SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม
ภก.ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ที่ปรึกษาสมาคม
จากการที่เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA)1
ได้ดาเนินการมาครบกาหนด
เป้าหมายด้วยการลดอากรขาเข้าระหว่างประเทศสมาชิก 10 ประเทศเป็นร้อยละ 0 และยกเลิกการกีดกันทาง
การค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTB) ในต้นปี 2553 นั้น ASEAN ได้กาหนดแผนการเพิ่มความร่วมมือ
ภายใต้การรวมกลุ่มเศรษฐกิจ (Regional Economic Integration) ระหว่างกันในขั้นต่อไปให้มากขึ้น โดยได้ลง
นามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) และ
เห็นชอบให้มีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC) ในปี 2558 ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก
(Pillars) ได้แก่
1. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) เพื่อให้ประเทศสมาชิกได้
อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและเสริมสร้างความมั่นคง ซึ่งครอบคลุมถึงการเสริมสร้างสันติภาพ
หลังการเกิดกรณีพิพาท การต่อต้านการก่อการร้ายและความมั่นคงทางทะเล
2. ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) เพื่อให้เป็น
สังคมที่เอื้ออาทรต่อกัน แก้ไขปัญหาความยากจน เสริมสร้างความเสมอภาค รวมถึง การ
ปราบปรามอาชญากรข้ามชาติ การป้องกันจัดการภัยพิบัติ การจัดการสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม
ความร่วมมือด้านสาธารณสุข การส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับและวงการ
ต่างๆ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของกันและกัน และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของ
กันและกัน (การส่งเสริมด้านวัฒนธรรมและสนเทศ) และ
3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เพื่อให้มีการค้าสินค้า
บริการ การลงทุน ฯลฯ อย่างเสรี ซึ่งครอบคลุมกิจกรรมทางการค้า (Trade Activity) ได้แก่ การ
เปิดตลาดการค้าสินค้า (Trade in Goods) การเปิดตลาดการค้าบริการ (Trade in Services)
แรงงานมีฝีมือ (Skilled Labor or Professionals) การค้าและการลงทุน (Trade and Investment)
และการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ (Free flow of Capital) ฯลฯ
1
การลดอากรขาเข้าให้เป็นร้อยละ 0 (Tariff Reduction or Elimination) ถือเป็นจุดเด่นของการเปิดการค้าเสรีสินค้าในระยะแรก
ซึ่งมีหลักเกณฑ์การคัดเลือกและการจัดลาดับสินค้าที่นามาลดอากรก่อนหลัง ตามความพร้อมต่อการเปิดเสรีการค้าของไทย
สาหรับสินค้าที่จะได้สิทธิลดอากรขาเข้าจะต้องเป็นสินค้าที่ผลิตในประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้เงื่อนไขการผลิตของกฎว่าด้วย
ถิ่น (แหล่ง) กาเนิดสินค้า (Rules of Origin) ที่ตกลงไว้เพื่อประโยชน์แก่ประเทศสมาชิกเท่านั้น
สาหรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ถือเป็นการดาเนินการต่อจาก AFTA ในระยะที่สองซึ่งจะ
เน้นที่การเปิดเสรีบริการ2
และการลงทุนอย่างเท่าเทียมกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยรัฐจะต้องมีหน้าที่
อานวยความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศได้แก่ การปรับกฎเกณฑ์การนาเข้าผ่านด่านศุลกากร เปิดให้
ลงทุนถือครองหุ้นส่วนข้างมากได้และจัดทาโครงสร้างพื้นฐานของ Logistics คือ ถนน รถไฟ สนามบิน และ
เส้นทางการเดินเรือ เป็นต้น ทั้งนี้ อาเซียนได้ตกลงให้นิติบุคคลอาเซียนถือครองหุ้นส่วนข้างมากได้70% และ
เปิดแรงงานมีฝีมือเป็นโครงการนาร่อง จานวน 7 วิชาชีพ (Professionals) ในปี 2558 (อีก 3 ปี) ได้แก่ คือ แพทย์
ทันตแพทย์พยาบาล วิศวกร สถาปนิก ช่างสารวจ และนักบัญชี โดยกาหนดให้ลงนามทาข้อตกลงยอมรับจัดการ
ร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangement: MRA) มีผลทาให้ผู้ประกอบวิชาชีพทั้ง 7 ประเภท สามารถเข้าออก
และทางานในประเทศสมาชิกอาเซียนได้โดยง่ายอย่างเท่าเทียมกัน
สภาเภสัชกรรมได้รับรู้ถึงการเปิดเสรีอาชีพเภสัชกรรมอาเซียนในอนาคตหลังจากปี พ.ศ. 2558 ว่า อาชีพ
เภสัชกรรมจัดเป็นการให้บริการประเภทแรงงานมีฝีมือ (Skilled Labor) ซึ่งจะต้องมีการลงนามทา MRA ว่าด้วย
การเทียบเท่าคุณสมบัติและคุณภาพด้านวิชาชีพเภสัชกรรมของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะส่งผล
กระทบอาชีพเภสัชกรรมของไทย เงื่อนไขภายใต้กฏหมาย และความรับผิดชอบของสภาเภสัชกรรมโดยตรง
จาต้องมีขั้นตอนและวิธีดาเนินการที่โปร่งใสเป็นมาตรฐานกลางภายใต้กฏหมายในประเทศนั้นๆ ด้วย สาหรับ
สาระสาคัญของ MRA จะประกอบด้วย
1. นิยามว่าด้วย ประเภทวิชาชีพเภสัชกรรม (ตาม พรบ. วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537) เช่น ผลิต
ควบคุมคุณภาพ ขึ้นทะเบียน ให้คาแนะนาด้านการใช้ยา ฯลฯ ซึ่งอาจแบ่งตามประเภทของ
สถานที่การให้บริการ เช่น ร้านขายยา โรงพยาบาล สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฯลฯ
ตามแต่ที่ผู้แทนเจรจาวิชาชีพอาเซียนจะกาหนดขึ้นมาเป็นมาตรฐานร่วมกัน
2. คุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมภายใต้กฏหมายในประเทศ
