SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา
เชื้อที่ไม่เกี่ยวข้อง
1
Pasteurella
พาสเจอร์เรลล่า
2
Pasteurella
ก่อโรค Haemorrhagic septicemia
(เฮโมรายิกเซฟติซีเมีย) หรือ นิยมเรียกตาม
อาการว่า "โรคคอบวม" เป็นโรคระบาด
รุนแรงของโค-กระบือ
เป็นแบคทีเรียแกรมลบ มีขนาดเล็ก รูปไข่ แพร่หลายในสัตว์เลี้ยงและสัตว์
ป่าหลายชนิด มีผลต่อระบบทางเดินหายใจและลาไส้ในมนุษย์
การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดจากการถูกกัดแมวสุนัขหรือสัตว์อื่น ๆที่มีความเครียด
3
Haemophilus
ฮิโมฟิลุส
4
เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน เกิดกับเด็กวัยแรกเกิดถึง 5 ปี เชื้อจะอยู่
ตามลาคอ ทาให้ติดต่อกันได้ง่ายโดยการใกล้ชิดสัมผัส โอกาสติดเชื้อจะเป็นง่าย
เพราะระบบภูมิคุ้มกันของเด็กในวันนี้ยังไม่สมบูรณ์เพียงพอ
Haemophilus influenzae type b
เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะแพร่กระจายไปยัง
ส่วนต่าง ๆ ให้เกิดโรคหลายชนิด เช่น ปอดบวม
กล่องเสียงอักเสบ ผิวหนังอักเสบ ข้ออักเสบ และ
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
5
อาการจากการติดเชื้อ
Haemophilus influenzae type b
เด็กจะมีอาการ 3-4 ชั่วโมง ถึง 1-2 วัน อาการทั่วไปจะมีไข้ งอแง หงุดหงิด ต่อมา
จะเป็นความผิดปกติของประสาทส่วนกลาง เช่น ซึม ปวดศีรษะ ชัก คอแข็ง กระหม่อม
โป่ง เด็กเล็กอาจถึงเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว ในบางรายที่รอดชีวิตอาจจะเป็นโรคชัก
เรื้อรัง หูหนวก ตาบอด อัมพาต ปัญญาอ่อน
6
วิธีการ ป้องกัน
ฉีดวัคซีนในเด็กตั้งแต่อายุ 2 เดือนขึ้นไป ฉีด 3 เข็มช่วงอายุ 2 เดือน
4 เดือน และ 6 เดือน หลังการฉีดครบจะป้องกันโรคได้ 100%
7
Haemophilus ducreyi
เชื้อชนิดนี้จานวนมากจะอยู่ที่หนองและจะเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังผ่านรอยถลอก
ในระหว่างที่มีเพศสัมพันธ์ จากนั้นเชื้อจะสร้างสารพิษ (HdCDT) ขึ้นมาทาให้เกิดแผล
บริเวณอวัยวะเพศและมีหนองไหล
เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ก่อให้เกิด
โรค แผลริมอ่อน หรือ ซิฟิลิสเทียม
8
การ วินิจฉัย
การป้ายหนองมาย้อมสีแกรม (Gram stain) เพื่อตรวจหาเชื้อที่เป็นสาเหตุ ซึ่งจะ
เป็นการวินิจฉัยแบบคร่าว ๆ ถ้าเป็นเชื้อ Haemophilus ducreyi จะย้อมติดเป็น
สีแดง ลักษณะเป็นแท่งสั้น ๆ (Coc cobacilli) และอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ๆ คล้ายฝูง
ปลาว่ายตามกันไปที่เรียกว่า “School of Fish”
9
อาการจากการติดเชื้อ
Haemophilus ducreyi
เริ่มจากการเป็นตุ่มนูนและมีอาการเจ็บบริเวณอวัยวะเพศ หลังจากนั้น
จะมีแผลเล็ก ๆ ต่อมาจะพบต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบบวมโตติดกันเป็นพืด
