SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
1
บทที่ 1
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพิชชาภา เลี่ยมนพรัตน์ รหัสนิสิต 55540177 คณะศึกษาศาสตร์ สาขา
เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
ที่ปรึกษาโครงการ
อาจารย์ ดร. ภูเบศ เลื่อมใส
หลักการและเหตุผล
การจัดการศึกษาในอนาคตที่จะถึงนี้จาเป็นต้องยึดแนวทางตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด อย่างไรก็ตามการดาเนินการจัดการศึกษาทั้งในปัจจุบัน และในอนาคตคงปฏิเสธ
ไม่ได้ถึงความจาเป็นต่อการนาเอาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อดาเนินการจัดการศึกษา คณะกรรมการการศึกษา
แห่งชาติได้ตระหนักถึงความจาเป็นในประเด็นนี้จึงได้นาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาบรรจุลงไปใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติอย่างเน้นหนัก และชัดเจน รัฐบาลต้องส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการ
ผลิต และพัฒนาแบบเรียนตารา หนังสือทางวิชาการสื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษาอื่นโดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิต และมีการให้
แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดนเสรีอย่างเป็นธรรม
(พรบ.การศึกษา มาตรา 64 ) แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้
กล่าวถึงกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความ
แตกต่างระหว่างบุคคล เน้นฝึกฝนทักษะสาคัญ คือ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์การ
ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้ องกัน และแก้ไขปัญหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยจัด
กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้คิดเป็นทาเป็นใฝ่เรียนใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ(อัญชลี สวัสล้า 2556 : 1) จึงเป็นภาระงานที่สาคัญ และมีคุณค่าต่อความเป็นบุคลากรทางการศึกษา
มืออาชีพในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่จะต้องออกแบบ สื่อหรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการจัดการเรียน
การสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจอยากเรียนรู้ มีความสุขจากการเรียน ย่อมจะทาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีความสุข เข้าใจในสิ่งที่ครูต้องการถ่ายทอด หรือสามารถสอนเด็กให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้
โดยเร็ว จากผลการประเมินของสมศ.สรุปได้ว่ามีสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานทั้งระดับปฐมวัย
2
และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4,322 แห่งจากจานวนสถานศึกษาที่เข้าร่วมการประเมินจานวน 2,0374 แห่ง
คิดเป็นร้อยละ 22.21 และในจานวนสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองนี้พบว่ามาตรฐานผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์
การคิดวิเคราะห์การใฝ่เรียน (มาตรฐานที่ 4, 5, และ6) มีคุณภาพระดับดีขึ้นไปไม่ถึงร้อยละ 50 ของจานวน
สถานศึกษาทั้งหมด (สานักทดสอบทางการศึกษา. 2553 : 1) ทาให้มีผู้สนใจพัฒนาผู้เรียนด้านการคิดกันอย่าง
แพร่หลาย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-book เป็นสื่อเทคโนโลยีอีกประเภทหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทางครู
หรือ บุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะด้านการคิดตามที่มาตรฐานการศึกษากาหนด
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หรือ e-book ย่อมาจากคาว่า electronic book หมายถึงหนังสือที่สร้างขึ้นด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูล ที่สามารถอ่าน
เอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งระบบออฟไลน์และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
สามารถเชื่อมโยงจุดไปส่วนต่าง ๆของหนังสือของหนังสือเว็บไซด์ต่าง ๆตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์ และโต้ตอบ
กับผู้เรียนได้ นอกจากนี้หนังสืออีเล็กทรอนิกส์ยังสามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ
และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ที่สาคัญก็คือหนังสืออีเล็กทรอนิกส์ สามารถ
ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป หนังสือ
อีเล็กทรอนิกส์( e-book) ต่างจากหนังสือทั่วไป ดังนี้
1. หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ
2. หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างภาพให้
เคลื่อนไหวได้
3. หนังสือทั่วไปไม่มีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถใส่เสียงประกอบได้
4. หนังสือทั่วไปแก้ไขปรับปรุงได้ยาก หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถแก้ไขปรับปรุงข้อมูล
(update)ได้ง่าย
5. หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง(link) ออกไป
เชื่อมต่อกับข้อมูลภายนอกได้
6. หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตสูง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนในการผลิตหนังสือต่า ประหยัด
7. หนังสือมีขีดจากัดในการจัดพิมพ์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจากัดในการจัดพิมพ์สามารถทา
สาเนาได้ง่าย ไม่จากัด
3
8. หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านด้วยโปรแกรมผ่านทางหน้า
จอคอมพิวเตอร์
9. หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์อ่านได้และยังสั่งพิมพ์(print)ได้
10. หนังสือทั่วไปอ่านได้1 คนต่อ หนึ่งเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านได้พร้อมกัน
ได้จานวนมาก หนังสือทั่วไปพกพาลาบากหากมีจานวนหลายเรื่อง หลายเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพา
สะดวกครั้งละจานวนมากในรูปแบบของไฟล์คอมพิวเตอร์ ใน Handy Drive หรือ CD
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-book)ให้มีคุณภาพ และสามารถนาไปใช้ได้ดี ผู้สร้างต้องใช้
ทักษะต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ซอฟต์แวร์ ทักษะ
การสืบค้นข้อมูล ทักษะการออกแบบ ดังนั้นการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จึงต้องใช้ทั้ง ความรู้ ทักษะ
เทคนิคกระบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถสร้างหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณภาพ และเกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ได้
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book)
2. เพื่อศึกษาการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
3. เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่
กาหนด (80/80)
สมมติฐานของการศึกษา
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (80/80)
ขอบเขตของการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อให้การศึกษาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้ง
ไว้ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการศึกษา ดังนี้
4
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร
ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 100 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 100 คน ได้มาโดย
การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหา
ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้
2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบ แบบ
เดี่ยว จานวน 3 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบกลุ่ม จานวน 9 คน
2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบภาคสนาม จานวน 30 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
2. แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
3. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตัวแปรที่ศึกษา
การศึกษาครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ
1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ศึกษา
สร้างขึ้น
5
2. ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจาหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็น
หัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
2. การผลิตและการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
นิยามศัพย์เฉพาะ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
1. ความหมายและธรรมชาติของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
1.1 ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ยังไม่ได้บัญญัติศัพท์ที่ใช้ในภาษาไทยอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นก็ได้มี
ผู้ให้คานิยามเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้หลายท่านด้วยกัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะด้วยกัน
คือ ในลักษณะของซอฟท์แวร์, ฮาร์ดแวร์ และในลักษณะที่เป็นทั้งซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์
1.1.1 ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของซอฟท์แวร์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หมายถึง หนังสือเล่มที่ถูกดัดแปลงให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ผู้อ่าน
สามารถอ่านข้อมูลได้จากจอคอมพิวเตอร์ มีลักษณะข่าวสารเป็นแบบพลวัต หากต้องการปรับปรุง
ข้อมูลก็สามารถทาได้โดยดึงข้อมูล (Download) มาจากอินเตอร์เน็ต หรือซีดีรอม หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์มีความสามารถในการทาไฮเปอร์เท็กซ์, ค้นหาข้อความ , ทาหมายเหตุประกอบ และ
6
การทาสัญลักษณ์ใจความสาคัญ (พิชญ์ วิมุกตะลพ, 2538 : 214; Barker , 1992 : 139 ; Gates,1995 :
139 ; “Whatare E- Books?”,1999 : 1; “NetLingo :The Internet Language Dictionary”, 1999 : 1
“High-Tech Dictionary Definition”, 1999 : 1 “Electronic Book”, 1999 : 1; Reynolds and
Derose.2535 : 263, อ้างถึงใน สุชาดา โชคเหมาะ,2539 : 1-2)
1.1.2 ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของฮาร์ดแวร์
“TechEncyclopedia” (1999 : 1) กล่าวว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นอุปกรณ์ฉบับกระเป๋ า
ซึ่งสามารถแสดงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ สามารถจัดทาสาเนาได้ทาบุ๊คมาร์คและทา
หมายเหตุประกอบได้ “Electronic Book – Webopedia Definition” (1999 : 1) ได้กล่าวถึงหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ออกเป็น 2 รูปแบบ คือ ร็อคเก็ตอีบุ๊ค (Rocket Ebook) ของนูโวมีเดีย เป็นหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ฉบับกระเป๋ า พกพาสะดวกด้วยน้าหนักเพียง 22 ออนซ์ เก็บข้อมูลได้ถึง 4000
หน้ากระดาษ การเปิดพลิกหน้าร็อกเก็ตอีบุ๊คให้ความรู้สึกใกล้เคียงกับการเปิดหนังสือจริงสามารถ
ทาแถบสว่าง (Highlight),ทาหมายเหตุประกอบ,ค้นหาคา และสร้างบุ๊คมาร์คได้หากต้องการ
ปรับปรุงข้อมูลก็สามารถติดต่อไปยังร้านหนังสือหรือเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สาหรับรูปแบบที่ 2 คือ
ซอฟท์บุ๊ค (Softbook) ของซอฟท์บุ๊คเพรส มีลักษณะคล้ายกับร็อคเก็ตบุ๊ค มีความจุตั้งแต่ 1,500 ไป
จนถึง 1 ล้านหน้ากระดาษ
1.1.3 ความหมายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นทั้งซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์ ได้มีผู้ให้
ความหมายดังนี้“What is an E-Book”(1999 : 1) ได้ให้ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นหนังสือทั้งที่มีและไม่มีตัวจริง โดยมีรูปแบบการอ่าน 3 แนว คือดึง
ข้อมูลออกมาและพิมพ์โดยผู้ใช้งาน, อ่านโดยตรงจากจอคอมพิวเตอร์ และใช้อ่านโดยเครื่องมือ
อิเล็กทรอนิกส์อื่น ได้แก่ ไลเบรีย์สมิลลิเนียมอีบุ๊ครีดเดอร์ (Librius Millennium Ebook Reader),
ร็อคเก็ตบุ๊ค เป็นต้น
จากความหมายที่กล่าวมาทั้ง 3 ลักษณะ สามารถสรุปได้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หมายถึง การนาหนังสือหนึ่งเล่มหรือหลายๆเล่ม มาออกแบบใหม่ให้อยู่ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์
โดยปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ในรูปของตัวอักษร,ภาพนิ่ง,ภาพเคลื่อนไหว,
เสียง,ลักษณะที่โต้ตอบกันได้ (interactive) และการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ สามารถทาบุ๊ค
มาร์กและหมายเหตุประกอบตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ โดยอาศัยพื้นฐานของหนังสือเล่มเป็นหลัก
7
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะแจกต่างจากหนังสือเล่มในการพลิกหน้า โดยที่ไม่ได้มีการพลิก
หน้าจริง หากแต่เป็นไปในลักษณะของการซ้อนทับกัน (Barker and singh, 1985 , quoted in barker
and Manji,1991 : 276)สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กับหนังสือเล่มอย่างเด่นชัด
นั้นก็คือ การปฏิสัมพันธ์ และความเป็นพลวัต (Barker,1996 : 14) ๙งอาจแตกต่างกันบ้างในหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์แต่ละเล่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์การใช้งาน และการปฏิสัมพันธ์จากผู้อ่าน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีหน้าปกเพื่อบอกข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับหนังสือ หากใน 1 หน้ามีข้อมูลเป็น
หน้าคู่ ด้านซ้ายมือเป็นหน้าซ้าย ด้านขวามือเป็นหน้าขวา กดปุ่มไปหน้าก็จะไปยังหน้าต่อไป กดปุ่ม
ถอยหลังจะกลับไปหน้าก่อนนอกจากนี้ยังสามารถกระโดดข้ามไปยังหน้าที่ผู้อ่านต้องการได้อีกด้วย
หน้าสุดท้ายจะเป็นหน้าก่อนออกจากโปรแกรม ถึงแม้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะคล้ายกับหนังสือ