ที่จะนามาใช้เป็นข้อตกลงอาเซียนและเงื่อนไขที่บุคคลนั้นที่จะได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมภายใต้กฏหมายในประเทศอาเซียนใดประเทศหนึ่ง
2
การเปิดเสรีการค้าบริการ (Trade in Services) เป็นเรื่องของการพิจารณาเปิดเสรีประเภทอาชีพการงาน การเข้ามาทางาน และ
การลงทุนในประเทศเป้าหมาย ซึ่งมีรายละเอียด ขั้นตอน และการขออนุญาตเข้ามาทางาน ที่มีความซับซ้อนค่อนข้างมาก และ
เป็นเรื่องที่ภาคเอกชนมีความรู้เชี่ยวชาญกว่าภาครัฐ หากขาดความรอบคอบในการพิจารณา อาจมีผลเสียหายร้ายแรง ที่ให้
ต่างชาติเข้ามาแย่งงานอาชีพของคนไทยได้โดยง่าย
3. ชื่อและองค์กรที่ทาหน้าที่เป็นตัวแทนในการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมอาเซียน (ASEAN Joint
Committee on Pharmaceutical Services) ในการดูแลและรับผิดชอบในการอนุญาตให้ประกอบ
วิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศ (คือ สภาเภสัชกรรม และพรบ. วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537)
4. รายละเอียดขั้นตอนของการขึ้นทะเบียนรับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมขององค์กร
ดังกล่าว (สภาเภสัชกรรม)
5. ข้อยกเว้นเป็นกรณีพิเศษ (ถ้ามี) ที่อนุญาตให้ประกอบวิชสชีพเภสัชกรรมได้เป็นการฉุกเฉิน
เฉพาะกิจ หรือชั่วคราว
สาหรับอาชีพเภสัชกรรมชุมชนก็จะอยู่ภายใต้MRA นี้ ที่จะต้องเปิดเสรีในปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป การ
เจรจาและจัดทา MRA จะต้องมีความเหมาะสม สามารถใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการประกอบวิชาชีพเภสัช
กรรมของไทยในอาเซียนและของอาเซียนในประเทศไทยได้ไปพร้อมๆ กัน งานในส่วนนี้จะเป็นจุดยืนสาคัญที่
สภาเภสัชกรรมจะต้องมีและเตรียมความพร้อมไว้อย่างเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ ทั้งนี้เพื่อให้มีการเข้าออก
ของเภสัชกรอาเซียนมีความเป็นสากล สมดุลกับความต้องการของประเทศในระยะยาวต่อไป
การคาดหมายผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชนหลังปี พ.ศ. 2558
ในมิติของค่าจ้าง คุณภาพชีวิต และตาแหน่งงานแล้ว ผู้สมัครจะเลือกทาเล ที่อยู่เงินเดือน ค่าครองชีพที่
เหมาะสมกับความต้องการของตนเอง เมื่อ AEC เปิดให้สามารถไปประกอบอาชีพในประเทศสมาชิกอาเซียนได้
อย่างเสรี ก็จะมีการอพยพย้ายถิ่นฐานของบุคคลอันเป็นที่มาของปัญหา “สมองไหล” ไปสู่ประเทศที่มีการ “กินดี
อยู่ดี” จึงเชื่อว่า3
หากคานึงถึง ภาษา สังคม วัฒนธรรม และให้ประเทศไทยเป็นฐานในภาพรวมแล้ว ประเทศที่อยู่
ในระดับที่สูงกว่าไทย คือ สิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย น่าจะเป็นแหล่งทากินที่เหมาะสมที่สุด ประเทศที่อยู่ใน
ระดับเดียวกับไทย คือ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม จะไม่ค่อยมีการเข้าออกเพื่อแสวงหางานมากนัก
ส่วนที่อยู่ในระดับต่ากว่า คือ ลาว กัมพูชา และเมียนม่าร์ น่าจะมีการย้ายเข้ามาอยู่ในประเทศไทยมากขึ้น
เมื่อวิเคราะห์แต่ละอาชีพจะเห็นว่า สิงคโปร์ซึ่งขาดแคลนทันตแพทย์ได้ออกกฎหมายในลักษณะ
เดียวกับสหรัฐอเมริกา เปิดโอกาสให้ทันตแพทย์ต่างชาติสามารถเลือกแปลงสัญชาติเป็นสิงคโปร์ได้ทันตแพทย์
จากสหภาพยุโรปจึงเลือกเข้าไปทางานในสิงคโปร์เป็นจานวนมาก ส่วนหนึ่งก็อาจจะใช้โอกาสนี้ขนขวายย้ายเข้า
มาอยู่ในประเทศไทยภายใต้เงื่อน MRA ข้างต้นได้ทั้งนี้ทันตแพทย์ในไทยจะได้รับผลกระทบได้มากหรือน้อยก็
3
อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา กรรมการผู้จัดการ บริษัท ออคิด สลิงชอท จากัด ที่ปรึกษางานด้านการพัฒนาองค์กร (ASTV ผู้จัดการ
ออนไลน์ 30 กรกฎาคม 2555)
ขึ้นอยู่กับโอกาสและการ “กินดีอยู่ดี” ของไทย (ทันตแพทย์คนเดียวสามารถเปิดคลินิกประกอบอาชีพได้ตลอด
วันและมีรายได้ดี ขณะที่คนต่างชาติที่อยู่ในไทยต้องการทันตแพทย์ที่พูดภาษาอังกฤษได้)
สาหรับอาชีพพยาบาลซึ่งประเทศไทยรวมทั้งทั่วโลกอยู่ในภาวะขาดแคลนมาอย่างต่อเนื่อง ทาให้
ประเทศที่ร่ารวยเจริญแล้วเป็นเป้าหมายหลักของการอพยพไปเพื่อการ “อยู่ดีกินดี” อันเป็นสาเหตุหลักที่พยาบาล
ไทยขาดแคลนเพราะไปทางานในต่างประเทศที่มีรายได้ดีกว่า นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนไปทาอาชีพอื่น เช่น
คลินิกเสริมความงาม หรือธุรกิจสินค้าเพื่อสุขภาพ ในทางกลับกัน การลงทุนขยายตัวของกิจการโรงพยาบาลไทย
เพื่อให้เป็น “Medical Hub” “การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์4
” หรือ “ทัวร์สุขภาพ” มารองรับกับการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจของ AEC ก็อาจจะเป็นตัวแปรในการเลือกที่ทางานได้ทางหนึ่งของการเปิดรับสมัครพยาบาลจาก
ฟิลิปปินส์เนื่องจากสามารถสื่อกับคนไข้ด้วยภาษาอังกฤษได้ดีมาก (เครือ รพ. พญาไท และเปาโล เมโมเรียล)
อีกอาชีพคือ วิศวกร ซึ่งน่าจะมีการไหลออกในลักษณะเดียวกับอาชีพพยาบาล เมื่อ AEC และประเทศ
ต่างๆ ที่มีการพัฒนามากขึ้น ก็จะมีความต้องการวิศวกรทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นวิศวกรโยธา เครื่องกล ปิโตร
เคมี ฯลฯ ในที่นี้จะเลือกวิเคราะห์เป็นกรณีที่มีการไหลออกอย่างรุนแรง ก็จะเป็นโอกาสที่จะมีวิศวกรจาก
ประเทศในระดับที่ต่ากว่า ย้ายเข้ามาในไทยเพราะพูดภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้โดยเฉพาะงานในระดับที่
