการก่อการร้ายของพวกขบวนการ ่ ั มุสลิมหัวรุนแรง  เพือล้มล้างรัฐบาลตาลีบันซึ่งปกครองด้วยหลัก ่ ศาสนาอิสลามอย่างเข้มงวดทำาให้ประชาชนขาด สิทธิเสรีภาพ แบบประชาธิปไตยที่อเมริกัน สนับสนุน
  • 6.  เพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจของอเมริกัน เช่น บริษัทนำ้ามันที่ได้สมปทานในเอเชียกลาง และ ั บริษัทค้าอาวุธสงคราม  บริษัทยักษ์ใหญ่ที่ผลิตอาวุธในสงครามที่สำาคัญ ของสหรัฐ คือ บริษัท นอร์ทกรอบ บริษัทลิตตัน นอร์ททรอบผลิตอาวุธด้านป้องกันประเทศ ด้านอิเลคทรอนิคส์ ส่วนลิตตัน ผลิตเรือรบต่างๆ  กลุ่มบริษัท เพื่อผลิตอาวุธในการป้องกันประเทศ ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐทำาการ แทรกแซงทางการเมืองระหว่างประเทศหลาย ครั้ง แต่ละครั้งก็ทำาให้บริษัท ผลิตอาวุธของ สหรัฐทำารายได้อย่างมหาศาล ไม่ว่าจะเป็น สงครามเกาหลี เวียดนาม อิรัก ยูโกสลาเวีย
  • 7. ยุโรป  เศรษฐกิจโดยรวมชะลอตัวลง จากปี 2549  ได้รับผลกระทบจากการปรับเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม ปัจจัยในการบริโภคและการลงทุน ของประเทศเยอรมัน ภายในประเทศ  ผลกระทบจากภาวะวิกฤต subprime ใน สหรัฐที่รุนแรง ทำาให้ภาคการลงทุนชะลอตัวลง  ปัญหาวิกองในระบบการเงินตึงตัว สภาพคล่ ฤตทางการเงินในกลุ่มประเทศยุโรป โดยเฉพาะกรีซ โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี และ สเปน ซึ่งเป็นประเทศสมาชิกยูโรโซน เริ่มสร้าง ความกังวลในวงกว้างมากขึ้น และล่าสุดได้ ลุกลามไปยังประเทศฮังการี ซึ่งอยู่นอกเหนือ จากยูโรโซน 
  • 8. จากผลประกอบการขาดทุนของสถาบันการเงิน บางแห่ง ทำาให้ภาคการบริโภคชะลอตัวลง  ภาคการส่งออกชะลอตัวลง เนืองจากสหรัฐเป็น ่  ตลาดส่งออกทีขึ้นคัญ่องจากค่าเงินสหรัฐอ่อนค่า ค่าเงินยูโรปรับ ่สำา เนื ลง  อัตราค่านำ้ามันที่ปรับสูงขึ้น ทำาให้ภาวะเงินเฟ้อ อยู่สงกว่าเป้าหมายที่กำาหนดไว้ ู  ขยายตัวได้น้อยกว่าที่คาดไว้ จึงทำาให้โอกาสที่ เศรษฐกิจญี่ปุ่นจะหลุดพ้นจากภาวะเงินฝืดลด น้อยลง  เครื่องชีเศรษฐกิจที่สำาคัญมีแนวโน้มดีขึ้น เช่น ้
  • 9. ภาวการณ์บริโภคภายในประเทศยังอยู่ในภาวะ ซบเซา เหตุจากการลงทุนภาคเอกชนได้รับผลก ระทบจากปัญหา Subprime ในสหรัฐอเมริกา  สถาบันการเงินประสบปัญหาขาดทุนจากการ ลงทุน  อัตราเงินเฟ้อกลับติดลบ ทำาให้ธนาคารกลาง ญี่ปุ่นต้องหยุดปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ย และ ดำาเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไป เพือดูสถานการณ์และลดผลกระทบจากวิกฤติ ่ subprime ในสหรัฐนอกจากนี้ สถานการณ์ ทางการเมืองที่เกิดความขัดแย้ง จนอดีตนายก รัฐมนตรีชนโซ อาเบะ ต้องประกาศลาออกจาก ิ
  • 10. นอกจากนี้ สถานการณ์ทางการเมืองที่เกิดความ ขัดแย้ง จนอดีตนายกรัฐมนตรีชนโซ อาเบะ ิ ต้องประกาศลาออกจากตำาแหน่งในเดือน กรกฎาคม 2550  ทำาให้ความเชือมั่นของนักลงทุนและผู้บริโภค ่ ตกตำ่าลง เป็นสาเหตุที่ทำาให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นมี สัญญาณชะลอตัวลง