และเจ็บ มีอาการเจ็บในขณะมีเพศสัมพันธ์ ป่วยบางรายอาจเป็นมากจน
อวัยวะเพศแหว่งหายได้ ซึ่งคนไทยเราเรียกว่า “โรคฮวบ“
10
วิธีการป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่เป็นโรค
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผลที่อวัยวะเพศ
- งดการมีเพศสัมพันธ์
- หลีกเลี่ยงการเที่ยวกลางคืนหรือการสาส่อนทางเพศ
- สวมถุงยางอนามัยด้วยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์
11
Bartonella
บาร์โตเนลลา
12
เป็นแบคทีเรียแกรมลบ ที่อาศัยอยู่ในเซลล์ พบมากมายหลายสายพันธุ์จึงแยกออกมา
มีเพียง 3 สายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดโรคในคนที่สาคัญ โรคที่เกิดขึ้นมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตาม
สายพันธุ์ของเชื้อและแต่ละท้องถิ่น
1. B. bacilliformis
2. B. Quintana
3. B. henselae
Bartonella
13
Bartonella bacilliformis
จะพบการติดเชื้อเฉพาะในคนเท่านั้น คนจึงเป็น reservoir ที่สาคัญ และมี sand fl เป็น
พาหะ ทาให้เกิดโรคคาร์เรียน (Carrión's disease)
ผู้ป่วยจะอาการมีไข้สูงฉับพลัน ซีด ตาเหลือง ต่อมน้าเหลืองโต ตับม้ามโต และทรุดลงอย่าง
รวดเร็วจากภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (severe hemolytic anemia) บางรายจะมีอาการ
ทางสมองด้วย โดยจะปวดศีรษะ หายใจเร็ว ซึมลง และชัก กว่าร้อยละ 40 จะเสียชีวิต จัดเป็น
ภาวะที่ร้ายแรงที่สุดของโรคกลุ่มบาร์โตเนลโลสิส
14
Bartonella Quintana
เป็นสาเหตุของโรคไข้กลับ (trench fever) และการงอกขยายของหลอดเลือดแบบติดเชื้อ
(bacillary angiomatosis, BA) จะคล้ายโรคมาลาเรียและไข้กลับซ้า ซึ่งจะพบรอยโรค
vascular proliferative ตามผิวหนังโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ไม่ใช่โรคสัตว์สู่คนเพราะคนเป็น reservoir เช่นเดียวกับ B. bacilliformis และมีโลนเป็น
พาหะที่สาคัญ
15
Bartonella Henselae
ในคนจากแมวเกิดจากแบคทีเรียที่ปนเปื้อนในขี้หมัด (fla feces) เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล
เมื่อถูกแมวข่วน ทาให้เกิดโรคแมวข่วน (Cat-scratch disease), Bacillary
angiomatosis และ Peliosis hepatitis ทั้งสองโรคนี้มักเกิดร่วมกันในคนไข้เอดส์ หลังถูก
แมลงที่มีเชื้อกัดจะมีรอยโรคที่ผิวหนังร่วมกับอาการของตับอักเสบ ผู้ป่วยจะมีไข้หนาวสั่น ปวด
กระดูก ปวดท้อง อาเจียน ตัวเหลืองตาเหลือง ต่อมน้าเหลืองและตับม้ามโต
16
การ วินิจฉัย
ในการย้อมเลือดด้วยสี Giemsa ใช้กับโรคคาร์เรียนในระยะเฉียบพลัน
จะพบตัว B bacilliformis อยู่ภายในเม็ดเลือดแดง รูปแท่ง โค้งเล็กน้อย
17
วิธีการป้องกัน
เนื่องจากโรคบาร์โตเนลโลสิสติดต่อโดยมีแมลง เห็บ ไร หมัดและแมวเป็นพาหะ
การป้องกันสามารถทาได้โดยการสวมใส่เสื้อผ้าที่ปกปิดมิดชิดเมื่อจะออกจากบ้าน