มาก แต่ข้อจากัดที่มีอยู่มากมายในหนังสือเล่มไม่สามารถส่งอิทธิพลมายังหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แต่
อย่างใด
2. ข้อดีและข้อจากัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
2.1 ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีข้อดีดังต่อไปนี้
2.1.1. เป็นสื่อที่รวมเอาจุดเด่นของสื่อแบบต่างๆมารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว คือสามารถแสดง
ภาพ แสง เสียง ภาพเคลื่อนไหว และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้
2.1.2 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาวิชาได้เร็วขึ้น (สิทธิพร บุญญานุ
วัตร,2540 : 24)
2.1.3 ครูสามารถใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการชักจูงผู้เรียนในการอ่าน,การเขียน,การฟัง
และการพูดได้(Roffey, 1995)
2.1.4 มีความสามารถในการออนไลน์ผ่านเครือข่าย และเชื่อมโยไปสู่โฮมเพจและเวปไซต์
ต่างๆอีกทั้งยังสามารถอ้างอิงในเชิงวิชาการได้
2.1.5 หากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต จะทา
ให้กระจายสื่อได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวางกว่าสื่อที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์(“ หนังสือพิมพ์ออนไลน์
นวัตกรรมแห่งสื่ออนาคต”, 2541 : 60)
8
2.1.6 สนับสนุนการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนและ
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
2.17 มีลักษณะไม่ตายตัว สามารถแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา อีกทั้งยัง
สามารถเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้โดยใช้ความสามารถของไฮเปอร์เท็กซ์
2.1.8 ในการสอนหรืออบรมนอกสถานที่ การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะช่วยให้เกิดความ
คล่องตัวยิ่งขึ้น เนื่องจากสื่อสามารถสร้างเก็บไว้ในแผ่นซีดีได้ไม่ต้องหอบหิ้วสื่อซึ่งมีจานวนมาก
2.1.9 การพิมพ์ทาได้รวดเร็วกว่าการใช้กระดาษ สามารถทาสาเนาได้เท่าที่ต้องการ
ประหยัดวัสดุในการสร้างสื่อ อีกทั้งยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย
2.1.10 มีความทนทาน และสะดวกแก่การเก็บบารุงรักษา ลดปัญหาการเก็บเอกสาร
ย้อนหลังซึ่งต้องใช้เนื้อที่หรือบริเวณกว้างในการจัดเก็บ สามารถรักษาหนังสือหายากและต้นฉบับ
เขียนไม่ให้เสื่อมคุณภาพ
2.1.11 ช่วยให้นักวิชาการและนักเขียนสามารถเผยแพร่ผลงานเขียนได้อย่างรวดเร็ว
2.2 ข้อจากัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ถึงแม้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีข้อดีที่สนับสนุนด้าน
การเรียนการสอนมากมายแต่ก็ยังมีข้อจากัดด้วยดังต่อไปนี้
2.2.1 คนไทยส่วนใหญ่ยังคงชินอยู่กับสื่อที่อยู่ในรูปกระดาษมากกว่า (“หนังสือพิมพ์
ออนไลน์นวัตกรรมสื่อแห่งอนาคต”, 2541 : 60) อีกทั้งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่สามารถใช้งาน
ได้ง่ายเมื่อเทียบกับสื่อสิ่งพิมพ์ และความสะดวกในการอ่านก็ยังน้อยกว่ามาก
2.2.2 หากโปรแกรมสื่อมีขนาดไฟล์ใหญ่มากๆ จะทาให้การเปลี่ยนหน้าจอมีความล่าช้า
2.2.3 การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดี ผู้สร้างต้องมีความรู้และ
ความชานาญในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการสร้างสื่อดีพอสมควร
2.2.4 ผู้ใช้สื่ออาจไม่ใช่ผู้สร้างสื่อฉะนั้นการปรับปรุงสื่อจึงทาได้ยากหากผู้สอนไม่มีความรู้
ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2.2.5 ใช้เวลาในการออกแบบมาก เพราะต้องใช้ทักษะในการออกแบบเป็นอย่างดี เพื่อให้
ได้สื่อที่มีคุณภาพ
9
3. การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน
ในอดีตสื่อการศึกษาที่เริ่มต้นใช้ในการเรียนการสอน คือสื่อสิ่งพิมพ์ซึ่งใช้กันมานานหลายร้อยปี
และยังคงใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพสูง (เอี่ยม ฉายางาม, 2534
: 14) ถึงแม้ว่าสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อที่ไม่มีวันหายไปจากวงการเรียนการสอนได้เลย แม้เวลาจะผ่านไปอีกร้อยปี
หรือพันปีข้างหน้า แต่อาจจะมีการเปลี่ยนรูปแบบเป็นไฮเปอร์เทกซ์แทน (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2534 : 5)
เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์เป็นเทคโนโลยีที่อานวยความสะดวกแก่การคิดของมนุษย์ และสอดคล้องกับ
ธรรมชาติส่วนใหญ่ของมนุษย์ที่ไม่ชอบคิดอะไรต่อเนื่องกันยาวๆ อยู่เพียงเรื่องเดียว (ครรชิต มาลัยวงศ์,
2534 : 16) ไฮเปอร์เทกซ์จะแสดงข้อความในรูปแบบที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถกระโดดจากเนื้อหาหนึ่งไปยังอีก
เนื้อหาหนึ่งง่ายดาย หรือเจาะลึกไปยังเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้มากเท่าที่ต้องการ เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์
ไม่ได้เข้ามาแทนที่ในหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ หากแต่จะช่วยฟื้นฟูบทบาทของหนังสือให้มีความสาคัญดังเดิม
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2540 : 223)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อที่ใช้ความสามารถของไฮเปอร์เทกซ์สนับสนุนการเรียนรู้ทุกรูปแบบ
ไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอนทางไกล, การเรียนที่ยืดหยุ่น,สนับสนุนการเรียนรู้รายบุคคล และการเรียน
แบบร่วมมือในการเรียนการสอนทางไกล (Barker,1996 : 16) โดยสามารถใช้เป็น”เครื่องช่วยสอน”
(Instrutional) ทั้งนี้เนื่องจากเป็นเครื่องมือในการสอน และอุปกรณ์ที่ให้ความรู้ที่หนังสือธรรมดาไม่สามารถ
จะให้ได้ด้วยลักษณะการปฏิสัมพันธ์,น้าหนักเบาพกพาได้สะดวก,ใช้งานง่ายตลอดจนพฤติกรรมที่เป็นพลวัต
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์บางประเภทสามารถที่จะนาไปประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบการเรียนรู้ส่วนบุคคลของ
ผู้อ่าน มีการดัดแปลงรูปร่างภายนอกของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการนาเสนอเพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกชอบและ
อยากเรียนรู้ (Collis,1991 : 356) ได้แก่ การออกแบบเป็นเครื่องแบบกระเปาหิ้วที่มีน้าหนักเบา พกพาสะ
ดวด หน้าจออ่านง่ายสบายตา และได้รับการออกแบบอย่างสวยงามหุ้มด้วยหนังหรือวัสดุอย่างดี หน้าจอ
อ่านง่ายสบายตา มรการพลิกหน้าใกล้เคียงกับการอ่านหนังสือเล่ม มีการคาดการณ์กันว่าหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์จะประสบผลสาเร็จในการเรียนการสอน ภายหลังจากศตวรรษที่ 20 อย่างแน่นอน (Diana
and Hieden, 1994 : 113) ตัวอย่างการนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการสอนมีดังนี้
ปี 1990 บีเนสท์(Benest, 1990,quoted in Barker, 1996 : 16) ได้มีการจินตนาการภาพไว้ว่าจะมีการ
ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของ การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (Computer – Assisted Learning)
สาหรับนักศึกษาในมหาวิทยาลัย เขาใช้ซอฟท์แวร์เลียนแบบหนังสือในการค้นหาการสอนแบบ
10
อิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของ “เลกเชอร์ออนไลน์” เขากล่าวว่า จะทาให้เสียเวลาในการเรียนแบบบรรยาย
ลดลง และใช้เวลาที่เหลือในการทากิจกรรมอื่น เช่น กิจกรรมแก้ปัญหา, การฝึกปฏิบัติ,การอภิปรายกลุ่ม
และการช่วยกันทางาน เป็นต้น การเริ่มต้นออกแบบและผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสอนนั้นบาร์ค
เกอร์ และกิลเลอร์ (Barker (1991,1993)and Giller (1992), quoted in Barker, 1996 : 16) ได้ทดลองหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์กับเด็กวัยรุ่นเป็นชุดปฏิสัมพันธ์แบบไฮเปอร์มีเดียโดยใช้เรื่องราวของการสารวจ และเกมที่
สอนเกี่ยวกับอักขระภาษาอังกฤษบนซีดีรอม ต่อมาก็ได้ศึกษาเรื่องมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอน
เรื่องภาษาฝรั่งเศสซึ่งพิมพ์ลงบนซีดีรอม ตลอดจนการทดลองการสอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการ
สอนเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ (Barker,1994,quoted in Barker,1996 : 16) ได้ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการ
นาเสนอภาพยนตร์ ซึ่งได้รับผลสาเร็จด้วยดีในการศึกษาผู้ใหญ่ จากการวิเคราะห์การศึกษาข้างต้นในแนว
ลึกนั้นพบว่าได้รับผลที่น่าพึงพอใจในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เก็บและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อการ
สอน
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้จากตัวหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์เองแล้ว ยังสามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากเวปไซต์ที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วยเพื่อกระต้นให้
ผู้เรียนเกิดความตื่นตัวในการเรียนรู้ ซึ่งเหมาะกับผู้เรียนทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับมหาวิทยาลัย
ซึ่งมีเครื่องมือครบครัน
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ตั้งแต่ปี 1990 บาร์คเกอร์และกิลเลอร์ (Barker and Giller,1992,quoted in Barker, 1992 : 144-147)
ได้มีการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาของการผลิตและการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นประโยชน์
เพื่อทดลองและกาหนดแนวทางในการออกแบบและผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทั้งสองได้ค้นพบรูปแบบ
ระดับสูงในการออกแบบโมเดล และคาแนะนาในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้พวกเขา
ยังได้มีการศึกษาเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นกรณีพิเศษ 7 ตัวอย่าง โดย 4 ตัวอย่างแรกจะเป็นหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการค้าและ 3 ตัวอย่างหลังเพื่อการวิจัยและพัฒนาในห้องทดลองดังต่อไปนี้
1.1 เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ (The Grolier Encyclopedia)เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์บน
ซีดีรอมเป็นตัวอย่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีเครื่องอานวยความสะดวดในการแก้ไขข้อมูล
ข่าวสาร และโน๊ตแพดไว้ได้บรรจุข้อมูลฉบับเอกสารของเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์การศึกษาของ
11
อเมริกา ไว้รวม 21 เล่มบนซีดีรอม 1 แผ่น สิ่งพิเศษที่มีในเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ คือดัชนีหัว
เรื่องตามลาดับอักษร, ดัชนีตามคาในเอ็นไซโคลพีเดีย (เรียงตามคา เช่น ‘an’, ‘and’‘the’ เป็นต้น),
คาเต็มมากกว่า 30,000 คา บทความ (รวมมากกว่า 9 ล้านคา)
ในการค้นหาคาจะใช้พื้นฐาน 3 ประการ คือ ค้นหาตามดัชนีคา (ประมาณ 136,750 คา),
ค้นหาตามดัชนีหัวเรื่อง (30,000 หัวเรื่อง)และค้นหาแบบบูลีน (Boolean Search) โดยการใช้ดัชนีคา
ซึ่งทาให้การค้นหาคาเป็นไปได้ง่ายขึ้น
1.2 เอ็นไซโคลพีเดียคอมตัน (Comton ’s Multimedia Encyclopedia) เอ็นไซโคลพีเดียโกร
เลียร์ที่ได้กล่าวถึงข้างต้นนั้นเป็นการพิมพ์ที่มีเฉพาะตัวอักษร แต่เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันเป็นการ
พิมพ์แบบมัลติมีเดียที่รวมเอตัวอักษร,เสียง และภาพเข้าไว้ด้วยกัน สามารถบรรจุตัวอักษรไว้ได้ 26
เล่ม ของเอกสารกระดาษ เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันสามารถเก็บภาพได้มากกว่า 15000 ภาพ
(ภาพถ่าย, ภาพประกอบ, แผนที่, กราฟ, และแผนภูมิ)ภาพเคลื่อนไหว 45 ภาพ, พจนานุกรมและ
เสียง 60 นาที (ทั้งเพลง, คาพูดและภาพเคลื่อนไหว
1.3 ห้องสมุดคอมพิวเตอร์ (Computer library)เทคโนโลยีหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน
สนับสนุนการเผยแพร่ข่าวสารตลอดจนการแก้ไขห้องสมุดคอมพิวเตอร์ เป็นตัวอย่างหนึ่งของการ
เผยแพร่และให้บริการแก้ไข โดยบริษัทโลตัส และบริษัทซิป ซีดีรอมที่เกิดจากห้องสมุด
คอมพิวเตอร์จะจัดการกับข้อมูลอย่างรวดเร็ว โดยมีขอบเขตที่กว้างของผลิตภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์
กับคอมพิวเตอร์และหัวข้อ เช่น ผลิตภัณฑ์พิเศษ, งานวิจารณ์, คาแนะนาด้านเทคนิค,ประวัติการผลิต
สั้นๆ และอุตสาหกรรมใหม่ พวกเขาจะบรรจุอุปกรณ์ซึ่งได้กลั่นกรองมาจากเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์มากกว่า 140 เครื่อง และธุรกิจการพิมพ์ การใช้ระบบนี้สามารถเป็นไปได้ในข้อมูล
และประวัติการผลิตสั้นๆมากกว่า 11,000 รายการ
1.4 หนังสือฝึกหัดการพูด (Discis Talking Books)การวิจัยความรู้ที่เกี่ยวกับการฝึกหัดได้
เกิดขึ้นในประเทศแคนาดา ในขอบเขตของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สื่อประสมบนซีดีรอม ตัวอย่าง
การพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ซินเดอเรลลา นิทานกระต่ายของเบนจามิน และนิทานเจ้ากระต่ายปีเตอร์
หนังสือชนิดนี้เป็นตัวอย่างของหนังือภาพนิทานพูดได้สาหรับเด็ก 3-9 ขวบ
12
หนังสือแต่ละเล่มจะปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์เหมือนกับการเปิดอ่านหนังสือปกติ
หน้าจอจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนขวามือจะเป็นตัวแสดงผล แต่ละหน้าจะบรรจุภาพ
คุณภาพสูง,ตัวอักษรและไอคอนควบคุม
ส่วนประกอบที่สาคัญแต่ละหน้าจะมีไอคอนพูดได้ ซึ่งถือว่าเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์พูด
ได้เมื่อกดปุ่มมันจะอ่านดังๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น พร้อมกับเปิดหน้าเองโดยอัตโนมัติ
(หรืออาจไม่เปิด) เมื่อปิดสวิชต์มันจะหยุดพูด และให้ใช้ออกเสียงตามคา,วลีหรือประโยคนั้น
ระหว่างการเล่าเรื่องจะมีเสียงประกอบ และดนตรีคลอไปด้วยการนาเสนอซึ่งเพิ่มความสมจริงสม