  • 11. จีน สมัยใหม่  เป็นประเทศเศรษฐกิจหลักประเทศเดียวที่ขยาย ตัวได้เร่งขึ้นจากปีก่อนและเป็นแรงขับเคลื่อน สำาคัญของเศรษฐกิจโลก  การปรับเพิมอัตราดอกเบียเงินกู้และเงินฝาก ่ ้ ระยะเวลา 1 ปี ถึง 6 ครั้ง  การปรับเพิมอัตราเงินสดสำารองตามกฎหมาย ่ ของธนาคารพาณิชย์ถึง 9 ครั้ง เพือชะลอการ ่ ขยายตัวการลงทุนที่ร้อนแรงจากต่างประเทศ Foreign Direct Investment ที่มมูลค่ารวม ี ถึง 74.8 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ เพิมจากปี ่ เดียวกัน ร้อยละ 13.6
  • 12. กอปรกับการส่งออกที่ขยายตัวทำาสถิติสงสุด ู อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2550 จีนส่งออกสินค้า และบริการมีมูลค่ารวมถึง 1,218 พันล้านดอล ล่าร์สหรัฐ  หรือขยายตัวจากปีก่อนถึงร้อยละ 25.7  จนทำาให้เงินสำารองระหว่างประเทศทะลุระดับ 1.0 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ  และผลักดันให้เศรษฐกิจจีนขยายตัวได้ถึงร้อย ละ 11.4
  • 13. อย่างไรก็ตามภายใต้การขยายตัวอย่างร้อนแรง จีนต้องเผชิญกับปัญหาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ  การเกิดโรคระบาดในสุกร  ภาวะวิกฤตจากภัยธรรมชาติ  แรงกดดันจากประเทศมหาอำานาจต่างๆให้จีน ปรับเปลี่ยนค่าเงินหยวนให้มีความยืดหยุ่นมาก ขึ้น  การว่างงาน
  • 14. เศรษฐกิจโลกปี 2551-53  คาดว่าจะชะลอตัวลงท่ามกลางปัจจัยเสียงต่างๆ ่  เศรษฐกิจยุโรปที่ต้องเผชิญแรงกดดันจากค่าเงิน ยูโรที่แข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ญี่ปุ่นได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจสหรัฐ  จีนต้องรับมือกับอัตราเงินเฟ้อที่สงขึ้น ู  จีนและอินเดีย ขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง และ กลุ่มประเทศใหม่ในเอเชียที่ยังเติบโตได้ดี รวม ทั้งประเทศตะวันออกกลางที่ขยายตัวตามราคา นำ้ามันในตลาดโลก
  • 15. ปัจจัยเสี่ยงที่สำาคัญในปี 2554-55  ปัญหา Subprime ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ สินเชือ ของสหรัฐ ที่มีปัจจัยมาจาก วิกฤต ่ เศรษฐกิจโลก 1930 มีผลต่อการลงทุนและการ บริโภคภาคเอกชน และส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ ไปยังประเทศต่างๆ  ราคานำ้ามัน มีทิศทางที่สูงขึ้น ทีมีปัจจัยความ ต้องการในการใช้ปริมาณนำ้ามันของประเทศจีน สหรัฐและอินเดียเพิ่มขึ้น และความต้องการ ภายในประเทศตะวันออกกลาง ปริมาณนำ้ามัน สำารองของสหรัฐที่ลดลง รวมทั้งต้นทุนในการ
  • 16. อัตราดอกเบี้ย มีทิศทางไม่แน่นอนและ ยากต่อการคาดเดา เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อ สูงขึ้นในแต่ละประเทศ โดยอัตราดอกเบี้ย ในสหรัฐลดลง  ความไม่สมดุลของการค้าโลก โดยเฉพาะ การขาดดุลการค้าอย่างมหาศาลของ สหรัฐอเมริกา ในขณะที่การเกินดุลจำานวน มากของจีนที่ยังกดดันต่อเสถียรภาพของ เศรษฐกิจโลก ผู้ส่งออกแต่ละประเทศต้อง เผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงระหว่าง