และควรรักษาบ้านเรือนให้สะอาดด้วย ล้างแผลด้วยน้าสะอาดทันทีเมื่อถูกอะไรกัด
ไม่ใช้มือสัมผัสกับอุจจาระของสัตว์โดยตรง
18
Brucella
บรูเซลลา
19
Brucella
เชื้อแบคทีเรียรูปร่างเป็นแท่งกลม (Coccobacilli) ติดสีแกรมลบ (สีชมพู) ไม่
สร้างสปอร์ เคลื่อนไหวไม่ได้ เชื้อ Brucella ถูกทาลายด้วยความร้อนที่ 60 องศา
เซลเซียล ในเวลา 10 นาที 1% Phenol นาน 15 นาที
โดยการสัมผัสโดยตรงกับเนื้อเยื่อ เลือด ปัสสาวะ สารคัดหลั่งจากช่องคลอด ลูก
สัตว์ที่แท้งออกมา (โดยเฉพาะรก) โดยเชื้อจะเข้าทางผิวหนังที่มีแผลหรือรอยขีดข่วน
20
คนทั่วไปมักติดจากการกินอาหาร โดยเชื้อบรูเซลลามักอยู่ในนมแพะสด หรือเนย
สดที่ทามาจากนมแพะ ในนมวัวสดก็มีเชื้อนี้ได้ทาให้เกิดโรคบรูเซลโลซิส (Brucellosis)
โรคไอกรน (Pertussis) โรคคอตีบและบาดทะยัก
21
การ วินิจฉัย
การเพาะเชื้อบรูเซลลาจากเลือดหรือปัสสาวะต้องใช้น้าเลี้ยงเชื้อพิเศษ และกินเวลานาน
ถึง 8 สัปดาห์ การตรวจทางซีโรโลยี่ก็แปลผลได้ยาก เพราะมี cross-reaction กับโรค
อื่น ๆ มากมาย การตรวจชิ้นเนื้อก็ไม่มีลักษณะจาเพาะ มักพบเพียงแกรนูโลมา
(granuloma) ที่คล้ายวัณโรคและโรคซาร์คอยโดสิส (sarcoidosis)
22
อาการจากการติดเชื้อ
Brucella
เมื่อเชื้อบรูเซลลาเข้าสู่ร่างกาย จะไปเจริญเติบโตที่ต่อมน้าเหลือง ทาให้มี
ต่อมน้าเหลืองโต อีกส่วนหนึ่งของเชื้อจะเข้าสู่กระแสโลหิต แล้วจะถูกเม็ดเลือด
ขาวพาไปที่ตับ ม้าม ไขกระดูก และอวัยวะต่าง ๆ ทาให้เกิดฝีขนาดเล็กอยู่ตาม
อวัยวะต่าง ๆ
23
อาการของโรคไอกรน
ระยะเริ่มต้น : อาการค่อยเป็นค่อยไป มีไข้ต่า ๆ น้ามูกไหล ไอเล็กน้อยแบบไม่มีเสมหะ
แล้วค่อย ๆ ไอจะมากขึ้นเรื่อย ๆ ระยะนี้กินเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์
ระยะไอเป็นชุด : ระยะนี้ไข้จะหายไปแล้ว แต่จะมีอาการไอติดกันเป็นชุด ๆ เสียงดัง ขณะ
ไอจะหน้าแดงหน้าเขียว น้าตาไหล ไอจนเสมหะเหนียวหลุดออกมา บ่อยครั้งจะมีอาการ
อาเจียนตามหลังการไอด้วย บางรายไอจนเจ็บอก เจ็บชายโครง น้าหนักตัวลด
ระยะฟื้นตัว : อาการไอเป็นชุด ๆ จะค่อย ๆ ห่างไปอย่างช้า ๆ และความรุนแรง
น้อยลงเรื่อย ๆ จนหายสนิท
24
วิธีการ ป้องกัน
มีวัคซีนป้องกันโรคบรูเซลโลสิสในสัตว์ แต่ยังไม่มีวัคซีนที่ใช้ป้องกันโรคในคน การป้องกันที่
สาคัญคือต้องกาจัดเชื้อในสัตว์ให้ได้ก่อน ผู้ที่ทางานกับสัตว์ไม่ควรสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค
โดยตรงสาหรับคนทั่วไปควรดื่มนมที่ผ่านการพาสเจอร์ไรซ์แล้วเท่านั้น
การรักษาโรคไอกรนยังไม่ค่อยได้ผลดีนัก การป้องกันจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุด มีวัคซีนป้องกัน
โรคไอกรนฉีดร่วมกับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบและบาดทะยัก ในเด็กให้ฉีดเมื่อมีอายุ 2
เดือน, 4 เดือน, 6 เดือน, 1 ปี และ 5 ปี
25
Burkholderia
เบอโคเดอเรีย