จังเข้าไปด้วย
1.5 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สาหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้
ผลงานส่วนใหญ่ของการวิจัยบาร์คเกอร์และกิลเลอร์มักสร้างสาหรับเด็กเล็กบนซีดีรอม
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประภทนี้มีเจตนาที่จะผลิตเพื่อใช้เป็นหนังสือนิทานสื่อประสม
อิเล็กทรอนิกส์ ใช้สอนเด็กเล็กเกี่ยวกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ ซึ่งได้รวบรวมเกมและแบบทดสอบ
ย่อยเอาไว้ หนังสือนี้จะช่วยในการพัฒนาด้านการอ่านของเด็กโดยจะบรรจุนิทานที่มีการเชื่อมโยง
แบบไฮเปอร์เท็กซ์เอาไว้
1.6 การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์
สิ่งสาคัญในบริบทของการเก็บเอกสารสาคัญของข่าวสาร หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะใช้
ประโยชน์ในการเป็นทรัพยากรการสอนเช่นเดียวกับหนังสือทั่วไปๆไป เราสามารถใช้หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายและประยุกต์ใช้ในงานการอบรม จาก
ความสามารถในการโต้ตอบและดัดแปลงใช้งานง่าย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จึงมีความสามารถใน
การสอนมากกว่าหนังสือเล่ม เพราะสามารถเป็นผู้ช่วยเหลือนักเรียนในการปฏิสัมพันธ์และ
ประเมินผลตามหลักสูตรที่ได้ตั้งไว้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังสามารถเป็นซอฟท์แวร์
การอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์
ในการค้นหาความสามารถในการสอนของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ บาร์คเกอร์และกิลเลอร์
ก็ได้ผลิตพื้นฐานการพิมพ์ออกมาใช้ชื่อว่า การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐาน
คอมพิวเตอร์ (Screen Desing for Computer-Based Training) (Barker, et al, 1990, quoted in
13
Barker, 1992 : 146) ซึ่งได้สอนผู้ใช้เกี่ยวกับการออกแบบหน้าจอที่ดีสาหรับการอบรมพื้นฐาน
คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยการออกแบบหน้าจอ, การใช้สี, พื้นที่ฟังก์ชัน, การใช้ตัวอักษร, การใช้
ภาพ, การออกแบบไอคอน, การใช้วินโดวส์และการใช้เมนู, เทคนิคการปฏิสัมพันธ์, กรณีศึกษาและ
แบบฝึกหัดการออกแบบ รวมทั้งแบบทดสอบย่อยและประเมินผลความเข้าใจของผู้อ่าน
1.7 การพิมพ์วิทยานิพนธ์บนซีดีรอม
จากข้อดีของซีดีรอมกล่าวคือ มีความแข็งแรงทนทาน,ความน่าเชื่อถือ,มีความสามารถใน
การเก็บข้อมูลสูง,มีเครื่องอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้,สามารถเก็บตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว และการเผยแพร่ที่สะดวกและรวดเร็ว ได้ถูกนามาใช้งานวิทยานิพนธ์แทนที่
วิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบนกระดาษซึ่งมีข้อจากัดมากมาย (Barker, et al,) 1992, quoted in Barker,
1992: 147) วิทยานิพนธ์เล่มแรกได้มีการจัดพิมพ์ขึ้นบนซีดีรอมได้มีการแปลงตัวหนังสือ,แผนภาพ
และตารางในหนังสือให้ไปอยู่บนซีดีรอม (Giller,1992,ๆquoted in Barker,1992 : 147) พื้นฐาน
เหล่านี้ได้ถูกนาไปขยายขอบเขตการสาธิตซอฟท์แวร์ซึ่งผลิตระหว่างการวิจัย ในการแก้ไขข่าวสาร
จากซีดีรอมโดยชุดการแก้ไขข้อมูลแบบเต็มซึ่งเรียกว่า รอมแวร์ (Romware)ได้มีการประเมิน
วิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบนกระดาษกับพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์ปรากฏว่า พบสิ่งที่น่าสนใจ 3 อย่าง
ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คือ 1. ความง่ายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าสาร 2. งายต่อการใช้งาน 3.เพิ่ม
คุณค่าให้กับวิทยานิพนธ์จากซอฟต์แวร์การสาธิตและความเป็นพลวัตซึ่งเป็นที่ต้องการของ
ผู้อ่านวิทยานิพนธ์ สิ่งสาคัญของคาถามที่ได้ค้นพบในการพิมพ์วิทยานิพนธ์ลงซีดีรอม คือ การ
เผยแพร่การวิจัยที่ค้นพบได้เป็นจานวนมาก
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกราฟิกเบื้องต้น
จงกล เฮงสุวรรณ (2540 : บทคัดย่อ) ได้วิเคราะห์แนวโน้มหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับปริญญาตรี
ของสถาบันราชภัฎในทศวรรษหน้า พบว่า ในด้านเนื้อหาวิชามีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการ
สอนเพิ่มขึ้น ได้แก่ วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์ศิลป์ คอมพิวเตอร์กราฟิก 2-3 มิติ เป็นต้น อีกทั้ง
สื่อที่จะนามาประกอบการเรียนการสอนนั้นจะเป็นสื่อที่ทันสมัย รวมทั้งมีการนาเอาอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ใน
การเรียนการสอน
ธารงศักดิ์ ธารงเลิศฤทธิ์ (2540 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาทัศนะของผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร
และนักการศึกษาด้านศิลปศึกษาเกี่ยวกับแนวโน้มของหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นใน
14
ทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2541-2550) โดยใช้เทคนิคเดลฟาย พบว่า วิดีโอและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะ
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีบทบาทมากขึ้นกว่าแต่ก่อน
15
บทที่ 2
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยข้อนาเสนอสาระในประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้
1.กว่าจะมาเป็นe-Book
2.ความหมายของe-Book
3.โปรแกรมที่นิยมใช้สร้างe-Book
4.ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) กับหนังสือทั่วไป
5.โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction)
6.สร้าง E- Book ด้วยโปรเเกรม FlipAlbum 6.0 Pro.
1.กว่าจะมาเป็นe-Book
หนังสือที่มีอยู่โดยทั่วไป จะมีลักษณะเป็นเอกสารที่จัดพิมพ์ด้วยกระดาษ แต่ด้วยความเปลี่ยนแปลง
ของ ยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลงด้านเล็กทรอนิกส์ ที่มีการพัฒนาต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยั้ง ทาให้มีการ
คิดค้นวิธีการ ใหม่โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย จึงได้นาหนังสือดังกล่าวเหล่านั้นมาทาคัดลอก
(scan)โดยที่หนังสือก็ยังคงสภาพเดิมแต่จะได้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นแฟ้มภาพขึ้นมาใหม่วิธีการ
ต่อจากนั้นก็คือจะนาแฟ้ม ภาพตัวหนังสือมาผสานกระบวนการแปลงภาพเป็นตัวหนังสือ(text)ด้วยการทา
OCR (Optical Character Recognition)
คือการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้เป็นตัวหนังสือที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติม
ได้การถ่ายทอดข้อมูลในระยะต่อมา จะถ่ายทอดผ่านทางแป้ นพิมพ์และประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือ
และ ข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ ดังนั้นหน้ากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูล(files) แทน ทั้งยังมี
ความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (documents printing)
รูปแบบของหนังอิเล็กทรอนิกส์ยุคแรกๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท.doc, .txt, .rtf, และ.pdf
ไฟล์ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษาHTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่างๆ ก็จะถูกออกแบบและ
ตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยในแต่ละหน้าของเว็บไซต์เราเรียกว่า"web page"โดยสามารถ เปิดดูเอกสาร
16
เหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผล ข้อความ ภาพ
และการปฏิสัมพันธ์ผสานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้น บริษัทไมโคร
ซอฟ (Microsoft)ได้ผลิตเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมาเพื่อคอยแนะนาในรูปแบบHTML Help ขึ้นมา มี
รูปแบบของไฟล์เป็น.CHM โดยมี ตัวอ่านคือMicrosoft Reader (.LIT)
หลังจากนั้นต่อมามีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จานวนมาก ได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั้ง
สามารถ ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือทั่วไปได้เช่น สามารถแทรก
ข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านั้นคือ หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้าง จัดเชื่อมโยงเอกสาร(Hypertext)ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งภายใน
และภายนอกได้อีกทั้งยังสามารถ แทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้โดยคุณสมบัติ
เหล่านี้ไม่สามารถทาได้ในหนังสือทั่วไป
2.ความหมายของe-Book
“อีบุ๊ค”(e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป็นคาภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคาว่าelectronic book
หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะ
เป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผสานทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์
คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ
ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้อีกประการหนึ่ง
ที่ สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะ
ไม่มีใน หนังสือธรรมดาทั่วไป
3.โปรแกรมที่นิยมใช้สร้างe-Book
โปรแกรมที่นิยมใช้สร้าง e-Book มีอยู่หลายโปรแกรม แต่ที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันได้แก่
1. โปรแกรมชุด Flip Album
2. โปรแกรม DeskTop Author
3.โปรแกรม Flash AlbumDeluxe
17
ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะต้องติดตั้งโปรแกรมสาหรับอ่าน e-Book ด้วย มิฉะนั้นแล้วจะเปิดเอกสาร
ไม่ได้ประกอบด้วย
1.1โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอ่านคือ FlipViewer
1.2โปรแกรมชุด DeskTop Author ตัวอ่านคือ DNL Reader
1.3โปรแกรมชุด Flash Album Deluxeตัวอ่านคือFlash Player
สาหรับบางท่านที่มีความชานาญในการใช้โปรแกรม Flash Mx ก็สามารถสร้าง e-Book ได้เช่นกัน
แต่ต้องมีความรู้ในเรื่องการเขียน Action Script และXML เพื่อสร้าง e-Book ให้แสดงผลตามที่ ต้องการได้
4.ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) กับหนังสือทั่วไป
ความแตกต่างของหนังสือทั้งสองประเภทจะอยู่ที่รูปแบบของการสร้าง การผลิตและการใช้งาน เช่น
1. หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ(อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้)
2.หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างให้มี
ภาพเคลื่อนไหวได้
3.หนังสือทั่วไปไม่มีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถใส่เสียงประกอบได้
4.หนังสือทั่วไปแก้ไขปรับปรุงได้ยาก หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล
(update)ได้ง่าย
5.หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจัดเชื่อมโยง (links)ออกไป
เชื่อมต่อกับ ข้อมูลภายนอกได้
6.หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตส่ง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนในการผลิตหนังสือต่า ประหยัด
7. หนังสือทั่วไปมีขีดจากัดในการจัดพิมพ์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจากัดในการจัดพิมพ์
สามารถทาสาเนาได้ง่ายไม่จากัด
8.หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านด้วยโปรแกรม ผ่านทางหน้า
จอคอมพิวเตอร์
18
9.หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นอกจากอ่านได้แล้วยังสามารถสั่งพิมพ์
(print)ได้
10.หนังสือทั่วไปอานได้1 คนต่อหนึ่งเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกันได้
จานวนมาก(ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต)
11. หนังสือทั่วไปพกพาลาบาก (ต้องใช้พื้นที่) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพาสะดวกได้ครั้งละ
จานวนมากในรูปแบบ ของไฟล์คอมพิวเตอร์ ใน handy drive หรือ CD
5.โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction)
ลักษณะโครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล้ายคลึงกับหนังสือทั่วไปที่พิมพ์ด้วย
กระดาษ หากจะมี ความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ่านหนังสือ สรุป
โครงสร้างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย
• หน้าปก(Front Cover)
• คานา (Introduction)
• สารบัญ(Contents)
• สาระของหนังสือแต่ละหน้า(Pages Contents)
• อ้างอิง(Reference)
• ดัชนี(Index)
• ปกหลัง(Back Cover)
หน้าปก หมายถึง ปกด้านหน้าของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนแรก เป็นตัวบ่งบอกว่าหนังสือเล่มนี้ชื่อ
อะไร ใครเป็นผู้แต่ง
คานา หมายถึง คาบอกกล่าวของผู้เขียนเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล และเรื่องราว
ต่างๆ ของหนังสือ เล่มนั้น
19
สารบัญ หมายถึง ตัวบ่งบอกหัวเรื่องสาคัญที่อยู่ภายในเล่มว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง อยู่ที่หน้าใด
ของหนังสือ สามารถเชื่อมโยงไปสู่หน้าต่างๆ ภายในเล่มได้
สาระของหนังสือแต่ละหน้าหมายถึง ส่วนประกอบสาคัญในแต่ละหน้า ที่ปรากฏภายในเล่ม
ประกอบด้วย
• หน้าหนังสือ(Page Number)
• ข้อความ(Texts)
• ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff
• เสียง(Sounds) .mp3, .wav, .midi
• ภาพเคลื่อนไหว(Video Clips, flash) .mpeg, .wav, .avi
• จัดเชื่อมโยง (Links)
อ้างอิง หมายถึง แหล่งข้อมูลที่ใช้นามาอ้างอิง อาจเป็นเอกสาร ตารา หรือ เว็บไซต์ก็ได้
ดัชนี หมายถึง การระบุคาสาคัญหรือคาหลักต่างๆ ที่อยู่ภายในเล่ม โดยเรียงลาดับตัวอักษรให้
สะดวกต่อการค้นหา พร้อมระบุเลขหน้าและจัดเชื่อมโยง
ปกหลัง หมายถึง ปกด้านหลังของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนท้ายเล่ม
6.สร้าง E- Book ด้วยโปรเเกรม FlipAlbum 6.0 Pro.