  • 17. การกระจุกตัวของเงินสำารองระหว่างประเทศ ที่ กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มประเทศเอเชีย โดยเฉพาะ จีน ญี่ปุ่น และอินเดีย กอปรกับอัตราแลกเปลี่ยน ที่มีแนวโน้มผันผวนมากขึ้น ปัญหาการว่างงานและถูกปลดออกจากงาน การรายงานจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หน่วยงานในสังกัดองค์การ สหประชาชาติ (UN) ที่ระบุว่า วิกฤตการเงิน โลกจะทำาให้มีผลให้คนตกงานทั่วโลกเพิ่มขึ้น ภายในปี 2552 ถึง 210 ล้านคน ถือเป็นอัตรา
  • 18. ภาวะตลาดหุ้น นำ้ามัน ทองคำา และ ตลาดเงินต่างประเทศ  ดัชนีดาวโจนส์ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดร่วงลงกว่า 100 จุด เนืองจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะ ่ ตึงตัวในตลาดแรงงานสหรัฐ หลังจากกระทรวง แรงงานสหรัฐเปิดเผยตัวเลขว่างงานประจำา สัปดาห์ที่อยู่ในระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ นอกจากนี้ ตลาดหุ้นนิวยอร์กยังได้รับแรงกดดัน ข่าวที่ว่าบริษัทจัดอันดับความน่าเชือถือได้ปรับ ่ ลดอันดับเครดิตของอังกฤษ
  • 19.  สัญญานำ้ามันดิบตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงเมื่อคืน นี้ (21 พ.ค.) หลังจากธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจสหรัฐจะยังคงหด ตัวลงในปีนี้ ซึ่งจุดปะทุให้เกิดความกังวลว่า ภาวะเศรษฐกิจถดถอยจะฉุดดีมานด์พลังงานลด ลงด้วย ทองคำา สัญญาทองคำาตลาดนิวยอร์กปิดพุงขึ้นแข็งแกร่ง ่ โดยสัญญาทะยานขึ้นเหนือระดับ 950 ดอลลาร์/ออนซ์เป็นครั้งแรกในรอบ 2 เดือน เพราะได้รับแรงหนุนจากค่าเงินดอลลาร์ที่ร่วงลง เมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ โดยสัญญาทองคำา
  • 20. ค่าเงินแลกเปลี่ยน  ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐร่วงลงเมือเทียบกับสกุล ่ เงินหลักๆของโลก ในการซื้อขายที่ตลาด ปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (21 พ.ค. 53) หลังจากมีรายงานว่าตัวเลขว่างงานประจำา สัปดาห์ของสหรัฐยังคงอยู่ที่ระดับสูงสุดเป็น ประวัติการณ์ นอกจากนี้ ดอลลาร์ยังได้รับแรง กดดันจากความวิตกกังวลที่ว่าสหรัฐอาจมี ตัวเลขขาดดุลที่สูงเกินคาด โดยค่าเงินดอลลาร์สหรัฐร่วงลง 0.59% เมื่อ เทียบกับเงินเยนที่ 94.290 เยน/ดอลลาร์ จาก
  • 21.  ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ ทั้งภัยธรรมชาติ โรค ระบาดการเมืองภายในประเทศลามถึง สถานการณ์ทางการเมือง จนลุก – ต่างประเทศ ะหว่างประเทศ และกระเทือนต่อ ความสัมพันธ์ร เศรษฐกิจโลกในที่สุด ปรากฏการณ์เสื้อเหลือง – เสื้อแดง ปัญหาชายแดนภาคใต้ ปัญหาเขตปักปันดินแดนระหว่าง ไทย-กัมพูชา ปัญหาการลักลอบเข้าเมืองไทย- พม่า ปัญหาการลักลอบค้ายาเสพติด
  • 22. ภัยธรรมชาติ-มหันตภัยสึนามิ  คลื่นสึนามิ มาจากคำาว่า tsunami (สึนะมิ) ใน ภาษาญี่ปน ที่แปลว่าคลื่นที่ท่าเรือ หรือ คลื่น ุ่ ชายฝั่ง ความหมายของมันคือคลื่นหรือกลุ่ม คลื่นที่มีจุดกำาเนิดอยู่ในเขตทะเลลึก ซึ่งมัก ปรากฏหลังแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว ใต้ทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม แผ่นดินทรุด หรืออุกกาบาตขนาดใหญ่ตกลงในทะเล ดังนั้น อานุภาพของสึนามิจึงสามารถเข้าทำาลายพื้นที่ ชายฝั่ง ทำาให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและ ทรัพย์สน ิ