26
พบได้ในคน และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด ก่อให้เกิดโรค เมลิออยโดสิส
(Melioidosis) การติดต่อที่พบบ่อยได้แก่การหายใจและการสัมผัสโดยตรงกับ
เชื้อที่ปนเปื้อนในดินและน้าในขณะที่มีบาดแผล ป่วยอาจเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
27
Burkholderia
เป็นแบคทีเรีย ชนิด Gram negative bacilli มีลักษณะจาเพาะ คือ
เซลล์จะติดสีเข้มหัวท้าย เมื่อย้อมด้วยสี Gram Stain ทาให้มีลักษณะคล้าย
เข็มกลัดซ่อนปลาย เคลื่อนที่โดยใช้ flagella สามารถเจริญได้ในภาวะเป็น
กรด pH 4.5-8 และอุณหภูมิระหว่าง 15-42 องศาเซลเซียส พบมากที่สุดใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
28
การ วินิจฉัย โรค
Indirect hemagglutination (IHA) ทดสอบโดยใช้เม็ดเลือดแดงที่
เคลือบแอนติเจนของ B. pseudomallei ทาปฏิกิริยากับแอนติบอดีจาเพาะ
ในซีรัมผู้ป่วย ในกรณีที่มีการติดเชื้อจะเกิดการจับกลุ่มของเม็ดเลือดแดง
มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
29
อาการจากการติดเชื้อ
Burkholderia
ผู้ป่วยจะมีอาการแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ไม่ปรากฏอาการแต่ตรวจพบ
แอนติบอดี จนกระทั่งอาการรุนแรง โลหิตเป็นพิษเฉียบพลัน มีอาการ
2 รูปแบบคือการติดเชื้อเฉพาะที่และการติดเชื้อแบบแพร่กระจายไปทั่ว
มักพบมีอาการปอดบวม ติดเชื้อในกระแสโลหิตและฝีในอวัยวะภายใน
พบมีอาการของโรคกลับซ้าได้บ่อยในกรณีที่ให้ยาปฏิชีวนะไม่นานพอ
30
วิธีการ ป้องกัน
ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคเมลิออยโดสิส การควบคุมป้องกันโรคทาได้ยาก
เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นชาวนาที่ต้องสัมผัสดินและน้าขณะทางาน ผู้ที่มีภาวะภูมิ
ต้านทานบกพร่อง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคเรื้อรัง หรือ มีบาดแผลที่ผิวหนัง
ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสดิน โดยสวมรองเท้าบูทขณะทางานลุยน้า ลุยโคลน
31
Pseudomonads
ซูโดโมแนส
32
Pseudomonas aeruginosa
เป็นแบคทีเรียแกรมลบ มีรูปร่างแท่ง aerobic
เป็นเชื้อโรคฉวยโอกาสจะมีการติดเชื้อกับผู้ที่ภูมิคุ้มกัน
ต่าหรือป่วยมากๆ หรือผู้ป่วยที่พักรักษาตัวใน
โรงพยาบาล ส่วนใหญ่ในการก่อโรคปอดบวม จะอยู่ใน
ห้อง ICU Pseudomonas ดื้อต่อยาปฏิชีวนะมาก
ยากต่อการรักษา ทาให้การติดเชื้อในกระแสเลือด
และการติดเชื้อที่ปอด
33
อาการจากการติดเชื้อ
Pseudomonas
ติดเชื้อในกระแสเลือด
- ไข้หนาวสั่น
- ปวดเมื่อยตามตัว
- มึนหัว
- ชีพจรเต้นเร็วและหายใจเร็ว
- คลื่นไส้และอาเจียน
- ท้องเสีย
- ปัสสาวะออกลดลง
ติดเชื้อในปอด
- ไข้หนาวสั่น
- หายใจลาบาก
- ไอที่อาจมีเสมหะสีเหลือง เขียว หรือเป็นมูกเลือด
อาการของการติดเชื้อนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของการติดเชื้