ต้องมีการสื่อสารกับคนงานชาวเมียนม่าร์ เวียดนาม ลาวและกัมพูชาด้วยกัน ก็น่าจะมีวิศวกรจากประเทศเหล่านี้
เข้ามาทางาน ในระยะยาวก็จะมีคนชาติเหล่านี้ก็อาจจะเลือกเข้ามาเรียนวิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ
หรือวิศวกรรมอินเตอร์ฯ ที่เปิดสอนอยู่ในมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้การศึกษาเป็นสะพาน
เข้าสู่การทางานในประเทศไทยง่ายขึ้นมากขึ้นได้เช่นกัน กรณีเช่นนี้ก็น่าจะเกิดได้กับอาชีพแพทย์ได้เช่นกัน
สาหรับอาชีพเภสัชกรรมชุมชน ในภาพรวมจะมีผลกระทบมากน้อยนั้น น่าจะขึ้นอยู่กับ (1) นโยบาย
และความเข้มงวดของสภาเภสัชกรรมและภาครัฐที่จะทาให้มีความต้องการเภสัชกรรมชุมชนมากขึ้น (2) รายได้
และ (3) ประเภทของร้านขายยา และทาเลที่ตั้ง หากนาไปเปรียบเทียบกับอาเซียน ก็น่าจะมีปัญหา “สมองไหล”
ไปประเทศสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย เฉพาะคนที่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดี แต่จะดียิ่งกว่านี้หากสามารถ
พูดภาษาบาฮาซา (Bahasa Melayu) ได้ด้วย (ภาษามาเลย์ มาลายูหรือ บาฮาซา เป็นภาษาของประเทศบรูไน
มาเลเซีย ติมอร์ และอินโดนีเซีย ซึ่งถือว่า เป็นภาษาที่ชาวอาเซียนใช้สื่อสารมากที่สุดรองจากภาษาอังกฤษ) ทั้งนี้
ต้องคานึงถึงปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรมประกอบด้วย ส่วนปัญหาการเข้ามาในประเทศไทยของเภสัชกร
อาเซียนก็น่าจะคาดหมายได้ว่า มาจากประเทศลาว เมียนม่าร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ตามการ “อยู่ดี
กินดี” ในประเทศไทย ทั้งนี้ก็ขึ้นกับ MRA และกฎหมายอนุญาตและการรับขึ้นทะเบียนของสภาเภสัชกรรม
4
การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์หมายถึง การที่พลเมืองที่อาศัยในประเทศหนึ่งเดินทางไปรับบริการทางการแพทย์ในอีกประเทศ
หนึ่ง โดยมีเงื่อนไขว่า ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ต้องถูกกว่าและบริการต้องเท่าเทียมหรือดีกว่าที่ได้รับในประเทศของตัวเอง
การเปิดการค้าเสรีกับอาชีพเภสัชกรรมของประเทศไทย
การเปิดการค้าเสรีจะครอบคลุมกิจการและการค้าทุกประเภทโดยมีกรอบการค้าในวงกว้างเทียบเท่าซึ่ง
ต้องไม่ขัดกับกฏเกณฑ์กติกาของ WTO สาหรับอาชีพเภสัชกรเป็นอาชีพที่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ หรือ
Licensed Professional คือ ใบประกอบโรคศิลป ผลกระทบของการเปิดการค้าเสรีต่อเภสัชกรจึงต้องแบ่ง
ออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้คือ
(1) ตัวยาวัตถุดิบ ถึงแม้ว่าไทยจะยังไม่มีการพัฒนาในด้านนี้มากนัก แต่ก็มีแนวโน้มที่จะพัฒนาขึ้นมาได้ใน
อนาคตเนื่องจากมีกิจกรรมนี้อยู่ในแผนพัฒนาอุตสาหกรรมยา วัตถุดิบที่กล่าวถึง เป็นได้ทั้งเคมีภัณฑ์
และสมุนไพรซึ่งเป็นวัตถุดิบต้นทางของอุตสาหกรรมยาและอุตสาหกรรมอื่นด้วย สาหรับอาชีพเภสัชกร
ที่อยู่ในสาขานี้จะไม่มีปัญหาเนื่องจากยังมีความต้องการน้อย และต้องพึ่งพาอาชีพอื่นในการผลิตวัตถุดิบ
ด้วย หากมีความต้องการผลิตวัตถุดิบขึ้นในประเทศผ่านการวิจัยพัฒนา นักวิชาการในสถาบันการศึกษา
และจานวนเภสัชกรปริญญาสาขาคลินิคก็น่าที่จะมีการผลิตมารองรับได้ในที่สุด
(2) อุตสาหกรรมผลิตยา โรงงานผลิตยาจะเป็นสาขาที่มีการเปลี่ยนแปลงภายใต้มาตรฐาน GMP และ PIC/S
ส่งผลให้มีการเพิ่มจานวนเภสัชกรในโรงงานมากขึ้น ได้แก่ ฝ่ายขึ้นทะเบียนยา ฝ่ายควบคุมคุณภาพด้าน
คลีนิค เช่น การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence) การบริหารยา (Drug Administration) เป็นต้น แต่
เนื่องจากการเปิดการค้าเสรีสินค้ายามีผลโดยตรงต่อภูมิศาสตร์ การขนส่ง ช่องทางการตลาด และมี
กฏหมายควบคุมการผลิตยา อีกทั้งแหล่งที่มาของวัตถุดิบในกลุ่มที่ 1 ด้วย ทาให้โรงงานผลิตยา
ต่างประเทศที่มีฐานการผลิตในประเทศไทย ย้ายฐานการผลิตไปประเทศอินเดียและอินโดนีเซียเกือบทั้ง
หมดแล้ว (โรงงานผลิตยาจัดเป็นอุตสาหกรรม High Value to Weight Ratio หรือ Centralization จึงนิยม
ขยายตลาดทางการค้าด้วยการตั้งสถานประกอบการที่มี (ก) ประชากรมาก (ข) ใกล้แหล่งวัตถุดิบ และ
(ค) พื้นฐานความรู้ความสามารถของทรัพยากรมนุษย์) ประเด็นนี้ก็ส่งผลให้มีความต้องการเภสัชกรทั้ง
กลุ่มลดลงหรือไม่ค่อยขยายตัวได้เช่นกัน ในทางกลับกันการเปิดตลาดยาในอาเซียนได้สาเร็จก็จะต้องมี
จานวนเภสัชกรเพิ่มขึ้นมารองรับเพื่อการขยายตลาดส่งออกได้เช่นกัน แนวโน้มความต้องการสาขานี้จึง
ขึ้นอยู่กับการลงทุนสร้างโรงงานผลิตยาทั้งในและต่างประเทศ
(3) สินค้ายา จะได้ประโยชน์ด้านเพิ่มปริมาณการค้าในตลาดรวมที่ใหญ่ขึ้น และประชาชนจะมีทางเลือก
มากขึ้นกับการซื้อยามารักษาโรคในราคาถูก (ภายใต้มาตรฐาน GMP) หมายถึง มียาชื่อสามัญนาเข้ามา
แข่งขันด้านราคายาสาเร็จรูปที่รุนแรงขึ้นกว่าเดิมภายใต้GMP ที่เข้มงวดขึ้น (ของดีราคาถูก) ผลกระทบ
จะได้กับอุตสาหกรรมผลิตยาที่จะต้องแข่งขัน หากประสบความสาเร็จในตลาดที่ใหญ่ขึ้นก็จะมีโอกาส
สามารถดาเนินการวิจัยพัฒนายาขึ้นมาได้เรื่อยๆ แต่ถ้าหากไม่ประสบความสาเร็จก็จะต้องออกจากตลาด
ไปในที่สุด สาหรับเภสัชกรในอุตสาหกรรมอาจมีจานวนที่เพิ่มขึ้นได้ตามจานวนและระดับของการ
ปฎิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานดังนี้
a. เภสัชกรฝ่ายผลิตเพิ่มตามขนาดและจานวนของโรงงานที่มีอยู่
b. เภสัชกรฝ่ายควบคุมคุณภาพ เพิ่มตามขั้นตอนตรวจสอบตุณภาพภายใต้มาตรฐาน GMP สากล
ขนาดและจานวนโรงงานที่มีอยู่เช่น การทดสอบความคงสภาพของยา (Stability Test) เป็นต้น
c. เภสัชกรฝ่ายการตลาด เพิ่มตามการเปิดตลาดทั้งในและต่างประเทศ มีความต้องการด้านภาษา
พูด ภาษาอังกฤษ และการเขียนหนังสืออันเป็นคุณสมบัติเพิ่มเติมจากการเป็นเภสัชกร
d. เภสัชกรฝ่ายขึ้นทะเบียนยา เพิ่มตามจานวนทะเบียนที่มีมากขึ้นอย่างมากมายตามจานวนการ
แข่งขันทางการค้ายา
(4) ภาครัฐ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมในทุกๆ ด้านเมื่อมีการเปิดเสรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาระยะสั้น
ได้แก่ มาตรฐานการรับขึ้นทะเบียนยา ความรวดเร็วที่จะอนุญาตให้มีทะเบียนยาเพื่อจัดจาหน่าย
เนื่องจากเป็นการบริหารตามปีงบประมาณ ดังนั้นการวางแผนงานผิดพลาดก็จะทาให้โครงการล่าช้าไป
ได้ถึง 1 ปีทีเดียว สาหรับเภสัชกรในภาครัฐก็จะต้องเพิ่มจานวนไปด้วยเพราะการเปิดการค้าเสรีนี้
(5) เภสัชกรโรงพยาบาล ในส่วนนี้คงไม่ได้รับผลกระทบมากนักเนื่องจากเป็นผู้จ่ายยาในลักษณะเดียวกับ
ร้านขายยา แต่ความเปลี่ยนแปลงจะมาจากผลของการมีมาตรฐานทดสอบคุณภาพยาด้านชีวสมมูล
(Bioequivalent Test) ด้วยทีมหมอและเภสัชกรมาดูแลอย่างใกล้ชิดสาหรับผู้ที่อาสาสมัครมาทดสอบ
คุณภาพการรักษาของยาเทียบกับยาต้นแบบเพื่อนาข้อมูลไปขึ้นทะเบียนยา การดาเนินงานในลักษณะนี้
จึงต้องมีสถานประกอบการใกล้ๆ หรือติดกับโรงพยาบาล เพราะทีมหมอและเภสัชกรก็จะเป็นผู้ที่
ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเป็นปกติอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ด้วยนโยบายการเป็น Medical Hub ด้วยการ
ขยายกิจการและเพิ่มจานวนโรงพยาบาลเอกชนเพื่อรองรับการให้บริการ “ทัวร์สุขภาพ” ได้กลายเป็น
ปัจจัยการขยายความต้องการของบุคลากรสาขาสุขภาพทั้งหมด หากเภสัชกรมีจานวนไม่พอกับความ
ต้องการ ก็อาจจะมีการเปิดให้บุคลากรอาเซียนด้านสุขภาพเข้ามาทางานในประเทศได้เพราะสามารถ
พูดภาษาอังกฤษได้ดีกว่าคนไทย
(6) เภสัชกรในสถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษาได้เพิ่มสัดส่วนจานวนเภสัชกรคลีนิคมากขึ้นกว่า
เภสัชกรฝ่ายผลิตและควบคุมคุณภาพมาระยะหนึ่งแล้ว ซึ่งเป็นสัดส่วนที่รองรับการพัฒนาสภาพการ
บริหารยาและสอดคล้องกับสภาวะการค้าเสรีที่มีผลด้านมาตรฐานคุณภาพที่ต้องการทางคลีนิคมากขึ้น
การปรับตัวที่สอดคล้องอยู่แล้วจึงไม่น่าจะมีผลเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างไร
(7) เภสัชกรไทยกับเภสัชกรเทศ การเปิดการค้าเสรีนั้นครอบคลุมการค้าสินค้า (Trade in Goods) และ
การค้าบริการ (Trade in Service) อาชีพหรือวิชาชีพเภสัชกรจัดเป็นส่วนหนึ่งของการค้าบริการ ตั้งแต่
การศึกษา การให้คาปรึกษา การเปิดร้านขายยา ซึ่งล้วนเป็นการประกอบโรคศิลปทั้งสิ้น จัดเป็นเป็น
อาชีพที่ต้องมีใบอนุญาต (Professional) ซึ่งรวมไปถึง แพทย์ทันตแพทย์สัตวแพทย์พยาบาล วิศวะ
กรรม ฯลฯ การค้าเสรีด้านบริการจึงหมายถึง การเปิดให้บุคคลเหล่านี้ได้มาประกอบอาชีพในประเทศ
คู่สัญญาได้อย่างเสรีภายใต้มาตรฐานแห่งวิชาชีพที่เท่ากัน (เป็นหน้าที่และนโยบายของสภาเภสัชกรรม)
ประเด็นด้านการใช้ภาษาท้องถิ่นจึงกลายเป็นอุปสรรคด้านนี้ที่ผู้ประกอบการต้องเรียนรู้และมีความ
เข้าใจให้ถ่องแท้ถึงจะสามารถให้บริการหรือเข้าทางานเต็มรูปแบบได้ไม่เช่นนั้น จะต้องจากัดอยู่ในวง
แคบ เช่น การวิจัยพัฒนา การให้การศึกษา การผลิตยา เป็นต้น
กล่าวโดยสรุปแล้ว การเปิดการค้าเสรี FTA จะมีผลกระทบด้านบวกต่อวิชาชีพเภสัชกรในด้านการเพิ่ม
จานวนเภสัชกร ซึ่งอาจมาจากต่างประเทศได้ส่วนหนึ่ง ในทางกลับกันเภสัชกรไทยจะได้ไปประกอบวิชาชีพใน
ต่างประเทศได้ง่ายขึ้น แต่ผลกระทบที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดจะมาจากจานวนสินค้ายาสามัญที่เพิ่มขึ้น
ทาให้ต้องมีการเตรียมตัวในภาครัฐเพื่ออานวยความสะดวกทางการค้า (ขึ้นทะเบียนยา) การทดสอบชีวสมมูล
(Bioequivalent Study) และการทดสอบความคงสภาพของยา ในด้านเภสัชอุตสาหกรรมก็จะต้องให้ความสาคัญ
ต่อมาตรฐานสากล GMP PIC/S เพื่อที่จะได้ผลิตยาออกมาจาหน่ายได้ในประเทศคู่สัญญาทั้งหลายอีกด้วย

More Related Content

What's hot

การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยกก กอล์ฟ
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าจริงใจ รักจริง
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558Chuchai Sornchumni
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish BoneJakkrit Boonlee
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 

What's hot (20)

การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
 
แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558แบบสอบถามBrfss 2558
แบบสอบถามBrfss 2558
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Boneการวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา Fish Bone
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 