สื่อนาเสนอในปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบใหม่ความโด่ดเด่น น่าสนใจด้วยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
(Multimedia) การนาเสนอข้อความหรือเนิ้อหาปริมาณมากๆ ในลักษณะของสิ่งพิมพ์หรือ หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากสิ่งพิมพ์หรือหนังสือที่เป็นไฟล์เนื้อหาเพียงอย่าง
เดียว ต้องดูด้วยเทคนิคการเลื่อนจอภาพ ไปเป็นเทคนิคการนาเสนอที่มีลักษณะการเปิดหน้าหนังสอแบบ
เสมือน เนื้อหาที่นาเสนอเป็นได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วิดีทัศน์ และเสียง อันเป็นการใช้
ความสามารถของเทคโนโลยีมัลติมีเดียมาผสมผสานกบ e-Book ได้อย่างลงตัว เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมสูง
อย่างมากในปัจจุบันภายใตชื่อเรียกว่า Multimedia e-Book
20
การพัฒนา Multimedia e-Book มีซอฟต์แวร์ช่วยหลายตัว โดยซอฟต์แวร์ที่โดดเด่นตัวหนึ่งคือ
FlipAlbum ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนามาเป็น FlipAlbum 6.0 โดยความสามารถของโปรแกรมที่ทาให้การนาเสนอ
สื่อออกมาในรูปแบบ 3D Page-Flipping interface และมีชื่อเรียกเฉพาะว่า FlipBook ผลงานที่ได้นี้สามารถ
นาเสนอได้ทั้งแบบ Offline ด้วยความสามารถ AutoRun อัตโนมัติ และ Online ผ่านโปรแกรมแสดงผล
เฉพาะ FlipViewer
คุณสมบัติขั้นต่าของคอมพิวเตอร์
• ระบบปฏิบัติการ Windows® 98/2000/ME/XP
• คอมพิวเตอร์ IBM® PC compatible หนวยประมวลผล Pentium® II 300 MHz
- หน่วยความจาแรมอย่างต่า 128 MB
- พื้นที่ว่างของฮาร์ดดิสก์อย่างต่า 100 MB
- การ์ดแสดงผล 16-bit
- จอภาพที่มีความละเอียดไม่น้อยกว่า 800 × 600 pixels
21
เตรียมความพร้อมก่อนสร้าง E-Book
ข้อมูลที่สามารถใส่ลงในโปรเเกรม Flip album ได้นั้นมีรูปเเบบที่หลากหลายทั้งข้อความ, ภาพนิ่ง,
ภาพเคลื่อนไหว, ไฟล์วิดิโอเเละไฟล์เสียง ดังนั้นควรจัดเตรียมข้อมูล ตกเเต่งรูปภาพเเละอื่นๆ ให้เสร็จ
เรียบร้อยก่อนเเละจัดเก็บรวมกันไว้ใน Folder ที่กาหนดขึ้นเช่น C:my pic เป็นต้น ทั้งนี้ไฟล์ที่สามารถใช้ได้
ได้เเก่ (GIF, JPG, PNG, BMP, WMF, ICO, PCX, TIF, PCD, PSD); OEB Package Format (OPF); Sound
Files (MID, WAV, MP3); Video Files (AVI, MPG)
การสร้างเอกสาร E – Book
เปิดโปรแกรม FlipAlbum จากเมนูคาสั่ง Start, Program, E-Book Systems, flipAlbum 6 Pro,
FlipAlbum Pro จะปรากฏจอภาพทางาน โดยส่วนสาคัญของการสร้าง e-Book อย่างง่ายและเร็วนี้คือจอภาพ
QuickStart (ถ้าไม่ปรากฏให้เลือกคาสั่ง File, Start Wizard)
22
จากภาพดังกล่าวมี ขั้นตอนการทางาน 3 ขั้นตอนดังนี้
1. คลิกรายการ Open Folder แล้วเลือกโฟลเดอรที่เตรียมภาพไว้ก่อนหน้านี้ (ตัวอย่างคือโฟลเดอร์
Graffiti)
2. จากนั้นคลิกรายการ Page Layout เพื่อเลือกรูปแบบของสื่อ ทั้งนี้รูปแบบ Single image per page
เป็นลักษณะการนาเสนอภาพแยกเป็น 2 หน้ากระดาษ และรูปแบบ Centerfold page เป็นลักษณะการ
นาเสนอภาพบนกระดาษแผ่นใหญ่แผ่นเดียว ทั้งนี้เมื่อคลิกเลือกจะปรากฏ Effect สีขาวฟุ้งๆ รอบรูปแบบที่
เลือก
23
3. จากนั้นคลิกเลือก Themes เพื่อเลือกลักษณะปก และพื้นหนังสือ
4. เมื่อครบทั้ง 3 ขั้นตอนก็คลิกปุ่ม Finish โปรแกรมจะนาภาพทุกภาพในโฟลเดอร์ที่ระบุมาสร้าง
เป็น e-Book ให้อัตโนมัติ
การเลื่อนหน้ากระดาษ
 คลิกบนหน้ากระดาษด้านขวา เพื่อดูหน้าถัดไป
 คลิกบนหน้ากระดาษด้านซ้าย เพื่อย้อนกลับ
 เลื่อนเมาส์ไปชี้ที่ขอบหนังสือด้านซ้ายหรือขวามือเพื่อเลือก
หน้าที่จะเปิด
 คลิกปุ่มขวาของเมาส์บนหน้ากระดาษ เเล้วคลิกคาสั่ง
Flip To
24
o Front Cover คือปกหน้า
o Back Cover คือปกหลัง
o Overview คือหน้าสรุปรวมเนื้อหา
ซึ่งมีลักษณะเป็นภาพขนาดเล็ก (Thumbnails)
การทางานของหน้านี้ แบ่งเป็น
>> การคลิกที่รูปภาพเล็ก เพื่อแสดงภาพแบบเต็มจอ กดปุ่ม Esc เพื่อกลับสู่สภาวะปกติ
>> การคลิกที่ชื่อภาพ เพื่อเปิดไปยังหน้านั้นๆ
>> ใช้เทคนค Drag & Drop ชื่อไฟล์ภาพ เพื่อสลับตาแหน่ง
>> คลิกปุ่มขวาของเมาส์ที่รูปเพื่อเปิดเมนูลัดในการทางาน
o Contents คือหน้าสารบัญ โปรแกรมจะนาชื่อไฟล์ภาพหรือสื่อมาเป็นรายการสารบัญ ซึ่งสามารถ
ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ตามต้องการ แต่ห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษใดๆ เช่น % ^ /
25
การปรับเปลี่ยนอัลบั้มอิสระ
FlipAlbum จะกาหนดลักษณะของหน้าปก, หน้าเอกสารด้วยภาพที่มีสีสันตาม Themes ที่เลือกเเต่ก็
สามารถปรับเเต่งได้เอง โดย
1. เลือกหน้าเอกสารที่ต้องการปรับเเก้ไข
2. คลิกขวาพื้นที่หน้านั้น เเล้วเลือกคาสั่ง Page Properties
3. เลือกลักษณะของพื้นเอกสาร
• Default ตามค่าเริ่มต้นของระบบ
• Color ระบุสีเพื่อเเสดงผลเป็นสีของพื้นเอกสาร
• Texture ระบุไฟล์กราฟิกอื่นๆ ที่จะนามาใช้เป็นพื้นเอกสาร
4. คลิกปุ่ม OK เพื่อยืนยันการปรับเเต่งหน้าเอกสาร
26
ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนหน้าเอกสาร E-book : Graffiti
การเลือกสันปกเเบบต่างๆ
เป็นการเลือกรูปเเบบของสันปกอัลบั้มว่าจะใส่ห่วงสันปกหรือไม่ ซึ่งมีหลายเเบบให้เลือก ทาได้โดย
คลิกที่คาสั่ง Options >> Book Binder เเละเลือกรูปเเบบที่ต้องการดังรูป
27
การปรับแต่ง / เพิ่มเติมข้อความ
การปรับแต่งแก้ไขข้อความใน e-Book ทาได้โดยการดับเบิ้ลคลืกที่ข้อความเดิม ซึ่งจะปรากฏเป็น
กรอบข้อความ และแถบเครื่องมือการปรับแต่งข้อความ
การเพิ่มข้อความ
การเพิ่มข้อความ จะต้องตรวจสอบก่อนว่าข้อความนั้นจะเพิ่มในหน้าซ้าย หรือหน้าขวาได้หรือไม่
โดยสังเกตจากปุ่มเครื่องมือ Insert Annotation ซึ่งจะถูกแบ่งครึ่ง ครึ่งซ้ายคือการเพิ่มข้อความในกระดาษ
หน้าซ้าย และคึ่รงขวาคือการเพิ่มข้อความในกระดาษหน้าขวา หากปุ่มเครื่องมือ Insert Annotation ไม่
สามารถคลิกได้ แสดงว่าหน้ากระดาษที่ปรากฏไม่สามารถป้ อนข้อความได้ จะต้องเพิ่มหน้ากระดาษที่
สามารถป้อนข้อความได้ด้วยคาสั่ง Edit, Insert Page, Left Page หรอ Right Page ก่อน
การปรับแต่งรูปภาพ
 การย่อ/ขยายรูปภาพ สามารถทาได้หลากหลายวิธี ได้แก่
- การย่อ/ขยายด้วย Handle
- การย่อ/ขยายด้วยเมนูคาสั่งทีละภาพ
- การย่อ/ขยายแบบ Batch ซึ่งให้ผลพร้อมกันหลายๆ ภาพ
 การหมุนภาพ
ภาพที่นาเข้ามาบางภาพอาจจะมีแนวการแสดงผลไม่เหมาะสม ซึ่ง สามารถหมุนภาพให้เหมาะสม
ได้โดยคลิกขวาที่ภาพ แล้วเลือกคาสั่ง Rotate จะปรากฏคาสั่งย่อย ดังนี้
- Left by 90 หมุนไปทางซ้าย 90 องศา
- Right by 90 หมุนไปทางขวา 90 องศา
- By 180 หมุน 180 องศา
- By Other Angles หมุนโดยกาหนดมุมอิสระ
28
 การแสดงภาพด้วย Effect พิเศษ
ทาได้โดยการคลิกขวาที่ภาพ แล้วเลือกคาสั่ง Effects จะปรากฏ คาสั่งย่อย ดังนี้
- Transparent ทาให้พื้นของภาพมีลักษณะโปร่งใส โดยโปรแกรมจะแสดงหลอดดูดสี (Eye Dropper)
ให้คลิก ในตาแหน่งสีที่ต้องการทาให้ เป็นสีโปร่งใส
- 3D ทาให้ภาพมีลักษณะนูนแบบ 3 มิติ
- Shadow ทาให้ภาพมีเงา
- Select Crop Shape เลือกรุปทรงพิเศษ ซึ่งมีตัวเลือก ดังนี้
เมื่อคลิกรูปแบบที่ต้องการแล้วคลิก OK ภาพดังกล่าวจะแสดงผลด้วยรูปแบบที่เลือก เช่น
29
- Add/Edit Frame ใส่กรอบให้กับรูปภาพ โดยมีลักษณะ กรอบภาพ ดังนี้
การเพิ่มรูปภาพ
การเพิ่มรูปภาพใน e-Book ทาได้โดยคลิกปุ่มเครื่องมือ Insert Multi-media Objects หรือ คลิกขวาที่
หน้าเอกสารที่ต้องการเพิ่มรูปภาพเลือก Multi-media Objects
30
จากนั้นเลือกไดร์ฟ และโฟลเดอร์ที่ต้องการเลือกรูปภาพ กรณีที่ไม่ปรากฏภาพตัวอย่างให้คลิกที่
ปุ่ม จากนั้นเลือกภาพที่ต้องการแล้วลากมาวางในหน้ากระดาษ
การใส่ไฟล์วิดีโอ และไฟล์เสียงลงในอัลบั้ม
นอกจากข้อความและภาพนิ่ง โปรแกรมยังสนับสนุนการนาเสนอสื่อมัลติมีเดียรูปแบบต่างๆ เช่น
เสียง วีดิทัศน์ และภาพเคลื่อนไหว เช่น Gif Animation โดยใช้เทคนิคการนาเข้า เช่นเดียวกับรูปภาพ คือใช้
ปุ่มเครื่องมือ Insert Multi-media Objects แล้วลากไฟล์สื่อที่ต้องการมาวางบนหน้ากระดาษ
การทาจุดเชื่อมโยง (Link)
การทาจุดเชื่อมหรือลิงก์ (Link) ด้วยข้อความหรือวัตถุต่างๆ ไปยังตาแหน่งต่างๆ หรือเรียกว่า
เว็บไซต์ ก็เป็นฟังก์ชั่นหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของ e-Book ดังนั้น FlipAlbum จงเตรียมคาสั่งเพื่อให้สามารถ
ทางานได้สะดวก โดยเลือกกรอบข้อความ รูปภาพแล้วคลิกขวา จากนั้นเลือกคาสั่ง Set Link..