34
ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
- ปวดปัสสาวะบ่อย
- ปัสสาวะแสบขัด
- ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น
- ปัสสาวะขุ่นหรือมีเลือดปน
ติดเชื้อที่แผล
- มีการอักเสบบริเวณแผล
- ผลซึม
ติดเชื้อที่หู
- ปวดหู
- การได้ยินลดลง
- มึนหัว
35
วิธีการ รักษา
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อทดสอบการดื้อยา
และหายาที่เหมาะสมที่สุดในการฆ่าเชื้อ
36
Moraxella
มอแลคเซลล่า
37
Moraxella
เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมลบ ที่มีรูปร่าง แบบทรงกลม และแบบท่อนกลมยาว
โดยปกติแล้ว จะมีลักษณะเป็นสายหรือเป็นคู่ (catalase) ได้ ส่วนใหญ่เราจะ
สามารถตรวจพบ Moraxella Species ได้บริเวณ คอหอยหลังช่องปาก เยื่อ
เมือก ผิวหนัง และ ระบบสืบพันธุ์ สามารถติดต่อจากคนสู่คนได้ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ที่มีการปนเปื้อนเชื้อกระจายอยู่ใน
สิ่งแวดล้อม รวมถึง การแพร่เชื้อในรูปแบบของละอองของเหลว หมอก ควัน
38
เป็นสาเหตุของโรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (พบในเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 3 เดือน
ขึ้นไป) โรคหูชั้นกลางอักเสบชนิดเรื้อรังร้ายแรง (มีไข้ ปวดที่หูแบบเฉียบพลัน มีอาการ
ระคายเคือง ก่อให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียในร่างกายหรือโลหิต รวมถึง โรคติดเชื้อใน
ระบบประสาท) ไซนัสอักเสบทั้งชนิดเฉียบพลัน และ เรื้อรัง (อาจจะพบว่ามีไข้ มีน้ามูก
ไอ ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น ปวดไซนัส และ ปวดศีรษะ) โรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
และอาจรวมถึงอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ การติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด เยื่อบุ
หัวใจอักเสบ ตาดาอักเสบ ข้ออักเสบติดเชื้อ
39
วิธีการป้องกัน
การใช้ Antibiotic Prophylaxis ในเด็กที่มีอาการกาเริบ
ของโรคหูชั้นกลางอักเสบ ให้ผลเป็นที่น่าพอใจ
40
Acinetobacter
แอคซินโทแบล็คเตอร์
41
Acinetobacter
เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ (gram-negative bacteria) ทรงแท่ง การเจริญเติบโต
ของเชื้อนี้เป็นแบบอาศัยออกซิเจนเท่านั้น ที่มีความสาคัญมากขึ้นในฐานะที่เป็นเชื้อก่อโรคใน
โรงพยาบาลที่พบได้บ่อยขึ้น Acinetobacter spp. เป็นสาเหตุของโรคปอดบวม
เชื้อเหล่านี้มักจะดื้อต่อยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดื้อ
ต่อยาในกลุ่ม Carbapenems มักจะดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลาย
ชนิดในเวลาเดียวกัน ทาให้มีความยากลาบากในการเลือกใช้ยา
ปฏิชีวนะในการรักษา
42
Francisella
ฟานซิเซลลา
43