Similar to AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม

Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยายประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยายMay Reborn
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfPawachMetharattanara
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4Nopporn Thepsithar
 
Book 50 คำถาม
Book 50 คำถามBook 50 คำถาม
Book 50 คำถามsammychimrueng
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมAec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมKhommie Treeruk
 

Similar to AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม (9)

Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยายประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
 
Book 50 คำถาม
Book 50 คำถามBook 50 คำถาม
Book 50 คำถาม
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมAec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม

  • 1. AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม ภก.ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ที่ปรึกษาสมาคม จากการที่เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA)1 ได้ดาเนินการมาครบกาหนด เป้าหมายด้วยการลดอากรขาเข้าระหว่างประเทศสมาชิก 10 ประเทศเป็นร้อยละ 0 และยกเลิกการกีดกันทาง การค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTB) ในต้นปี 2553 นั้น ASEAN ได้กาหนดแผนการเพิ่มความร่วมมือ ภายใต้การรวมกลุ่มเศรษฐกิจ (Regional Economic Integration) ระหว่างกันในขั้นต่อไปให้มากขึ้น โดยได้ลง นามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) และ เห็นชอบให้มีการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC) ในปี 2558 ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก (Pillars) ได้แก่ 1. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) เพื่อให้ประเทศสมาชิกได้ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและเสริมสร้างความมั่นคง ซึ่งครอบคลุมถึงการเสริมสร้างสันติภาพ หลังการเกิดกรณีพิพาท การต่อต้านการก่อการร้ายและความมั่นคงทางทะเล 2. ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) เพื่อให้เป็น สังคมที่เอื้ออาทรต่อกัน แก้ไขปัญหาความยากจน เสริมสร้างความเสมอภาค รวมถึง การ ปราบปรามอาชญากรข้ามชาติ การป้องกันจัดการภัยพิบัติ การจัดการสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ความร่วมมือด้านสาธารณสุข การส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับและวงการ ต่างๆ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของกันและกัน และการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของ กันและกัน (การส่งเสริมด้านวัฒนธรรมและสนเทศ) และ 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เพื่อให้มีการค้าสินค้า บริการ การลงทุน ฯลฯ อย่างเสรี ซึ่งครอบคลุมกิจกรรมทางการค้า (Trade Activity) ได้แก่ การ เปิดตลาดการค้าสินค้า (Trade in Goods) การเปิดตลาดการค้าบริการ (Trade in Services) แรงงานมีฝีมือ (Skilled Labor or Professionals) การค้าและการลงทุน (Trade and Investment) และการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ (Free flow of Capital) ฯลฯ 1 การลดอากรขาเข้าให้เป็นร้อยละ 0 (Tariff Reduction or Elimination) ถือเป็นจุดเด่นของการเปิดการค้าเสรีสินค้าในระยะแรก ซึ่งมีหลักเกณฑ์การคัดเลือกและการจัดลาดับสินค้าที่นามาลดอากรก่อนหลัง ตามความพร้อมต่อการเปิดเสรีการค้าของไทย สาหรับสินค้าที่จะได้สิทธิลดอากรขาเข้าจะต้องเป็นสินค้าที่ผลิตในประเทศสมาชิกอาเซียนภายใต้เงื่อนไขการผลิตของกฎว่าด้วย ถิ่น (แหล่ง) กาเนิดสินค้า (Rules of Origin) ที่ตกลงไว้เพื่อประโยชน์แก่ประเทศสมาชิกเท่านั้น
  • 2. สาหรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ถือเป็นการดาเนินการต่อจาก AFTA ในระยะที่สองซึ่งจะ เน้นที่การเปิดเสรีบริการ2 และการลงทุนอย่างเท่าเทียมกันระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน โดยรัฐจะต้องมีหน้าที่ อานวยความสะดวกทางการค้าระหว่างประเทศได้แก่ การปรับกฎเกณฑ์การนาเข้าผ่านด่านศุลกากร เปิดให้ ลงทุนถือครองหุ้นส่วนข้างมากได้และจัดทาโครงสร้างพื้นฐานของ Logistics คือ ถนน รถไฟ สนามบิน และ เส้นทางการเดินเรือ เป็นต้น ทั้งนี้ อาเซียนได้ตกลงให้นิติบุคคลอาเซียนถือครองหุ้นส่วนข้างมากได้70% และ เปิดแรงงานมีฝีมือเป็นโครงการนาร่อง จานวน 7 วิชาชีพ (Professionals) ในปี 2558 (อีก 3 ปี) ได้แก่ คือ แพทย์ ทันตแพทย์พยาบาล วิศวกร สถาปนิก ช่างสารวจ และนักบัญชี โดยกาหนดให้ลงนามทาข้อตกลงยอมรับจัดการ ร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangement: MRA) มีผลทาให้ผู้ประกอบวิชาชีพทั้ง 7 ประเภท สามารถเข้าออก และทางานในประเทศสมาชิกอาเซียนได้โดยง่ายอย่างเท่าเทียมกัน สภาเภสัชกรรมได้รับรู้ถึงการเปิดเสรีอาชีพเภสัชกรรมอาเซียนในอนาคตหลังจากปี พ.