31
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า
การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Resrarch and Development) ซึ่งผู้ศึกษา
ได้กาหนดวิธีการดาเนินการศึกษาดังรายละเอียดที่จะเสนอตามลาดับคือ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง แบบ
แผนงานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การสร้างเครื่องมือในการศึกษา วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีดาเนินการทดลอง และการวิเคราะห์ข้อมูลดังรายละเอียดต่อไปนี้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร
1.1 ประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มโรงเรียนโนนดินแดง อาเภอ
โนนดินแดงแดง จังหวัดบุรีรัมย์จานวน 441 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนโนนดินแดง อาเภอโนนดินแดงแดงได้มา
โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบ
หาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้
1.2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบเดี่ยว จานวน 3 คน
1.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบกลุ่ม จานวน 9 คน
1.2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แบบภาคสนาม จานวน 30 คน
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”

More Related Content

What's hot

บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์Znackiie Rn
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 

What's hot (20)

บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 

Similar to โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”

รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8Nitikan2539
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาMoomy Momay
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตRungdawan Rungrattanachai
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Ktmaneewan
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา” (20)

รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
บทที่1test
บทที่1testบทที่1test
บทที่1test
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวาแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แตงกวา
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Title
TitleTitle
Title
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”

  • 1. 1 บทที่ 1 โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา” ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพิชชาภา เลี่ยมนพรัตน์ รหัสนิสิต 55540177 คณะศึกษาศาสตร์ สาขา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ ดร. ภูเบศ เลื่อมใส หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาในอนาคตที่จะถึงนี้จาเป็นต้องยึดแนวทางตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด อย่างไรก็ตามการดาเนินการจัดการศึกษาทั้งในปัจจุบัน และในอนาคตคงปฏิเสธ ไม่ได้ถึงความจาเป็นต่อการนาเอาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อดาเนินการจัดการศึกษา คณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติได้ตระหนักถึงความจาเป็นในประเด็นนี้จึงได้นาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาบรรจุลงไปใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติอย่างเน้นหนัก และชัดเจน รัฐบาลต้องส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการ ผลิต และพัฒนาแบบเรียนตารา หนังสือทางวิชาการสื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษาอื่นโดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิต และมีการให้ แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดนเสรีอย่างเป็นธรรม (พรบ.การศึกษา มาตรา 64 ) แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ กล่าวถึงกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล เน้นฝึกฝนทักษะสาคัญ คือ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์การ ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้ องกัน และแก้ไขปัญหา การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยจัด กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้คิดเป็นทาเป็นใฝ่เรียนใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ(อัญชลี สวัสล้า 2556 : 1) จึงเป็นภาระงานที่สาคัญ และมีคุณค่าต่อความเป็นบุคลากรทางการศึกษา มืออาชีพในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่จะต้องออกแบบ สื่อหรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการจัดการเรียน การสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจอยากเรียนรู้ มีความสุขจากการเรียน ย่อมจะทาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่างมีความสุข เข้าใจในสิ่งที่ครูต้องการถ่ายทอด หรือสามารถสอนเด็กให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้ โดยเร็ว จากผลการประเมินของสมศ.สรุปได้ว่ามีสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานทั้งระดับปฐมวัย
  • 2. 2 และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4,322 แห่งจากจานวนสถานศึกษาที่เข้าร่วมการประเมินจานวน 2,0374 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22.21 และในจานวนสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองนี้พบว่ามาตรฐานผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ การคิดวิเคราะห์การใฝ่เรียน (มาตรฐานที่ 4, 5, และ6) มีคุณภาพระดับดีขึ้นไปไม่ถึงร้อยละ 50 ของจานวน สถานศึกษาทั้งหมด (สานักทดสอบทางการศึกษา. 2553 : 1) ทาให้มีผู้สนใจพัฒนาผู้เรียนด้านการคิดกันอย่าง แพร่หลาย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-book เป็นสื่อเทคโนโลยีอีกประเภทหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทางครู หรือ บุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะด้านการคิดตามที่มาตรฐานการศึกษากาหนด หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หรือ e-book ย่อมาจากคาว่า electronic book หมายถึงหนังสือที่สร้างขึ้นด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูล ที่สามารถอ่าน เอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งระบบออฟไลน์และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถเชื่อมโยงจุดไปส่วนต่าง ๆของหนังสือของหนังสือเว็บไซด์ต่าง ๆตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์ และโต้ตอบ กับผู้เรียนได้ นอกจากนี้หนังสืออีเล็กทรอนิกส์ยังสามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้ที่สาคัญก็คือหนังสืออีเล็กทรอนิกส์ สามารถ ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป หนังสือ อีเล็กทรอนิกส์( e-book) ต่างจากหนังสือทั่วไป ดังนี้ 1. หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ 2. หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างภาพให้ เคลื่อนไหวได้ 3. หนังสือทั่วไปไม่มีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถใส่เสียงประกอบได้ 4. หนังสือทั่วไปแก้ไขปรับปรุงได้ยาก หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถแก้ไขปรับปรุงข้อมูล (update)ได้ง่าย 5. หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง(link) ออกไป เชื่อมต่อกับข้อมูลภายนอกได้ 6. หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตสูง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนในการผลิตหนังสือต่า ประหยัด 7. หนังสือมีขีดจากัดในการจัดพิมพ์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจากัดในการจัดพิมพ์สามารถทา สาเนาได้ง่าย ไม่จากัด
  • 3. 3 8. หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านด้วยโปรแกรมผ่านทางหน้า จอคอมพิวเตอร์ 9. หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์อ่านได้และยังสั่งพิมพ์(print)ได้ 10. หนังสือทั่วไปอ่านได้1 คนต่อ หนึ่งเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านได้พร้อมกัน ได้จานวนมาก หนังสือทั่วไปพกพาลาบากหากมีจานวนหลายเรื่อง หลายเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพา สะดวกครั้งละจานวนมากในรูปแบบของไฟล์คอมพิวเตอร์ ใน Handy Drive หรือ CD การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-book)ให้มีคุณภาพ และสามารถนาไปใช้ได้ดี ผู้สร้างต้องใช้ ทักษะต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ซอฟต์แวร์ ทักษะ การสืบค้นข้อมูล ทักษะการออกแบบ ดังนั้นการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จึงต้องใช้ทั้ง ความรู้ ทักษะ เทคนิคกระบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นี้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถสร้างหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณภาพ และเกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ได้ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) 2. เพื่อศึกษาการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ กาหนด (80/80) สมมติฐานของการศึกษา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด (80/80) ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ มุ่งพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อให้การศึกษาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้ง ไว้ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตการศึกษา ดังนี้
  • 4. 4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ประชากรเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 100 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์จานวน 100 คน ได้มาโดย การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหา ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้ 2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบ แบบ เดี่ยว จานวน 3 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบกลุ่ม จานวน 9 คน 2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบภาคสนาม จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2. แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรที่ศึกษา การศึกษาครั้งนี้มีตัวแปรที่ศึกษา 2 ตัวคือ 1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้ศึกษา สร้างขึ้น
  • 5. 5 2. ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ได้เรียนเนื้อหาจาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็น หัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2. การผลิตและการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นิยามศัพย์เฉพาะ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1. ความหมายและธรรมชาติของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1.1 ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ยังไม่ได้บัญญัติศัพท์ที่ใช้ในภาษาไทยอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นก็ได้มี ผู้ให้คานิยามเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้หลายท่านด้วยกัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะด้วยกัน คือ ในลักษณะของซอฟท์แวร์, ฮาร์ดแวร์ และในลักษณะที่เป็นทั้งซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์ 1.1.1 ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของซอฟท์แวร์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หมายถึง หนังสือเล่มที่ถูกดัดแปลงให้อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ผู้อ่าน สามารถอ่านข้อมูลได้จากจอคอมพิวเตอร์ มีลักษณะข่าวสารเป็นแบบพลวัต หากต้องการปรับปรุง ข้อมูลก็สามารถทาได้โดยดึงข้อมูล (Download) มาจากอินเตอร์เน็ต หรือซีดีรอม หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์มีความสามารถในการทาไฮเปอร์เท็กซ์, ค้นหาข้อความ , ทาหมายเหตุประกอบ และ