  • 23. จากเหตุแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย ทำาให้ เกิดสึนามิเกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทยวันที่ 26 ธันวาคม 2004  ก่อให้เกิดคลื่นยักษ์ถาโถมเข้าถล่มและคร่าชีวิต ผู้คนจำานวนมากที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หรือบริเวณที่ ใกล้กับจุดเกิดแผ่นดินไหว เช่น อินโดนีเซีย, ไทย, และพื้นที่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกเฉียง เหนือของมาเลเซีย  นอกจากนี้พื้นที่ที่อยู่ห่างไกลออกไปหลายพัน กิโลเมตรในบังกลาเทศ, อินเดีย, ศรีลังกา, หมู่ เกาะมัลดีฟส์, และแม้กระทั่งโซมาเลีย, เคนยา,
  • 24. ยอดผูเสียชีวิตและบาดเจ็บข้อมูล: ้  Indonesia166,320  SriLanka 6,007  India 10,749  Thailand 5,313  Somalia 1500  Maldives 8226  Malaysia 686  Myanmar 590  Tanzania 100  Bangladesh 20 Kenya 10 Seychelles 30  Total 212,611
  • 25. Ike Hurricane in US-Cuba  12 September 2008 – Texas Coast
  • 26. Earthquakes in Japan and China
  • 27. Bird Flu  ไข้หวัดนก
  • 28. 1918 Virus Outbreak – killed 50–100 million people worldwide
  • 29. ไวรัส H1N1  จำานวนผู้ติดเชือไวรัสไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ ้ 2009 ที่ได้รับการ ยืนยันล่าสุด เพิ่มขึ้นเป็น 365 รายใน 12 ประเทศและ 1 ดินแดน โดย พบผู้ติดเชื้อล่าสุดพบที่ฮ่องกง นับเป็นผู้ตดเชือ ิ ้ ไวรัสมรณะที่ได้รับการยืนยันรายแรกในเอเชีย ผู้ ติดเชื้อเป็นนักท่องเที่ยวชายชาวเม็กซิโกวัย 25 ปี เพิ่งเดินทางมาถึงฮ่องกง ขณะนี้ผู้ปวยถูก ่ กักตัวอยู่ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งและอาการยัง ทรงตัว  ล่าสุด ทางการฮ่องกงได้สั่งกักบริเวณแขกที่พัก
  • 32. เศรษฐกิจไทยกับอาเซียน  การค้าระหว่างไทยกับชาติสมาชิกอาเซียน 9 ประเทศมีมูลค่าถึง 1.76 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ เพิมขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2552 ที่ยังไม่ได้ ่ เปิดอาฟต้าถึงร้อยละ 52  การค้าที่เพิ่มขึ้นเป็นมูลค่าจากการส่งออก 1.05 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 67.3 และการนำาเข้า 7,115 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 33.88  ส่งผลให้ไทยเกินดุลการค้าจากอาเซียน 3,407 ล้านเหรียญสหรัฐ
  • 33. สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมส่วนใหญ่แข่งขัน ได้ แต่ภาคบริการและลงทุนยังกังวลว่า  ไทยอาจเสียเปรียบสิงคโปร์ เวียดนาม และ อินโดนีเซีย ที่มีจุดเด่นเรื่องการเมืองที่มี เสถียรภาพ เปิดรับการลงทุนจากต่างประเทศ เป็นแหล่งเงินทุนขนาดใหญ่