ศ. 2558 ว่า อาชีพ เภสัชกรรมจัดเป็นการให้บริการประเภทแรงงานมีฝีมือ (Skilled Labor) ซึ่งจะต้องมีการลงนามทา MRA ว่าด้วย การเทียบเท่าคุณสมบัติและคุณภาพด้านวิชาชีพเภสัชกรรมของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน อันจะส่งผล กระทบอาชีพเภสัชกรรมของไทย เงื่อนไขภายใต้กฏหมาย และความรับผิดชอบของสภาเภสัชกรรมโดยตรง จาต้องมีขั้นตอนและวิธีดาเนินการที่โปร่งใสเป็นมาตรฐานกลางภายใต้กฏหมายในประเทศนั้นๆ ด้วย สาหรับ สาระสาคัญของ MRA จะประกอบด้วย 1. นิยามว่าด้วย ประเภทวิชาชีพเภสัชกรรม (ตาม พรบ. วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537) เช่น ผลิต ควบคุมคุณภาพ ขึ้นทะเบียน ให้คาแนะนาด้านการใช้ยา ฯลฯ ซึ่งอาจแบ่งตามประเภทของ สถานที่การให้บริการ เช่น ร้านขายยา โรงพยาบาล สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฯลฯ ตามแต่ที่ผู้แทนเจรจาวิชาชีพอาเซียนจะกาหนดขึ้นมาเป็นมาตรฐานร่วมกัน 2. คุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมภายใต้กฏหมายในประเทศ ที่จะนามาใช้เป็นข้อตกลงอาเซียนและเงื่อนไขที่บุคคลนั้นที่จะได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรมภายใต้กฏหมายในประเทศอาเซียนใดประเทศหนึ่ง 2 การเปิดเสรีการค้าบริการ (Trade in Services) เป็นเรื่องของการพิจารณาเปิดเสรีประเภทอาชีพการงาน การเข้ามาทางาน และ การลงทุนในประเทศเป้าหมาย ซึ่งมีรายละเอียด ขั้นตอน และการขออนุญาตเข้ามาทางาน ที่มีความซับซ้อนค่อนข้างมาก และ เป็นเรื่องที่ภาคเอกชนมีความรู้เชี่ยวชาญกว่าภาครัฐ หากขาดความรอบคอบในการพิจารณา อาจมีผลเสียหายร้ายแรง ที่ให้ ต่างชาติเข้ามาแย่งงานอาชีพของคนไทยได้โดยง่าย
  • 3. 3. ชื่อและองค์กรที่ทาหน้าที่เป็นตัวแทนในการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมอาเซียน (ASEAN Joint Committee on Pharmaceutical Services) ในการดูแลและรับผิดชอบในการอนุญาตให้ประกอบ วิชาชีพเภสัชกรรมในประเทศ (คือ สภาเภสัชกรรม และพรบ. วิชาชีพเภสัชกรรม พ.ศ. 2537) 4. รายละเอียดขั้นตอนของการขึ้นทะเบียนรับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมขององค์กร ดังกล่าว (สภาเภสัชกรรม) 5. ข้อยกเว้นเป็นกรณีพิเศษ (ถ้ามี) ที่อนุญาตให้ประกอบวิชสชีพเภสัชกรรมได้เป็นการฉุกเฉิน เฉพาะกิจ หรือชั่วคราว สาหรับอาชีพเภสัชกรรมชุมชนก็จะอยู่ภายใต้MRA นี้ ที่จะต้องเปิดเสรีในปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป การ เจรจาและจัดทา MRA จะต้องมีความเหมาะสม สามารถใช้เป็นเกณฑ์มาตรฐานในการประกอบวิชาชีพเภสัช กรรมของไทยในอาเซียนและของอาเซียนในประเทศไทยได้ไปพร้อมๆ กัน งานในส่วนนี้จะเป็นจุดยืนสาคัญที่ สภาเภสัชกรรมจะต้องมีและเตรียมความพร้อมไว้อย่างเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ ทั้งนี้เพื่อให้มีการเข้าออก ของเภสัชกรอาเซียนมีความเป็นสากล สมดุลกับความต้องการของประเทศในระยะยาวต่อไป การคาดหมายผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับวิชาชีพเภสัชกรรมชุมชนหลังปี พ.ศ. 2558 ในมิติของค่าจ้าง คุณภาพชีวิต และตาแหน่งงานแล้ว ผู้สมัครจะเลือกทาเล ที่อยู่เงินเดือน ค่าครองชีพที่ เหมาะสมกับความต้องการของตนเอง เมื่อ AEC เปิดให้สามารถไปประกอบอาชีพในประเทศสมาชิกอาเซียนได้ อย่างเสรี ก็จะมีการอพยพย้ายถิ่นฐานของบุคคลอันเป็นที่มาของปัญหา “สมองไหล” ไปสู่ประเทศที่มีการ “กินดี อยู่ดี” จึงเชื่อว่า3 หากคานึงถึง ภาษา สังคม วัฒนธรรม และให้ประเทศไทยเป็นฐานในภาพรวมแล้ว ประเทศที่อยู่ ในระดับที่สูงกว่าไทย คือ สิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย น่าจะเป็นแหล่งทากินที่เหมาะสมที่สุด ประเทศที่อยู่ใน ระดับเดียวกับไทย คือ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม จะไม่ค่อยมีการเข้าออกเพื่อแสวงหางานมากนัก ส่วนที่อยู่ในระดับต่ากว่า คือ ลาว กัมพูชา และเมียนม่าร์ น่าจะมีการย้ายเข้ามาอยู่ในประเทศไทยมากขึ้น เมื่อวิเคราะห์แต่ละอาชีพจะเห็นว่า สิงคโปร์ซึ่งขาดแคลนทันตแพทย์ได้ออกกฎหมายในลักษณะ เดียวกับสหรัฐอเมริกา เปิดโอกาสให้ทันตแพทย์ต่างชาติสามารถเลือกแปลงสัญชาติเป็นสิงคโปร์ได้ทันตแพทย์ จากสหภาพยุโรปจึงเลือกเข้าไปทางานในสิงคโปร์เป็นจานวนมาก ส่วนหนึ่งก็อาจจะใช้โอกาสนี้ขนขวายย้ายเข้า มาอยู่ในประเทศไทยภายใต้เงื่อน MRA ข้างต้นได้ทั้งนี้ทันตแพทย์ในไทยจะได้รับผลกระทบได้มากหรือน้อยก็ 3 อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา กรรมการผู้จัดการ บริษัท ออคิด สลิงชอท จากัด ที่ปรึกษางานด้านการพัฒนาองค์กร (ASTV ผู้จัดการ ออนไลน์ 30 กรกฎาคม 2555)