  • 6. 6 การทาสัญลักษณ์ใจความสาคัญ (พิชญ์ วิมุกตะลพ, 2538 : 214; Barker , 1992 : 139 ; Gates,1995 : 139 ; “Whatare E- Books?”,1999 : 1; “NetLingo :The Internet Language Dictionary”, 1999 : 1 “High-Tech Dictionary Definition”, 1999 : 1 “Electronic Book”, 1999 : 1; Reynolds and Derose.2535 : 263, อ้างถึงใน สุชาดา โชคเหมาะ,2539 : 1-2) 1.1.2 ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของฮาร์ดแวร์ “TechEncyclopedia” (1999 : 1) กล่าวว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นอุปกรณ์ฉบับกระเป๋ า ซึ่งสามารถแสดงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ สามารถจัดทาสาเนาได้ทาบุ๊คมาร์คและทา หมายเหตุประกอบได้ “Electronic Book – Webopedia Definition” (1999 : 1) ได้กล่าวถึงหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ออกเป็น 2 รูปแบบ คือ ร็อคเก็ตอีบุ๊ค (Rocket Ebook) ของนูโวมีเดีย เป็นหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ฉบับกระเป๋ า พกพาสะดวกด้วยน้าหนักเพียง 22 ออนซ์ เก็บข้อมูลได้ถึง 4000 หน้ากระดาษ การเปิดพลิกหน้าร็อกเก็ตอีบุ๊คให้ความรู้สึกใกล้เคียงกับการเปิดหนังสือจริงสามารถ ทาแถบสว่าง (Highlight),ทาหมายเหตุประกอบ,ค้นหาคา และสร้างบุ๊คมาร์คได้หากต้องการ ปรับปรุงข้อมูลก็สามารถติดต่อไปยังร้านหนังสือหรือเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สาหรับรูปแบบที่ 2 คือ ซอฟท์บุ๊ค (Softbook) ของซอฟท์บุ๊คเพรส มีลักษณะคล้ายกับร็อคเก็ตบุ๊ค มีความจุตั้งแต่ 1,500 ไป จนถึง 1 ล้านหน้ากระดาษ 1.1.3 ความหมายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นทั้งซอฟท์แวร์และฮาร์ดแวร์ ได้มีผู้ให้ ความหมายดังนี้“What is an E-Book”(1999 : 1) ได้ให้ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นหนังสือทั้งที่มีและไม่มีตัวจริง โดยมีรูปแบบการอ่าน 3 แนว คือดึง ข้อมูลออกมาและพิมพ์โดยผู้ใช้งาน, อ่านโดยตรงจากจอคอมพิวเตอร์ และใช้อ่านโดยเครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส์อื่น ได้แก่ ไลเบรีย์สมิลลิเนียมอีบุ๊ครีดเดอร์ (Librius Millennium Ebook Reader), ร็อคเก็ตบุ๊ค เป็นต้น จากความหมายที่กล่าวมาทั้ง 3 ลักษณะ สามารถสรุปได้ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การนาหนังสือหนึ่งเล่มหรือหลายๆเล่ม มาออกแบบใหม่ให้อยู่ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ โดยปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลเหล่านั้นให้อยู่ในรูปของตัวอักษร,ภาพนิ่ง,ภาพเคลื่อนไหว, เสียง,ลักษณะที่โต้ตอบกันได้ (interactive) และการเชื่อมโยงแบบไฮเปอร์เท็กซ์ สามารถทาบุ๊ค มาร์กและหมายเหตุประกอบตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ โดยอาศัยพื้นฐานของหนังสือเล่มเป็นหลัก
  • 7. 7 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะแจกต่างจากหนังสือเล่มในการพลิกหน้า โดยที่ไม่ได้มีการพลิก หน้าจริง หากแต่เป็นไปในลักษณะของการซ้อนทับกัน (Barker and singh, 1985 , quoted in barker and Manji,1991 : 276)สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กับหนังสือเล่มอย่างเด่นชัด นั้นก็คือ การปฏิสัมพันธ์ และความเป็นพลวัต (Barker,1996 : 14) ๙งอาจแตกต่างกันบ้างในหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์แต่ละเล่ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์การใช้งาน และการปฏิสัมพันธ์จากผู้อ่าน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีหน้าปกเพื่อบอกข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับหนังสือ หากใน 1 หน้ามีข้อมูลเป็น หน้าคู่ ด้านซ้ายมือเป็นหน้าซ้าย ด้านขวามือเป็นหน้าขวา กดปุ่มไปหน้าก็จะไปยังหน้าต่อไป กดปุ่ม ถอยหลังจะกลับไปหน้าก่อนนอกจากนี้ยังสามารถกระโดดข้ามไปยังหน้าที่ผู้อ่านต้องการได้อีกด้วย หน้าสุดท้ายจะเป็นหน้าก่อนออกจากโปรแกรม ถึงแม้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะคล้ายกับหนังสือ มาก แต่ข้อจากัดที่มีอยู่มากมายในหนังสือเล่มไม่สามารถส่งอิทธิพลมายังหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แต่ อย่างใด 2. ข้อดีและข้อจากัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2.1 ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีข้อดีดังต่อไปนี้ 2.1.1. เป็นสื่อที่รวมเอาจุดเด่นของสื่อแบบต่างๆมารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว คือสามารถแสดง ภาพ แสง เสียง ภาพเคลื่อนไหว และการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ 2.1.2 ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาวิชาได้เร็วขึ้น (สิทธิพร บุญญานุ วัตร,2540 : 24) 2.1.3 ครูสามารถใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการชักจูงผู้เรียนในการอ่าน,การเขียน,การฟัง และการพูดได้(Roffey, 1995) 2.1.4 มีความสามารถในการออนไลน์ผ่านเครือข่าย และเชื่อมโยไปสู่โฮมเพจและเวปไซต์ ต่างๆอีกทั้งยังสามารถอ้างอิงในเชิงวิชาการได้ 2.1.5 หากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต จะทา ให้กระจายสื่อได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวางกว่าสื่อที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์(“ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ นวัตกรรมแห่งสื่ออนาคต”, 2541 : 60)
  • 8. 8 2.1.6 สนับสนุนการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนและ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 2.17 มีลักษณะไม่ตายตัว สามารถแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา อีกทั้งยัง สามารถเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้โดยใช้ความสามารถของไฮเปอร์เท็กซ์ 2.1.8 ในการสอนหรืออบรมนอกสถานที่ การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะช่วยให้เกิดความ คล่องตัวยิ่งขึ้น เนื่องจากสื่อสามารถสร้างเก็บไว้ในแผ่นซีดีได้ไม่ต้องหอบหิ้วสื่อซึ่งมีจานวนมาก 2.1.9 การพิมพ์ทาได้รวดเร็วกว่าการใช้กระดาษ สามารถทาสาเนาได้เท่าที่ต้องการ ประหยัดวัสดุในการสร้างสื่อ อีกทั้งยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอีกด้วย 2.1.10 มีความทนทาน และสะดวกแก่การเก็บบารุงรักษา ลดปัญหาการเก็บเอกสาร ย้อนหลังซึ่งต้องใช้เนื้อที่หรือบริเวณกว้างในการจัดเก็บ สามารถรักษาหนังสือหายากและต้นฉบับ เขียนไม่ให้เสื่อมคุณภาพ 2.1.11 ช่วยให้นักวิชาการและนักเขียนสามารถเผยแพร่ผลงานเขียนได้อย่างรวดเร็ว 2.2 ข้อจากัดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ถึงแม้ว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีข้อดีที่สนับสนุนด้าน การเรียนการสอนมากมายแต่ก็ยังมีข้อจากัดด้วยดังต่อไปนี้ 2.2.1 คนไทยส่วนใหญ่ยังคงชินอยู่กับสื่อที่อยู่ในรูปกระดาษมากกว่า (“หนังสือพิมพ์ ออนไลน์นวัตกรรมสื่อแห่งอนาคต”, 2541 : 60) อีกทั้งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่สามารถใช้งาน ได้ง่ายเมื่อเทียบกับสื่อสิ่งพิมพ์ และความสะดวกในการอ่านก็ยังน้อยกว่ามาก 2.2.2 หากโปรแกรมสื่อมีขนาดไฟล์ใหญ่มากๆ จะทาให้การเปลี่ยนหน้าจอมีความล่าช้า 2.2.3 การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพที่ดี ผู้สร้างต้องมีความรู้และ ความชานาญในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการสร้างสื่อดีพอสมควร 2.2.4 ผู้ใช้สื่ออาจไม่ใช่ผู้สร้างสื่อฉะนั้นการปรับปรุงสื่อจึงทาได้ยากหากผู้สอนไม่มีความรู้ ด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.2.5 ใช้เวลาในการออกแบบมาก เพราะต้องใช้ทักษะในการออกแบบเป็นอย่างดี เพื่อให้ ได้สื่อที่มีคุณภาพ
  • 9. 9 3. การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน ในอดีตสื่อการศึกษาที่เริ่มต้นใช้ในการเรียนการสอน คือสื่อสิ่งพิมพ์ซึ่งใช้กันมานานหลายร้อยปี และยังคงใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพสูง (เอี่ยม ฉายางาม, 2534 : 14) ถึงแม้ว่าสื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อที่ไม่มีวันหายไปจากวงการเรียนการสอนได้เลย แม้เวลาจะผ่านไปอีกร้อยปี หรือพันปีข้างหน้า แต่อาจจะมีการเปลี่ยนรูปแบบเป็นไฮเปอร์เทกซ์แทน (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2534 : 5) เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์เป็นเทคโนโลยีที่อานวยความสะดวกแก่การคิดของมนุษย์ และสอดคล้องกับ ธรรมชาติส่วนใหญ่ของมนุษย์ที่ไม่ชอบคิดอะไรต่อเนื่องกันยาวๆ อยู่เพียงเรื่องเดียว (ครรชิต มาลัยวงศ์, 2534 : 16) ไฮเปอร์เทกซ์จะแสดงข้อความในรูปแบบที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถกระโดดจากเนื้อหาหนึ่งไปยังอีก เนื้อหาหนึ่งง่ายดาย หรือเจาะลึกไปยังเนื้อหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้มากเท่าที่ต้องการ เทคโนโลยีไฮเปอร์เทกซ์ ไม่ได้เข้ามาแทนที่ในหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ หากแต่จะช่วยฟื้นฟูบทบาทของหนังสือให้มีความสาคัญดังเดิม (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2540 : 223) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อที่ใช้ความสามารถของไฮเปอร์เทกซ์สนับสนุนการเรียนรู้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนการสอนทางไกล, การเรียนที่ยืดหยุ่น,สนับสนุนการเรียนรู้รายบุคคล และการเรียน แบบร่วมมือในการเรียนการสอนทางไกล (Barker,1996 : 16) โดยสามารถใช้เป็น”เครื่องช่วยสอน” (Instrutional) ทั้งนี้เนื่องจากเป็นเครื่องมือในการสอน และอุปกรณ์ที่ให้ความรู้ที่หนังสือธรรมดาไม่สามารถ จะให้ได้ด้วยลักษณะการปฏิสัมพันธ์,น้าหนักเบาพกพาได้สะดวก,ใช้งานง่ายตลอดจนพฤติกรรมที่เป็นพลวัต หนังสืออิเล็กทรอนิกส์บางประเภทสามารถที่จะนาไปประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบการเรียนรู้ส่วนบุคคลของ ผู้อ่าน มีการดัดแปลงรูปร่างภายนอกของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการนาเสนอเพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกชอบและ อยากเรียนรู้ (Collis,1991 : 356) ได้แก่ การออกแบบเป็นเครื่องแบบกระเปาหิ้วที่มีน้าหนักเบา พกพาสะ ดวด หน้าจออ่านง่ายสบายตา และได้รับการออกแบบอย่างสวยงามหุ้มด้วยหนังหรือวัสดุอย่างดี หน้าจอ อ่านง่ายสบายตา มรการพลิกหน้าใกล้เคียงกับการอ่านหนังสือเล่ม มีการคาดการณ์กันว่าหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์จะประสบผลสาเร็จในการเรียนการสอน ภายหลังจากศตวรรษที่ 20 อย่างแน่นอน (Diana and Hieden, 1994 : 113) ตัวอย่างการนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไปใช้ในการสอนมีดังนี้ ปี 1990 บีเนสท์(Benest, 1990,quoted in Barker, 1996 : 16) ได้มีการจินตนาการภาพไว้ว่าจะมีการ ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของ การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (Computer – Assisted Learning) สาหรับนักศึกษาในมหาวิทยาลัย เขาใช้ซอฟท์แวร์เลียนแบบหนังสือในการค้นหาการสอนแบบ
  • 10. 10 อิเล็กทรอนิกส์ในลักษณะของ “เลกเชอร์ออนไลน์” เขากล่าวว่า จะทาให้เสียเวลาในการเรียนแบบบรรยาย ลดลง และใช้เวลาที่เหลือในการทากิจกรรมอื่น เช่น กิจกรรมแก้ปัญหา, การฝึกปฏิบัติ,การอภิปรายกลุ่ม และการช่วยกันทางาน เป็นต้น การเริ่มต้นออกแบบและผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสอนนั้นบาร์ค เกอร์ และกิลเลอร์ (Barker (1991,1993)and Giller (1992), quoted in Barker, 1996 : 16) ได้ทดลองหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์กับเด็กวัยรุ่นเป็นชุดปฏิสัมพันธ์แบบไฮเปอร์มีเดียโดยใช้เรื่องราวของการสารวจ และเกมที่ สอนเกี่ยวกับอักขระภาษาอังกฤษบนซีดีรอม ต่อมาก็ได้ศึกษาเรื่องมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ์เพื่อการสอน เรื่องภาษาฝรั่งเศสซึ่งพิมพ์ลงบนซีดีรอม ตลอดจนการทดลองการสอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการ สอนเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ (Barker,1994,quoted in Barker,1996 : 16) ได้ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการ นาเสนอภาพยนตร์ ซึ่งได้รับผลสาเร็จด้วยดีในการศึกษาผู้ใหญ่ จากการวิเคราะห์การศึกษาข้างต้นในแนว ลึกนั้นพบว่าได้รับผลที่น่าพึงพอใจในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เก็บและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเพื่อการ สอน การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอน นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้จากตัวหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เองแล้ว ยังสามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากเวปไซต์ที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วยเพื่อกระต้นให้ ผู้เรียนเกิดความตื่นตัวในการเรียนรู้ ซึ่งเหมาะกับผู้เรียนทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งมีเครื่องมือครบครัน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่ปี 1990 บาร์คเกอร์และกิลเลอร์ (Barker and Giller,1992,quoted in Barker, 1992 : 144-147) ได้มีการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาของการผลิตและการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นประโยชน์ เพื่อทดลองและกาหนดแนวทางในการออกแบบและผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทั้งสองได้ค้นพบรูปแบบ ระดับสูงในการออกแบบโมเดล และคาแนะนาในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้พวกเขา ยังได้มีการศึกษาเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นกรณีพิเศษ 7 ตัวอย่าง โดย 4 ตัวอย่างแรกจะเป็นหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการค้าและ 3 ตัวอย่างหลังเพื่อการวิจัยและพัฒนาในห้องทดลองดังต่อไปนี้ 1.1 เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ (The Grolier Encyclopedia)เอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์บน ซีดีรอมเป็นตัวอย่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีเครื่องอานวยความสะดวดในการแก้ไขข้อมูล ข่าวสาร และโน๊ตแพดไว้ได้บรรจุข้อมูลฉบับเอกสารของเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์การศึกษาของ