Francisella tularensis
มีลักษณะเป็นค็อกโคบาซิลไล ไม่เคลื่อนที่ ไม่สร้างสปอร์ มีแคปซูล
แบคทีเรียนี้มี 4 types โดย Type A มีความรุนแรงที่สุด
ติดต่อมายังคนโดยถูกแมลงพาหะที่กัดเลือดสัตว์ที่ติดเชื้อนี้กัด
หรือติดโดยสัมผัสกับเลือด สารคัดหลั่งของสัตว์ที่ป่วยด้วยโรคนี้
เข้าทางบาดแผล เยือเมือก หรือรอยถลอก ขีดข่วน หรือถูกสัตว์
ป่วยกัดโดยตรง การหายใจ
44
ก่อให้เกิดโรค โรคทูลารีเมีย (Tularemia) หรือ โรคไข้กระต่าย (Rabbit
Fever) ติดต่อจากสัตว์ถึงคน ที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งเนื่องจากสามารถติดต่อ
ทางละอองฝอย (Aerosol) ได้ และสามารถใช้เป็นอาวุธชีวภาพที่จัดอยู่ในกลุ่ม A
45
มี 2 รูปแบบขึ้นอยู่ช่องทางที่เชื้อเข้าสู่ร่างกาย
-หากเชื้อเข้าทางผิวหนัง
จะเกิดบาดแผล ต่อมน้าเหลืองบวมโตตรงที่รับเชื้อ
-หากเชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ
ผู้ติดเชื้อจะเป็นไข้แบบไทฟอยด์ (typhoidal tularemia) คือมีไข้ หนาวสั่น โลหิต
เป็นพิษ ปวดศีรษะ ท้องเสีย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ไอแห้งๆ และอ่อนเพลีย หากผู้ป่วยมี
อาการปอดบวมร่วมด้วยจะเจ็บหน้าอก มีเสมหะเป็นเลือด อึดอัด หายใจไม่สะดวก จน
อาจหยุดหายใจ
อาการจากการติดเชื้อ
Francisella
46
รักษาโดยการใช้ยาปฏิชีวนะจาพวกสเตร็พโตไมซิน ฉีดเข้ากล้ามเนื้อใน
ปริมาณ 30 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม หรืออาจใช้ยาเจนตาไม
ซิน ปริมาณ 3-5 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน ติดต่อกัน
10-14 วัน ยาเตตระไซคลีน และครอแรมเฟนิคอลก็ใช้ได้ผลเช่นเดียวกัน
แต่ผู้ติดเชื้อมักมีอาการไข้กลับค่อนข้างสูง
วิธีการ รักษา
47
Legionella
ลีเจียนแนล่า
48
Legionella pneumophila
เชื้อแบคทีเรียรูปแท่ง ย้อมติดสีแกรมลบ เพาะไม่ขึ้นบนอาหารเลี้ยงเชื้อธรรมดา
เนื่องจากไม่สามารถสังเคราะห์กรดอะมิโนชนิด L-cysteine อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อม
ที่มีความชื้นสูง เช่น ช่องแอร์ และเจริญได้ดีในน้าที่มีอุณหภูมิระหว่าง 25-42 องศา
เซลเซียล ก่อให้เกิดโรคในคน โดยโรคที่เกิดขึ้นเรียกว่า ลีเจียนเน็ลโลสิส
(Legionellosis) เป็นโรคที่มีอาการทางคลินิกแตกต่างกันได้ 2 แบบ คือ ไข้ปอนติ
แอค (Pontiac fever) และโรคลีเจียนแนร์ (Legionnaires'disease)
49
อาการจากการติดเชื้อ
Legionella
ไข้ปอนติแอค (Pontiac fever)
มีอาการเหมือนไข้หวัดใหญ่ ไม่มีภาวะปอดอักเสบ
จึงไม่รุนแรง และหายได้เองใน 2-5 วัน
จะรุนแรงกว่าโดยมีภาวะปอดอักเสบแบบ Bronchopneumonia และถุงลมถูกทาลาย เริ่ม
อาการด้วยไข้สูง ปวดศีรษะ อ่อนเพลียมาก ไอแห้ง หายใจขัด อาจมีอุจจาระร่วงและอาการทาง
ประสาท อาการปอดอักเสบที่เกิดขึ้นมีตั้งแต่ชนิดเฉียบพลันจนถึงชนิดเรื้อรังอาการที่พบ ได้แก่