  • 4. ขึ้นอยู่กับโอกาสและการ “กินดีอยู่ดี” ของไทย (ทันตแพทย์คนเดียวสามารถเปิดคลินิกประกอบอาชีพได้ตลอด วันและมีรายได้ดี ขณะที่คนต่างชาติที่อยู่ในไทยต้องการทันตแพทย์ที่พูดภาษาอังกฤษได้) สาหรับอาชีพพยาบาลซึ่งประเทศไทยรวมทั้งทั่วโลกอยู่ในภาวะขาดแคลนมาอย่างต่อเนื่อง ทาให้ ประเทศที่ร่ารวยเจริญแล้วเป็นเป้าหมายหลักของการอพยพไปเพื่อการ “อยู่ดีกินดี” อันเป็นสาเหตุหลักที่พยาบาล ไทยขาดแคลนเพราะไปทางานในต่างประเทศที่มีรายได้ดีกว่า นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนไปทาอาชีพอื่น เช่น คลินิกเสริมความงาม หรือธุรกิจสินค้าเพื่อสุขภาพ ในทางกลับกัน การลงทุนขยายตัวของกิจการโรงพยาบาลไทย เพื่อให้เป็น “Medical Hub” “การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์4 ” หรือ “ทัวร์สุขภาพ” มารองรับกับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของ AEC ก็อาจจะเป็นตัวแปรในการเลือกที่ทางานได้ทางหนึ่งของการเปิดรับสมัครพยาบาลจาก ฟิลิปปินส์เนื่องจากสามารถสื่อกับคนไข้ด้วยภาษาอังกฤษได้ดีมาก (เครือ รพ. พญาไท และเปาโล เมโมเรียล) อีกอาชีพคือ วิศวกร ซึ่งน่าจะมีการไหลออกในลักษณะเดียวกับอาชีพพยาบาล เมื่อ AEC และประเทศ ต่างๆ ที่มีการพัฒนามากขึ้น ก็จะมีความต้องการวิศวกรทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นวิศวกรโยธา เครื่องกล ปิโตร เคมี ฯลฯ ในที่นี้จะเลือกวิเคราะห์เป็นกรณีที่มีการไหลออกอย่างรุนแรง ก็จะเป็นโอกาสที่จะมีวิศวกรจาก ประเทศในระดับที่ต่ากว่า ย้ายเข้ามาในไทยเพราะพูดภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้โดยเฉพาะงานในระดับที่ ต้องมีการสื่อสารกับคนงานชาวเมียนม่าร์ เวียดนาม ลาวและกัมพูชาด้วยกัน ก็น่าจะมีวิศวกรจากประเทศเหล่านี้ เข้ามาทางาน ในระยะยาวก็จะมีคนชาติเหล่านี้ก็อาจจะเลือกเข้ามาเรียนวิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ หรือวิศวกรรมอินเตอร์ฯ ที่เปิดสอนอยู่ในมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้การศึกษาเป็นสะพาน เข้าสู่การทางานในประเทศไทยง่ายขึ้นมากขึ้นได้เช่นกัน กรณีเช่นนี้ก็น่าจะเกิดได้กับอาชีพแพทย์ได้เช่นกัน สาหรับอาชีพเภสัชกรรมชุมชน ในภาพรวมจะมีผลกระทบมากน้อยนั้น น่าจะขึ้นอยู่กับ (1) นโยบาย และความเข้มงวดของสภาเภสัชกรรมและภาครัฐที่จะทาให้มีความต้องการเภสัชกรรมชุมชนมากขึ้น (2) รายได้ และ (3) ประเภทของร้านขายยา และทาเลที่ตั้ง หากนาไปเปรียบเทียบกับอาเซียน ก็น่าจะมีปัญหา “สมองไหล” ไปประเทศสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซีย เฉพาะคนที่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดี แต่จะดียิ่งกว่านี้หากสามารถ พูดภาษาบาฮาซา (Bahasa Melayu) ได้ด้วย (ภาษามาเลย์ มาลายูหรือ บาฮาซา เป็นภาษาของประเทศบรูไน มาเลเซีย ติมอร์ และอินโดนีเซีย ซึ่งถือว่า เป็นภาษาที่ชาวอาเซียนใช้สื่อสารมากที่สุดรองจากภาษาอังกฤษ) ทั้งนี้ ต้องคานึงถึงปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรมประกอบด้วย ส่วนปัญหาการเข้ามาในประเทศไทยของเภสัชกร อาเซียนก็น่าจะคาดหมายได้ว่า มาจากประเทศลาว เมียนม่าร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย ตามการ “อยู่ดี กินดี” ในประเทศไทย ทั้งนี้ก็ขึ้นกับ MRA และกฎหมายอนุญาตและการรับขึ้นทะเบียนของสภาเภสัชกรรม 4 การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์หมายถึง การที่พลเมืองที่อาศัยในประเทศหนึ่งเดินทางไปรับบริการทางการแพทย์ในอีกประเทศ หนึ่ง โดยมีเงื่อนไขว่า ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ต้องถูกกว่าและบริการต้องเท่าเทียมหรือดีกว่าที่ได้รับในประเทศของตัวเอง
  • 5. การเปิดการค้าเสรีกับอาชีพเภสัชกรรมของประเทศไทย การเปิดการค้าเสรีจะครอบคลุมกิจการและการค้าทุกประเภทโดยมีกรอบการค้าในวงกว้างเทียบเท่าซึ่ง ต้องไม่ขัดกับกฏเกณฑ์กติกาของ WTO สาหรับอาชีพเภสัชกรเป็นอาชีพที่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ หรือ Licensed Professional คือ ใบประกอบโรคศิลป ผลกระทบของการเปิดการค้าเสรีต่อเภสัชกรจึงต้องแบ่ง ออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้คือ (1) ตัวยาวัตถุดิบ ถึงแม้ว่าไทยจะยังไม่มีการพัฒนาในด้านนี้มากนัก แต่ก็มีแนวโน้มที่จะพัฒนาขึ้นมาได้ใน อนาคตเนื่องจากมีกิจกรรมนี้อยู่ในแผนพัฒนาอุตสาหกรรมยา วัตถุดิบที่กล่าวถึง เป็นได้ทั้งเคมีภัณฑ์ และสมุนไพรซึ่งเป็นวัตถุดิบต้นทางของอุตสาหกรรมยาและอุตสาหกรรมอื่นด้วย สาหรับอาชีพเภสัชกร ที่อยู่ในสาขานี้จะไม่มีปัญหาเนื่องจากยังมีความต้องการน้อย และต้องพึ่งพาอาชีพอื่นในการผลิตวัตถุดิบ ด้วย หากมีความต้องการผลิตวัตถุดิบขึ้นในประเทศผ่านการวิจัยพัฒนา นักวิชาการในสถาบันการศึกษา และจานวนเภสัชกรปริญญาสาขาคลินิคก็น่าที่จะมีการผลิตมารองรับได้ในที่สุด (2) อุตสาหกรรมผลิตยา โรงงานผลิตยาจะเป็นสาขาที่มีการเปลี่ยนแปลงภายใต้มาตรฐาน GMP และ PIC/S ส่งผลให้มีการเพิ่มจานวนเภสัชกรในโรงงานมากขึ้น ได้แก่ ฝ่ายขึ้นทะเบียนยา ฝ่ายควบคุมคุณภาพด้าน คลีนิค เช่น การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence) การบริหารยา (Drug Administration) เป็นต้น แต่ เนื่องจากการเปิดการค้าเสรีสินค้ายามีผลโดยตรงต่อภูมิศาสตร์ การขนส่ง ช่องทางการตลาด และมี กฏหมายควบคุมการผลิตยา อีกทั้งแหล่งที่มาของวัตถุดิบในกลุ่มที่ 1 ด้วย ทาให้โรงงานผลิตยา ต่างประเทศที่มีฐานการผลิตในประเทศไทย ย้ายฐานการผลิตไปประเทศอินเดียและอินโดนีเซียเกือบทั้ง หมดแล้ว (โรงงานผลิตยาจัดเป็นอุตสาหกรรม High Value to Weight Ratio หรือ Centralization จึงนิยม ขยายตลาดทางการค้าด้วยการตั้งสถานประกอบการที่มี (ก) ประชากรมาก (ข) ใกล้แหล่งวัตถุดิบ และ (ค) พื้นฐานความรู้ความสามารถของทรัพยากรมนุษย์) ประเด็นนี้ก็ส่งผลให้มีความต้องการเภสัชกรทั้ง กลุ่มลดลงหรือไม่ค่อยขยายตัวได้เช่นกัน