  • 11. 11 อเมริกา ไว้รวม 21 เล่มบนซีดีรอม 1 แผ่น สิ่งพิเศษที่มีในเอ็นไซโคลพีเดียโกรเลียร์ คือดัชนีหัว เรื่องตามลาดับอักษร, ดัชนีตามคาในเอ็นไซโคลพีเดีย (เรียงตามคา เช่น ‘an’, ‘and’‘the’ เป็นต้น), คาเต็มมากกว่า 30,000 คา บทความ (รวมมากกว่า 9 ล้านคา) ในการค้นหาคาจะใช้พื้นฐาน 3 ประการ คือ ค้นหาตามดัชนีคา (ประมาณ 136,750 คา), ค้นหาตามดัชนีหัวเรื่อง (30,000 หัวเรื่อง)และค้นหาแบบบูลีน (Boolean Search) โดยการใช้ดัชนีคา ซึ่งทาให้การค้นหาคาเป็นไปได้ง่ายขึ้น 1.2 เอ็นไซโคลพีเดียคอมตัน (Comton ’s Multimedia Encyclopedia) เอ็นไซโคลพีเดียโกร เลียร์ที่ได้กล่าวถึงข้างต้นนั้นเป็นการพิมพ์ที่มีเฉพาะตัวอักษร แต่เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันเป็นการ พิมพ์แบบมัลติมีเดียที่รวมเอตัวอักษร,เสียง และภาพเข้าไว้ด้วยกัน สามารถบรรจุตัวอักษรไว้ได้ 26 เล่ม ของเอกสารกระดาษ เอ็นไซโคลพีเดียคอมตันสามารถเก็บภาพได้มากกว่า 15000 ภาพ (ภาพถ่าย, ภาพประกอบ, แผนที่, กราฟ, และแผนภูมิ)ภาพเคลื่อนไหว 45 ภาพ, พจนานุกรมและ เสียง 60 นาที (ทั้งเพลง, คาพูดและภาพเคลื่อนไหว 1.3 ห้องสมุดคอมพิวเตอร์ (Computer library)เทคโนโลยีหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน สนับสนุนการเผยแพร่ข่าวสารตลอดจนการแก้ไขห้องสมุดคอมพิวเตอร์ เป็นตัวอย่างหนึ่งของการ เผยแพร่และให้บริการแก้ไข โดยบริษัทโลตัส และบริษัทซิป ซีดีรอมที่เกิดจากห้องสมุด คอมพิวเตอร์จะจัดการกับข้อมูลอย่างรวดเร็ว โดยมีขอบเขตที่กว้างของผลิตภัณฑ์ที่มีความสัมพันธ์ กับคอมพิวเตอร์และหัวข้อ เช่น ผลิตภัณฑ์พิเศษ, งานวิจารณ์, คาแนะนาด้านเทคนิค,ประวัติการผลิต สั้นๆ และอุตสาหกรรมใหม่ พวกเขาจะบรรจุอุปกรณ์ซึ่งได้กลั่นกรองมาจากเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มากกว่า 140 เครื่อง และธุรกิจการพิมพ์ การใช้ระบบนี้สามารถเป็นไปได้ในข้อมูล และประวัติการผลิตสั้นๆมากกว่า 11,000 รายการ 1.4 หนังสือฝึกหัดการพูด (Discis Talking Books)การวิจัยความรู้ที่เกี่ยวกับการฝึกหัดได้ เกิดขึ้นในประเทศแคนาดา ในขอบเขตของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สื่อประสมบนซีดีรอม ตัวอย่าง การพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ซินเดอเรลลา นิทานกระต่ายของเบนจามิน และนิทานเจ้ากระต่ายปีเตอร์ หนังสือชนิดนี้เป็นตัวอย่างของหนังือภาพนิทานพูดได้สาหรับเด็ก 3-9 ขวบ
  • 12. 12 หนังสือแต่ละเล่มจะปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์เหมือนกับการเปิดอ่านหนังสือปกติ หน้าจอจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนขวามือจะเป็นตัวแสดงผล แต่ละหน้าจะบรรจุภาพ คุณภาพสูง,ตัวอักษรและไอคอนควบคุม ส่วนประกอบที่สาคัญแต่ละหน้าจะมีไอคอนพูดได้ ซึ่งถือว่าเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์พูด ได้เมื่อกดปุ่มมันจะอ่านดังๆ เป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น พร้อมกับเปิดหน้าเองโดยอัตโนมัติ (หรืออาจไม่เปิด) เมื่อปิดสวิชต์มันจะหยุดพูด และให้ใช้ออกเสียงตามคา,วลีหรือประโยคนั้น ระหว่างการเล่าเรื่องจะมีเสียงประกอบ และดนตรีคลอไปด้วยการนาเสนอซึ่งเพิ่มความสมจริงสม จังเข้าไปด้วย 1.5 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สาหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้ ผลงานส่วนใหญ่ของการวิจัยบาร์คเกอร์และกิลเลอร์มักสร้างสาหรับเด็กเล็กบนซีดีรอม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประภทนี้มีเจตนาที่จะผลิตเพื่อใช้เป็นหนังสือนิทานสื่อประสม อิเล็กทรอนิกส์ ใช้สอนเด็กเล็กเกี่ยวกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ ซึ่งได้รวบรวมเกมและแบบทดสอบ ย่อยเอาไว้ หนังสือนี้จะช่วยในการพัฒนาด้านการอ่านของเด็กโดยจะบรรจุนิทานที่มีการเชื่อมโยง แบบไฮเปอร์เท็กซ์เอาไว้ 1.6 การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์ สิ่งสาคัญในบริบทของการเก็บเอกสารสาคัญของข่าวสาร หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะใช้ ประโยชน์ในการเป็นทรัพยากรการสอนเช่นเดียวกับหนังสือทั่วไปๆไป เราสามารถใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลายและประยุกต์ใช้ในงานการอบรม จาก ความสามารถในการโต้ตอบและดัดแปลงใช้งานง่าย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จึงมีความสามารถใน การสอนมากกว่าหนังสือเล่ม เพราะสามารถเป็นผู้ช่วยเหลือนักเรียนในการปฏิสัมพันธ์และ ประเมินผลตามหลักสูตรที่ได้ตั้งไว้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังสามารถเป็นซอฟท์แวร์ การอบรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์ ในการค้นหาความสามารถในการสอนของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ บาร์คเกอร์และกิลเลอร์ ก็ได้ผลิตพื้นฐานการพิมพ์ออกมาใช้ชื่อว่า การออกแบบหน้าจอสาหรับการอบรมพื้นฐาน คอมพิวเตอร์ (Screen Desing for Computer-Based Training) (Barker, et al, 1990, quoted in
  • 13. 13 Barker, 1992 : 146) ซึ่งได้สอนผู้ใช้เกี่ยวกับการออกแบบหน้าจอที่ดีสาหรับการอบรมพื้นฐาน คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยการออกแบบหน้าจอ, การใช้สี, พื้นที่ฟังก์ชัน, การใช้ตัวอักษร, การใช้ ภาพ, การออกแบบไอคอน, การใช้วินโดวส์และการใช้เมนู, เทคนิคการปฏิสัมพันธ์, กรณีศึกษาและ แบบฝึกหัดการออกแบบ รวมทั้งแบบทดสอบย่อยและประเมินผลความเข้าใจของผู้อ่าน 1.7 การพิมพ์วิทยานิพนธ์บนซีดีรอม จากข้อดีของซีดีรอมกล่าวคือ มีความแข็งแรงทนทาน,ความน่าเชื่อถือ,มีความสามารถใน การเก็บข้อมูลสูง,มีเครื่องอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้,สามารถเก็บตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และการเผยแพร่ที่สะดวกและรวดเร็ว ได้ถูกนามาใช้งานวิทยานิพนธ์แทนที่ วิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบนกระดาษซึ่งมีข้อจากัดมากมาย (Barker, et al,) 1992, quoted in Barker, 1992: 147) วิทยานิพนธ์เล่มแรกได้มีการจัดพิมพ์ขึ้นบนซีดีรอมได้มีการแปลงตัวหนังสือ,แผนภาพ และตารางในหนังสือให้ไปอยู่บนซีดีรอม (Giller,1992,ๆquoted in Barker,1992 : 147) พื้นฐาน เหล่านี้ได้ถูกนาไปขยายขอบเขตการสาธิตซอฟท์แวร์ซึ่งผลิตระหว่างการวิจัย ในการแก้ไขข่าวสาร จากซีดีรอมโดยชุดการแก้ไขข้อมูลแบบเต็มซึ่งเรียกว่า รอมแวร์ (Romware)ได้มีการประเมิน วิทยานิพนธ์ที่มีพื้นฐานบนกระดาษกับพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์ปรากฏว่า พบสิ่งที่น่าสนใจ 3 อย่าง ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์คือ 1. ความง่ายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าสาร 2. งายต่อการใช้งาน 3.เพิ่ม คุณค่าให้กับวิทยานิพนธ์จากซอฟต์แวร์การสาธิตและความเป็นพลวัตซึ่งเป็นที่ต้องการของ ผู้อ่านวิทยานิพนธ์ สิ่งสาคัญของคาถามที่ได้ค้นพบในการพิมพ์วิทยานิพนธ์ลงซีดีรอม คือ การ เผยแพร่การวิจัยที่ค้นพบได้เป็นจานวนมาก 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกราฟิกเบื้องต้น จงกล เฮงสุวรรณ (2540 : บทคัดย่อ) ได้วิเคราะห์แนวโน้มหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับปริญญาตรี ของสถาบันราชภัฎในทศวรรษหน้า พบว่า ในด้านเนื้อหาวิชามีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการ สอนเพิ่มขึ้น ได้แก่ วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์ศิลป์ คอมพิวเตอร์กราฟิก 2-3 มิติ เป็นต้น อีกทั้ง สื่อที่จะนามาประกอบการเรียนการสอนนั้นจะเป็นสื่อที่ทันสมัย รวมทั้งมีการนาเอาอินเตอร์เน็ตเข้ามาใช้ใน การเรียนการสอน ธารงศักดิ์ ธารงเลิศฤทธิ์ (2540 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาทัศนะของผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร และนักการศึกษาด้านศิลปศึกษาเกี่ยวกับแนวโน้มของหลักสูตรศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นใน
  • 14. 14 ทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2541-2550) โดยใช้เทคนิคเดลฟาย พบว่า วิดีโอและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีบทบาทมากขึ้นกว่าแต่ก่อน
  • 15. 15 บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การศึกษาวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยข้อนาเสนอสาระในประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1.กว่าจะมาเป็นe-Book 2.ความหมายของe-Book 3.โปรแกรมที่นิยมใช้สร้างe-Book 4.ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) กับหนังสือทั่วไป 5.โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction) 6.สร้าง E- Book ด้วยโปรเเกรม FlipAlbum 6.0 Pro. 1.กว่าจะมาเป็นe-Book หนังสือที่มีอยู่โดยทั่วไป จะมีลักษณะเป็นเอกสารที่จัดพิมพ์ด้วยกระดาษ แต่ด้วยความเปลี่ยนแปลง ของ ยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลงด้านเล็กทรอนิกส์ ที่มีการพัฒนาต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยั้ง ทาให้มีการ คิดค้นวิธีการ ใหม่โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย จึงได้นาหนังสือดังกล่าวเหล่านั้นมาทาคัดลอก (scan)โดยที่หนังสือก็ยังคงสภาพเดิมแต่จะได้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นแฟ้มภาพขึ้นมาใหม่วิธีการ ต่อจากนั้นก็คือจะนาแฟ้ม ภาพตัวหนังสือมาผสานกระบวนการแปลงภาพเป็นตัวหนังสือ(text)ด้วยการทา OCR (Optical Character Recognition) คือการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้เป็นตัวหนังสือที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติม ได้การถ่ายทอดข้อมูลในระยะต่อมา จะถ่ายทอดผ่านทางแป้ นพิมพ์และประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือ และ ข้อความด้วยคอมพิวเตอร์ ดังนั้นหน้ากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูล(files) แทน ทั้งยังมี ความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (documents printing) รูปแบบของหนังอิเล็กทรอนิกส์ยุคแรกๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท.doc, .txt, .rtf, และ.pdf ไฟล์ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษาHTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่างๆ ก็จะถูกออกแบบและ ตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยในแต่ละหน้าของเว็บไซต์เราเรียกว่า"web page"โดยสามารถ เปิดดูเอกสาร
  • 16. 16 เหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผล ข้อความ ภาพ และการปฏิสัมพันธ์ผสานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้น บริษัทไมโคร ซอฟ (Microsoft)ได้ผลิตเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมาเพื่อคอยแนะนาในรูปแบบHTML Help ขึ้นมา มี รูปแบบของไฟล์เป็น.CHM โดยมี ตัวอ่านคือMicrosoft Reader (.LIT) หลังจากนั้นต่อมามีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จานวนมาก ได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั้ง สามารถ ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือทั่วไปได้เช่น สามารถแทรก ข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านั้นคือ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้าง จัดเชื่อมโยงเอกสาร(Hypertext)ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งภายใน และภายนอกได้อีกทั้งยังสามารถ แทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้โดยคุณสมบัติ เหล่านี้ไม่สามารถทาได้ในหนังสือทั่วไป 2.ความหมายของe-Book “อีบุ๊ค”(e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป็นคาภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคาว่าelectronic book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะ เป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผสานทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้อีกประการหนึ่ง ที่ สาคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะ ไม่มีใน หนังสือธรรมดาทั่วไป 3.โปรแกรมที่นิยมใช้สร้างe-Book โปรแกรมที่นิยมใช้สร้าง e-Book มีอยู่หลายโปรแกรม แต่ที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันได้แก่ 1. โปรแกรมชุด Flip Album 2. โปรแกรม DeskTop Author 3.โปรแกรม Flash AlbumDeluxe