เนื้อปอดทึบ โพรงเยื่อหุ้นปอดมีสารน้า เสียงหวีดหวือและเสียงเปรี๊ยะ มีอัตราตาย 5-30%
โรคลีเจียนแนร์ (Legionnaires'disease)
50
วิธีการ ป้องกัน
- มีการตรวจสอบปริมาณคลอรีนตกค้างของน้า
- ควรทาความสะอาดเครื่องปรับอากาศ 1-2 ครั้งต่อเดือน
- ถอดหัวก๊อกน้าและฝักบัว ออกมาแช่น้าร้อน 65oซ นาน 5 นาที
51
Coxiella Burnetii
ค็อกเซียลล่า
52
รูปร่างแท่งกลม (coccobacillus) ทนต่อความร้อนและความแห้งแล้ง เมื่อเชื้ออยู่ภายนอก
ร่างกายจะสร้างสปอร์ห่อหุ้ม จึงมีความทนทานต่อสิ่งแวดล้อมได้เป็นเวลานาน และสามารถ
แพร่กระจายไปกับละอองอากาศได้ไกลถึง 11 ไมล์
Coxiella burnetii
เชื้อแบคทีเรียจะมีชีวิตอยู่ในเสมหะในฝุ่นละออง 120 วัน และ
ในอุจจาระของเห็บ นอกจากนี้เชื้อแบคทีเรียจะมีชีวิตอยู่ในน้านม
ได้ที่ ทาให้เกิดโรค โรคไข้คิว (Q Fever, Query fever)
53
อาการจากการติดเชื้อ Coxiella burnetii
ในสัตว์
แสดงอาการทางระบบสืบพันธุ์เป็นหลัก
- สัตว์ไม่แสดงอาการป่วย
- มีการแท้งในช่วงท้ายของการตั้งท้อง ตายแรก
คลอด ลูกสัตว์แรกคลอดอ่อนแอ รกค้าง
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
- ในแพะ อาจมีอาการซึม เบื่ออาหาร เป็นเวลา
1-2 วันก่อนการแท้ง
ในคน
แสดงอาการทางระบบทางเดินหายใจ คล้ายหวัด
- มีไข้ หนาวสั่น เหงื่อออก
- ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เจ็บหน้าอก ปอดบวม
- ตับอักเสบ
- ในหญิงตั้งครรภ์ จะคลอดก่อนกาหนด หรือแท้ง
- ในผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจ การติดเชื้อนี้อาจท้าให้ลิ้น
หัวใจอักเสบ
54
- แยกสัตว์ตั้งท้องออกจากฝูง
- แยกสัตว์ที่แสดงอาการแท้งออกจากฝูง
- กาจัดรก ซากสัตว์ที่แท้ง หรือสิ่งคัดหลั่งจากการคลอดอื่นๆ ด้วยวิธีการเผา หรือฝัง
- กักสัตว์ใหม่ก่อนน้าเข้าเลี้ยงร่วมฝูงเดิม เพื่อสังเกตอาการป่วย และตรวจร่างกาย
- หลีกเลี่ยงการสัมผัส หากจาเป็นควรสวมหน้ากากอนามัย และถุงมือก่อนสัมผัส
- กาจัดเห็บที่เป็นพาหะของโรค
วิธีการ ป้องกัน
55
Bacteroides
แบคทีรอยด์
56
oi
Bacteroides
แบคทีเรียที่พบมากที่สุดในการติดเชื้อแบบไม่ใช้ออกซิเจน โดยเฉพาะที่เกิดจาก
ระบบทางเดินอาหาร มักใช้เป็นตัวตรวจจับสารในอุจจาระของมนุษย์
เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อในช่องท้อง เยื่อหุ้มปอด
อักเสบและฝีหลังจากการแตกของ viscus และ ฝี
abscesses ใต้ผิวหนังหรือการ เผาไหม้ ใกล้
ทวารหนัก
57
โดยทั่วไป B. fragilis มีความไวต่อยา
metronidazole , carbapenems , tigecycline , betalactam
/ beta-lactamase inhibitor ผสม (เช่น Unasyn , Zosyn ) และยาต้านจุลชีพ
บางชนิดของ cephalosporin class รวมทั้ง cefoxitin แบคทีเรียมีความต้านทาน
ระดับสูงในการ เพนเนสซิริน
การผลิต beta lactamase เป็นกลไกหลักของการต้านทานยาปฏิชีวนะใน B.