ในทางกลับกันการเปิดตลาดยาในอาเซียนได้สาเร็จก็จะต้องมี จานวนเภสัชกรเพิ่มขึ้นมารองรับเพื่อการขยายตลาดส่งออกได้เช่นกัน แนวโน้มความต้องการสาขานี้จึง ขึ้นอยู่กับการลงทุนสร้างโรงงานผลิตยาทั้งในและต่างประเทศ (3) สินค้ายา จะได้ประโยชน์ด้านเพิ่มปริมาณการค้าในตลาดรวมที่ใหญ่ขึ้น และประชาชนจะมีทางเลือก มากขึ้นกับการซื้อยามารักษาโรคในราคาถูก (ภายใต้มาตรฐาน GMP) หมายถึง มียาชื่อสามัญนาเข้ามา แข่งขันด้านราคายาสาเร็จรูปที่รุนแรงขึ้นกว่าเดิมภายใต้GMP ที่เข้มงวดขึ้น (ของดีราคาถูก) ผลกระทบ จะได้กับอุตสาหกรรมผลิตยาที่จะต้องแข่งขัน หากประสบความสาเร็จในตลาดที่ใหญ่ขึ้นก็จะมีโอกาส สามารถดาเนินการวิจัยพัฒนายาขึ้นมาได้เรื่อยๆ แต่ถ้าหากไม่ประสบความสาเร็จก็จะต้องออกจากตลาด
  • 6. ไปในที่สุด สาหรับเภสัชกรในอุตสาหกรรมอาจมีจานวนที่เพิ่มขึ้นได้ตามจานวนและระดับของการ ปฎิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานดังนี้ a. เภสัชกรฝ่ายผลิตเพิ่มตามขนาดและจานวนของโรงงานที่มีอยู่ b. เภสัชกรฝ่ายควบคุมคุณภาพ เพิ่มตามขั้นตอนตรวจสอบตุณภาพภายใต้มาตรฐาน GMP สากล ขนาดและจานวนโรงงานที่มีอยู่เช่น การทดสอบความคงสภาพของยา (Stability Test) เป็นต้น c. เภสัชกรฝ่ายการตลาด เพิ่มตามการเปิดตลาดทั้งในและต่างประเทศ มีความต้องการด้านภาษา พูด ภาษาอังกฤษ และการเขียนหนังสืออันเป็นคุณสมบัติเพิ่มเติมจากการเป็นเภสัชกร d. เภสัชกรฝ่ายขึ้นทะเบียนยา เพิ่มตามจานวนทะเบียนที่มีมากขึ้นอย่างมากมายตามจานวนการ แข่งขันทางการค้ายา (4) ภาครัฐ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมในทุกๆ ด้านเมื่อมีการเปิดเสรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาระยะสั้น ได้แก่ มาตรฐานการรับขึ้นทะเบียนยา ความรวดเร็วที่จะอนุญาตให้มีทะเบียนยาเพื่อจัดจาหน่าย เนื่องจากเป็นการบริหารตามปีงบประมาณ ดังนั้นการวางแผนงานผิดพลาดก็จะทาให้โครงการล่าช้าไป ได้ถึง 1 ปีทีเดียว สาหรับเภสัชกรในภาครัฐก็จะต้องเพิ่มจานวนไปด้วยเพราะการเปิดการค้าเสรีนี้ (5) เภสัชกรโรงพยาบาล ในส่วนนี้คงไม่ได้รับผลกระทบมากนักเนื่องจากเป็นผู้จ่ายยาในลักษณะเดียวกับ ร้านขายยา แต่ความเปลี่ยนแปลงจะมาจากผลของการมีมาตรฐานทดสอบคุณภาพยาด้านชีวสมมูล (Bioequivalent Test) ด้วยทีมหมอและเภสัชกรมาดูแลอย่างใกล้ชิดสาหรับผู้ที่อาสาสมัครมาทดสอบ คุณภาพการรักษาของยาเทียบกับยาต้นแบบเพื่อนาข้อมูลไปขึ้นทะเบียนยา การดาเนินงานในลักษณะนี้ จึงต้องมีสถานประกอบการใกล้ๆ หรือติดกับโรงพยาบาล เพราะทีมหมอและเภสัชกรก็จะเป็นผู้ที่ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเป็นปกติอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ด้วยนโยบายการเป็น Medical Hub ด้วยการ ขยายกิจการและเพิ่มจานวนโรงพยาบาลเอกชนเพื่อรองรับการให้บริการ “ทัวร์สุขภาพ” ได้กลายเป็น ปัจจัยการขยายความต้องการของบุคลากรสาขาสุขภาพทั้งหมด หากเภสัชกรมีจานวนไม่พอกับความ ต้องการ ก็อาจจะมีการเปิดให้บุคลากรอาเซียนด้านสุขภาพเข้ามาทางานในประเทศได้เพราะสามารถ พูดภาษาอังกฤษได้ดีกว่าคนไทย (6) เภสัชกรในสถาบันการศึกษา สถาบันการศึกษาได้เพิ่มสัดส่วนจานวนเภสัชกรคลีนิคมากขึ้นกว่า เภสัชกรฝ่ายผลิตและควบคุมคุณภาพมาระยะหนึ่งแล้ว ซึ่งเป็นสัดส่วนที่รองรับการพัฒนาสภาพการ บริหารยาและสอดคล้องกับสภาวะการค้าเสรีที่มีผลด้านมาตรฐานคุณภาพที่ต้องการทางคลีนิคมากขึ้น การปรับตัวที่สอดคล้องอยู่แล้วจึงไม่น่าจะมีผลเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างไร
  • 7. (7) เภสัชกรไทยกับเภสัชกรเทศ การเปิดการค้าเสรีนั้นครอบคลุมการค้าสินค้า (Trade in Goods) และ การค้าบริการ (Trade in Service) อาชีพหรือวิชาชีพเภสัชกรจัดเป็นส่วนหนึ่งของการค้าบริการ ตั้งแต่ การศึกษา การให้คาปรึกษา การเปิดร้านขายยา ซึ่งล้วนเป็นการประกอบโรคศิลปทั้งสิ้น จัดเป็นเป็น อาชีพที่ต้องมีใบอนุญาต (Professional) ซึ่งรวมไปถึง แพทย์ทันตแพทย์สัตวแพทย์พยาบาล วิศวะ กรรม ฯลฯ การค้าเสรีด้านบริการจึงหมายถึง การเปิดให้บุคคลเหล่านี้ได้มาประกอบอาชีพในประเทศ คู่สัญญาได้อย่างเสรีภายใต้มาตรฐานแห่งวิชาชีพที่เท่ากัน (เป็นหน้าที่และนโยบายของสภาเภสัชกรรม) ประเด็นด้านการใช้ภาษาท้องถิ่นจึงกลายเป็นอุปสรรคด้านนี้ที่ผู้ประกอบการต้องเรียนรู้และมีความ เข้าใจให้ถ่องแท้ถึงจะสามารถให้บริการหรือเข้าทางานเต็มรูปแบบได้ไม่เช่นนั้น จะต้องจากัดอยู่ในวง แคบ เช่น การวิจัยพัฒนา การให้การศึกษา การผลิตยา เป็นต้น กล่าวโดยสรุปแล้ว การเปิดการค้าเสรี FTA จะมีผลกระทบด้านบวกต่อวิชาชีพเภสัชกรในด้านการเพิ่ม จานวนเภสัชกร ซึ่งอาจมาจากต่างประเทศได้ส่วนหนึ่ง ในทางกลับกันเภสัชกรไทยจะได้ไปประกอบวิชาชีพใน ต่างประเทศได้ง่ายขึ้น แต่ผลกระทบที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดจะมาจากจานวนสินค้ายาสามัญที่เพิ่มขึ้น ทาให้ต้องมีการเตรียมตัวในภาครัฐเพื่ออานวยความสะดวกทางการค้า (ขึ้นทะเบียนยา) การทดสอบชีวสมมูล (Bioequivalent Study) และการทดสอบความคงสภาพของยา ในด้านเภสัชอุตสาหกรรมก็จะต้องให้ความสาคัญ ต่อมาตรฐานสากล GMP PIC/S เพื่อที่จะได้ผลิตยาออกมาจาหน่ายได้ในประเทศคู่สัญญาทั้งหลายอีกด้วย