  • 17. 17 ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะต้องติดตั้งโปรแกรมสาหรับอ่าน e-Book ด้วย มิฉะนั้นแล้วจะเปิดเอกสาร ไม่ได้ประกอบด้วย 1.1โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอ่านคือ FlipViewer 1.2โปรแกรมชุด DeskTop Author ตัวอ่านคือ DNL Reader 1.3โปรแกรมชุด Flash Album Deluxeตัวอ่านคือFlash Player สาหรับบางท่านที่มีความชานาญในการใช้โปรแกรม Flash Mx ก็สามารถสร้าง e-Book ได้เช่นกัน แต่ต้องมีความรู้ในเรื่องการเขียน Action Script และXML เพื่อสร้าง e-Book ให้แสดงผลตามที่ ต้องการได้ 4.ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) กับหนังสือทั่วไป ความแตกต่างของหนังสือทั้งสองประเภทจะอยู่ที่รูปแบบของการสร้าง การผลิตและการใช้งาน เช่น 1. หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ(อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้) 2.หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างให้มี ภาพเคลื่อนไหวได้ 3.หนังสือทั่วไปไม่มีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถใส่เสียงประกอบได้ 4.หนังสือทั่วไปแก้ไขปรับปรุงได้ยาก หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล (update)ได้ง่าย 5.หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจัดเชื่อมโยง (links)ออกไป เชื่อมต่อกับ ข้อมูลภายนอกได้ 6.หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตส่ง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนในการผลิตหนังสือต่า ประหยัด 7. หนังสือทั่วไปมีขีดจากัดในการจัดพิมพ์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจากัดในการจัดพิมพ์ สามารถทาสาเนาได้ง่ายไม่จากัด 8.หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านด้วยโปรแกรม ผ่านทางหน้า จอคอมพิวเตอร์
  • 18. 18 9.หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นอกจากอ่านได้แล้วยังสามารถสั่งพิมพ์ (print)ได้ 10.หนังสือทั่วไปอานได้1 คนต่อหนึ่งเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกันได้ จานวนมาก(ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต) 11. หนังสือทั่วไปพกพาลาบาก (ต้องใช้พื้นที่) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพาสะดวกได้ครั้งละ จานวนมากในรูปแบบ ของไฟล์คอมพิวเตอร์ ใน handy drive หรือ CD 5.โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction) ลักษณะโครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล้ายคลึงกับหนังสือทั่วไปที่พิมพ์ด้วย กระดาษ หากจะมี ความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ่านหนังสือ สรุป โครงสร้างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย • หน้าปก(Front Cover) • คานา (Introduction) • สารบัญ(Contents) • สาระของหนังสือแต่ละหน้า(Pages Contents) • อ้างอิง(Reference) • ดัชนี(Index) • ปกหลัง(Back Cover) หน้าปก หมายถึง ปกด้านหน้าของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนแรก เป็นตัวบ่งบอกว่าหนังสือเล่มนี้ชื่อ อะไร ใครเป็นผู้แต่ง คานา หมายถึง คาบอกกล่าวของผู้เขียนเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล และเรื่องราว ต่างๆ ของหนังสือ เล่มนั้น
  • 19. 19 สารบัญ หมายถึง ตัวบ่งบอกหัวเรื่องสาคัญที่อยู่ภายในเล่มว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง อยู่ที่หน้าใด ของหนังสือ สามารถเชื่อมโยงไปสู่หน้าต่างๆ ภายในเล่มได้ สาระของหนังสือแต่ละหน้าหมายถึง ส่วนประกอบสาคัญในแต่ละหน้า ที่ปรากฏภายในเล่ม ประกอบด้วย • หน้าหนังสือ(Page Number) • ข้อความ(Texts) • ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff • เสียง(Sounds) .mp3, .wav, .midi • ภาพเคลื่อนไหว(Video Clips, flash) .mpeg, .wav, .avi • จัดเชื่อมโยง (Links) อ้างอิง หมายถึง แหล่งข้อมูลที่ใช้นามาอ้างอิง อาจเป็นเอกสาร ตารา หรือ เว็บไซต์ก็ได้ ดัชนี หมายถึง การระบุคาสาคัญหรือคาหลักต่างๆ ที่อยู่ภายในเล่ม โดยเรียงลาดับตัวอักษรให้ สะดวกต่อการค้นหา พร้อมระบุเลขหน้าและจัดเชื่อมโยง ปกหลัง หมายถึง ปกด้านหลังของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนท้ายเล่ม 6.สร้าง E- Book ด้วยโปรเเกรม FlipAlbum 6.0 Pro. สื่อนาเสนอในปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบใหม่ความโด่ดเด่น น่าสนใจด้วยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia) การนาเสนอข้อความหรือเนิ้อหาปริมาณมากๆ ในลักษณะของสิ่งพิมพ์หรือ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากสิ่งพิมพ์หรือหนังสือที่เป็นไฟล์เนื้อหาเพียงอย่าง เดียว ต้องดูด้วยเทคนิคการเลื่อนจอภาพ ไปเป็นเทคนิคการนาเสนอที่มีลักษณะการเปิดหน้าหนังสอแบบ เสมือน เนื้อหาที่นาเสนอเป็นได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วิดีทัศน์ และเสียง อันเป็นการใช้ ความสามารถของเทคโนโลยีมัลติมีเดียมาผสมผสานกบ e-Book ได้อย่างลงตัว เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมสูง อย่างมากในปัจจุบันภายใตชื่อเรียกว่า Multimedia e-Book
  • 20. 20 การพัฒนา Multimedia e-Book มีซอฟต์แวร์ช่วยหลายตัว โดยซอฟต์แวร์ที่โดดเด่นตัวหนึ่งคือ FlipAlbum ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนามาเป็น FlipAlbum 6.0 โดยความสามารถของโปรแกรมที่ทาให้การนาเสนอ สื่อออกมาในรูปแบบ 3D Page-Flipping interface และมีชื่อเรียกเฉพาะว่า FlipBook ผลงานที่ได้นี้สามารถ นาเสนอได้ทั้งแบบ Offline ด้วยความสามารถ AutoRun อัตโนมัติ และ Online ผ่านโปรแกรมแสดงผล เฉพาะ FlipViewer คุณสมบัติขั้นต่าของคอมพิวเตอร์ • ระบบปฏิบัติการ Windows® 98/2000/ME/XP • คอมพิวเตอร์ IBM® PC compatible หนวยประมวลผล Pentium® II 300 MHz - หน่วยความจาแรมอย่างต่า 128 MB - พื้นที่ว่างของฮาร์ดดิสก์อย่างต่า 100 MB - การ์ดแสดงผล 16-bit - จอภาพที่มีความละเอียดไม่น้อยกว่า 800 × 600 pixels
  • 21. 21 เตรียมความพร้อมก่อนสร้าง E-Book ข้อมูลที่สามารถใส่ลงในโปรเเกรม Flip album ได้นั้นมีรูปเเบบที่หลากหลายทั้งข้อความ, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว, ไฟล์วิดิโอเเละไฟล์เสียง ดังนั้นควรจัดเตรียมข้อมูล ตกเเต่งรูปภาพเเละอื่นๆ ให้เสร็จ เรียบร้อยก่อนเเละจัดเก็บรวมกันไว้ใน Folder ที่กาหนดขึ้นเช่น C:my pic เป็นต้น ทั้งนี้ไฟล์ที่สามารถใช้ได้ ได้เเก่ (GIF, JPG, PNG, BMP, WMF, ICO, PCX, TIF, PCD, PSD); OEB Package Format (OPF); Sound Files (MID, WAV, MP3); Video Files (AVI, MPG) การสร้างเอกสาร E – Book เปิดโปรแกรม FlipAlbum จากเมนูคาสั่ง Start, Program, E-Book Systems, flipAlbum 6 Pro, FlipAlbum Pro จะปรากฏจอภาพทางาน โดยส่วนสาคัญของการสร้าง e-Book อย่างง่ายและเร็วนี้คือจอภาพ QuickStart (ถ้าไม่ปรากฏให้เลือกคาสั่ง File, Start Wizard)
  • 22. 22 จากภาพดังกล่าวมี ขั้นตอนการทางาน 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกรายการ Open Folder แล้วเลือกโฟลเดอรที่เตรียมภาพไว้ก่อนหน้านี้ (ตัวอย่างคือโฟลเดอร์ Graffiti) 2. จากนั้นคลิกรายการ Page Layout เพื่อเลือกรูปแบบของสื่อ ทั้งนี้รูปแบบ Single image per page เป็นลักษณะการนาเสนอภาพแยกเป็น 2 หน้ากระดาษ และรูปแบบ Centerfold page เป็นลักษณะการ นาเสนอภาพบนกระดาษแผ่นใหญ่แผ่นเดียว ทั้งนี้เมื่อคลิกเลือกจะปรากฏ Effect สีขาวฟุ้งๆ รอบรูปแบบที่ เลือก
  • 23. 23 3. จากนั้นคลิกเลือก Themes เพื่อเลือกลักษณะปก และพื้นหนังสือ 4. เมื่อครบทั้ง 3 ขั้นตอนก็คลิกปุ่ม Finish โปรแกรมจะนาภาพทุกภาพในโฟลเดอร์ที่ระบุมาสร้าง เป็น e-Book ให้อัตโนมัติ การเลื่อนหน้ากระดาษ  คลิกบนหน้ากระดาษด้านขวา เพื่อดูหน้าถัดไป  คลิกบนหน้ากระดาษด้านซ้าย เพื่อย้อนกลับ  เลื่อนเมาส์ไปชี้ที่ขอบหนังสือด้านซ้ายหรือขวามือเพื่อเลือก หน้าที่จะเปิด  คลิกปุ่มขวาของเมาส์บนหน้ากระดาษ เเล้วคลิกคาสั่ง Flip To
  • 24. 24 o Front Cover คือปกหน้า o Back Cover คือปกหลัง o Overview คือหน้าสรุปรวมเนื้อหา ซึ่งมีลักษณะเป็นภาพขนาดเล็ก (Thumbnails) การทางานของหน้านี้ แบ่งเป็น >> การคลิกที่รูปภาพเล็ก เพื่อแสดงภาพแบบเต็มจอ กดปุ่ม Esc เพื่อกลับสู่สภาวะปกติ >> การคลิกที่ชื่อภาพ เพื่อเปิดไปยังหน้านั้นๆ >> ใช้เทคนค Drag & Drop ชื่อไฟล์ภาพ เพื่อสลับตาแหน่ง >> คลิกปุ่มขวาของเมาส์ที่รูปเพื่อเปิดเมนูลัดในการทางาน o Contents คือหน้าสารบัญ โปรแกรมจะนาชื่อไฟล์ภาพหรือสื่อมาเป็นรายการสารบัญ ซึ่งสามารถ ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ตามต้องการ แต่ห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษใดๆ เช่น % ^ /
  • 25. 25 การปรับเปลี่ยนอัลบั้มอิสระ FlipAlbum จะกาหนดลักษณะของหน้าปก, หน้าเอกสารด้วยภาพที่มีสีสันตาม Themes ที่เลือกเเต่ก็ สามารถปรับเเต่งได้เอง โดย 1. เลือกหน้าเอกสารที่ต้องการปรับเเก้ไข 2. คลิกขวาพื้นที่หน้านั้น เเล้วเลือกคาสั่ง Page Properties 3. เลือกลักษณะของพื้นเอกสาร • Default ตามค่าเริ่มต้นของระบบ • Color ระบุสีเพื่อเเสดงผลเป็นสีของพื้นเอกสาร • Texture ระบุไฟล์กราฟิกอื่นๆ ที่จะนามาใช้เป็นพื้นเอกสาร 4. คลิกปุ่ม OK เพื่อยืนยันการปรับเเต่งหน้าเอกสาร
  • 26. 26 ตัวอย่างการปรับเปลี่ยนหน้าเอกสาร E-book : Graffiti การเลือกสันปกเเบบต่างๆ เป็นการเลือกรูปเเบบของสันปกอัลบั้มว่าจะใส่ห่วงสันปกหรือไม่ ซึ่งมีหลายเเบบให้เลือก ทาได้โดย คลิกที่คาสั่ง Options >> Book Binder เเละเลือกรูปเเบบที่ต้องการดังรูป
  • 27. 27 การปรับแต่ง / เพิ่มเติมข้อความ การปรับแต่งแก้ไขข้อความใน e-Book ทาได้โดยการดับเบิ้ลคลืกที่ข้อความเดิม ซึ่งจะปรากฏเป็น กรอบข้อความ และแถบเครื่องมือการปรับแต่งข้อความ การเพิ่มข้อความ การเพิ่มข้อความ จะต้องตรวจสอบก่อนว่าข้อความนั้นจะเพิ่มในหน้าซ้าย หรือหน้าขวาได้หรือไม่ โดยสังเกตจากปุ่มเครื่องมือ Insert Annotation ซึ่งจะถูกแบ่งครึ่ง ครึ่งซ้ายคือการเพิ่มข้อความในกระดาษ หน้าซ้าย และคึ่รงขวาคือการเพิ่มข้อความในกระดาษหน้าขวา หากปุ่มเครื่องมือ Insert Annotation ไม่ สามารถคลิกได้ แสดงว่าหน้ากระดาษที่ปรากฏไม่สามารถป้ อนข้อความได้ จะต้องเพิ่มหน้ากระดาษที่ สามารถป้อนข้อความได้ด้วยคาสั่ง Edit, Insert Page, Left Page หรอ Right Page ก่อน การปรับแต่งรูปภาพ  การย่อ/ขยายรูปภาพ สามารถทาได้หลากหลายวิธี ได้แก่ - การย่อ/ขยายด้วย Handle - การย่อ/ขยายด้วยเมนูคาสั่งทีละภาพ - การย่อ/ขยายแบบ Batch ซึ่งให้ผลพร้อมกันหลายๆ ภาพ  การหมุนภาพ ภาพที่นาเข้ามาบางภาพอาจจะมีแนวการแสดงผลไม่เหมาะสม ซึ่ง สามารถหมุนภาพให้เหมาะสม ได้โดยคลิกขวาที่ภาพ แล้วเลือกคาสั่ง Rotate จะปรากฏคาสั่งย่อย ดังนี้ - Left by 90 หมุนไปทางซ้าย 90 องศา - Right by 90 หมุนไปทางขวา 90 องศา - By 180 หมุน 180 องศา - By Other Angles หมุนโดยกาหนดมุมอิสระ
  • 28. 28  การแสดงภาพด้วย Effect พิเศษ ทาได้โดยการคลิกขวาที่ภาพ แล้วเลือกคาสั่ง Effects จะปรากฏ คาสั่งย่อย ดังนี้ - Transparent ทาให้พื้นของภาพมีลักษณะโปร่งใส โดยโปรแกรมจะแสดงหลอดดูดสี (Eye Dropper) ให้คลิก ในตาแหน่งสีที่ต้องการทาให้ เป็นสีโปร่งใส - 3D ทาให้ภาพมีลักษณะนูนแบบ 3 มิติ - Shadow ทาให้ภาพมีเงา - Select Crop Shape เลือกรุปทรงพิเศษ ซึ่งมีตัวเลือก ดังนี้ เมื่อคลิกรูปแบบที่ต้องการแล้วคลิก OK ภาพดังกล่าวจะแสดงผลด้วยรูปแบบที่เลือก เช่น
  • 29. 29 - Add/Edit Frame ใส่กรอบให้กับรูปภาพ โดยมีลักษณะ กรอบภาพ ดังนี้ การเพิ่มรูปภาพ การเพิ่มรูปภาพใน e-Book ทาได้โดยคลิกปุ่มเครื่องมือ Insert Multi-media Objects หรือ คลิกขวาที่ หน้าเอกสารที่ต้องการเพิ่มรูปภาพเลือก Multi-media Objects
  • 30. 30 จากนั้นเลือกไดร์ฟ และโฟลเดอร์ที่ต้องการเลือกรูปภาพ กรณีที่ไม่ปรากฏภาพตัวอย่างให้คลิกที่ ปุ่ม จากนั้นเลือกภาพที่ต้องการแล้วลากมาวางในหน้ากระดาษ การใส่ไฟล์วิดีโอ และไฟล์เสียงลงในอัลบั้ม นอกจากข้อความและภาพนิ่ง โปรแกรมยังสนับสนุนการนาเสนอสื่อมัลติมีเดียรูปแบบต่างๆ เช่น เสียง วีดิทัศน์ และภาพเคลื่อนไหว เช่น Gif Animation โดยใช้เทคนิคการนาเข้า เช่นเดียวกับรูปภาพ คือใช้ ปุ่มเครื่องมือ Insert Multi-media Objects แล้วลากไฟล์สื่อที่ต้องการมาวางบนหน้ากระดาษ การทาจุดเชื่อมโยง (Link) การทาจุดเชื่อมหรือลิงก์ (Link) ด้วยข้อความหรือวัตถุต่างๆ ไปยังตาแหน่งต่างๆ หรือเรียกว่า เว็บไซต์ ก็เป็นฟังก์ชั่นหนึ่งที่ขาดไม่ได้ของ e-Book ดังนั้น FlipAlbum จงเตรียมคาสั่งเพื่อให้สามารถ ทางานได้สะดวก โดยเลือกกรอบข้อความ รูปภาพแล้วคลิกขวา จากนั้นเลือกคาสั่ง Set Link..
  • 31. 31 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการศึกษาค้นคว้า การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Resrarch and Development) ซึ่งผู้ศึกษา ได้กาหนดวิธีการดาเนินการศึกษาดังรายละเอียดที่จะเสนอตามลาดับคือ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง แบบ แผนงานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การสร้างเครื่องมือในการศึกษา วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีดาเนินการทดลอง และการวิเคราะห์ข้อมูลดังรายละเอียดต่อไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร 1.1 ประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มโรงเรียนโนนดินแดง อาเภอ โนนดินแดงแดง จังหวัดบุรีรัมย์จานวน 441 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนโนนดินแดง อาเภอโนนดินแดงแดงได้มา โดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีจับสลากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบ หาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบเดี่ยว แบบกลุ่มและภาคสนาม ดังนี้ 1.2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบเดี่ยว จานวน 3 คน 1.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบกลุ่ม จานวน 9 คน 1.2.3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบภาคสนาม จานวน 30 คน