fragilis ไม่แนะนาให้ใช้ clindamycin เป็นตัวแทนสายแรกสาหรับ B.
fragilis เนื่องจากมีความต้านทานระดับสูง
วิธีการ ป้องกัน
58
Prevotella
พรีวอเทลล่า
59
Prevotella
มีขนาดเล็ก แกรมลบ พบในช่องปาก ร่องเหงือก เซลล์เหล่านี้ไม่เป็นอันตรายต่อ
ผิว ยังสามารถพบได้ในน้าลายแคลเซียมฟันและแผ่นโลหะอื่น ๆ ก่อให้เกิดโรคหลัก
ในโรคเหงือกอักเสบ ( โรคปริทันต์ ) ที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ นอกจากนี้แบคทีเรีย
ยังสามารถแยกได้จากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ซึ่งเป็นจุดเน้นของการติดเชื้อหลังการถอนฟัน
ของรากฟันที่ติดเชื้อ หัวและคอ
และการติดเชื้อเยื่อหุ้มปอด
60
1. มีกลิ่นปาก
2. เหงือกจะมีสีแดงคล้า, ปวดและเจ็บบริเวณเหงือก
3. เหงือกจะเริ่มแยกตัวออกจากฟัน คนไข้จะรู้สึกว่าฟันของตนเองยาวขึ้น
4. ฟันเริ่มโยกเพราะมีการละลายของกระดูกที่รองรับฟัน
5. เหงือกเป็นหนอง
อาการจากการติดเชื้อ
Prevotella
61
วิธีการรักษา
1. แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งและใช้ไหมขัดฟัน ทาความสะอาดซอกฟันทุกวัน
2. ใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์ทาให้ฟันแข็งแรงขึ้น เพื่อป้องกันฟันผุ
3. แปรงฟันให้ถูกวิธี
4. ใช้แปรงสีฟันที่มีขนอ่อนนุ่มและหมั่นตรวจสภาพของแปรงสีฟันของท่าน
5. ควรแปรงลิ้นของท่านด้วยขณะแปรงฟัน
6. พบทันตแพทย์ปีละ 2 ครั้ง เพื่อรับการขูดหินปูนและตรวจดูสภาพช่องปาก
62
สมาชิกกลุ่ม
นางสาววรดา ศรีรังกูร เลขที่ 26
นางสาววรลักษณ์ สุระกา เลขที่ 27
นายวิรุต มีทรัพย์ เลขที่ 28
นางสาวศิริลักษณ์ แซ่เฒ่า เลขที่ 29
นายสุเมธ เปี้ยฝั่น เลขที่ 30
สาขาโสตทัศนศึกษาทางการแพทย์ ปีที่ 2
63

More Related Content

What's hot

Gram negative bacilli oxidase -
Gram negative bacilli  oxidase -Gram negative bacilli  oxidase -
Gram negative bacilli oxidase -suchada pimchan
 
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeGram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeuraipan chaisri
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTChananart Yuakyen
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
Gram negative cocci
Gram negative cocciGram negative cocci
Gram negative cocciMiw Wanwalee
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุงStamp Tamp
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆUtai Sukviwatsirikul
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliNittaya Jandang
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Gram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positiveGram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positivePim Nuttha
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)Nattanara Somtakaew
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆAidah Madeng
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 

What's hot (20)

Gram negative cocci
 Gram negative cocci Gram negative cocci
Gram negative cocci
 
Gram negative bacilli oxidase -
Gram negative bacilli  oxidase -Gram negative bacilli  oxidase -
Gram negative bacilli oxidase -
 
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeGram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dT
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
Gram negative cocci
Gram negative cocciGram negative cocci
Gram negative cocci
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุง
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
Bacillus anthracis
Bacillus anthracis Bacillus anthracis
Bacillus anthracis
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilli
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Gram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positiveGram negative oxidase positive
Gram negative oxidase positive
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
 
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆเชื้อก่อโรคอื่นๆ
เชื้อก่อโรคอื่นๆ
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Gram negative bacilli
Gram negative bacilliGram negative bacilli
Gram negative bacilli
 

เชื่อที่ไม่เกี่ยวข้อง1