SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ASEAN Economic Community ( AEC )
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ASEAN Economic Community (AEC) หมาย
ถึงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีเป้าหมายส่งเสริมอาเซียนให้เป็น
ตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ
ลงทุน แรงงานมีฝีมือ และเงินลงทุนอย่างเสรี ภายในปี พ.ศ. 2558
(ค.ศ.2015)

ความเป็น มา

อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ ฯ เมื่อวันที่ 8
สิงหาคม 2510 มีประเทศสมาชิกรวม 10 ประเทศ แบ่งเป็นประเทศ
สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ คือ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย
มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย และประเทศสมาชิกอาเซียน
ใหม่ 4 ประเทศ คือกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม หรือเรียกสั้น ๆ
ว่า กลุ่ม CLMV ( Cambodia Laos Myanmar Vietnam )

วัต ถุป ระสงค์ข องการก่อ ตั้ง

อาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้าง
สันติภาพในภูมินาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อันนำามาซึ่งเสถียรภาพ
ทางการเมืองและความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรม และเมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันกา
ราค้ารุนแรงขึ้นทำาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความ
ร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น อย่างไรก็ตามก็ยังคง
ไว้ซึ่งวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการดังนี้
- ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมใน
ภูมิภาค
- รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค
- ใช้เป็นเวทีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในภูมิภาค

เป้า หมายของการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจ ของ
อาเซีย น

อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจภายในปี 2558
(ค.ศ. 2015) โดยมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน (Single market
and production base) และมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ
ลงทุนแรงงานฝึมืออย่างเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น
(free flows of goods, services, investment, and skilled labors,
and free flow of capital)

ความคืบ หน้า การจัด ตั้ง ประชาคม
เศรษฐกิจ อาเซีย น

ความเป็น มา
ในการประชุมสุดยอดอาเซียนเมื่อเดือนตุลาคม 2546 ณ
เกาะบาหลี ผู้นำาอาเซียนประกาศเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ของอาเซียน (แถลงการณ์บาหลี ฉบับที่ 2) คือการพัฒนาสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)
ภายในปี ค.ศ. 2020 โดยมีเสาหลักอีก 2 ด้าน คือด้านความมั่นคง
และสังคมวัฒนธรรม ซึ่งจะประกอบกันเป็นประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community) ภายในปี ค.ศ. 2020 และต่อมาได้เร่งเป้า
หมายเป็นปี ค.ศ. 2015

เพื่อเร่งรัดการจัดตั้ง AEC ที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ
อาเซียนเมื่อเดือนสิงหาคม 2549 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศ
มาเลเซีย เห็นชอบที่จะจัดทำาแผนงานเชิงบูรณาการด้านเศรษฐกิจ
โดยระบุ
เป้าหมายและกรอบระยะเวลาในการดำาเนินมาตรการต่าง ๆ สำาหรับ
ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศไว้ชัดเจน
อาเซียนได้จัดทำาแผนงานดังกล่าวแล้วเสร็จและมีผลใช้
บังคับตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2550 โดยมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมให้
อาเซียนมีคุณลักษณะที่สำาคัญ คือ
1 การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน มีการเคลื่อนย้าย
บริการ การลงทุนและแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และเงินทุน
อย่างเสรีมากขึ้น รวมทั้งการส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขา
สำาคัญของอาเซียนให้เป็นรูปธรรม
2 การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง มีการ
ประสานนโยบายที่จะส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น
นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สิน
ทางปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และนโยบายภาษี รวมถึง
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง การเงิน
เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน
3 การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน ส่ง
เสริมการพัฒนาและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการ
แข่งขันของ SME และการลดช่องว่างการพัฒนาทาง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนผ่านโครงการต่าง
ๆ เช่น โครงการริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน
(Initiative for ASEAN Integration : IAI)
4 การเป็นภูมิภาคที่บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการ
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ
ภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน
เช่นการจัดทำาเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา
ต่าง ๆ เป็นต้น รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายในด้าน
การผลิต/จำาหน่ายภายในภูมิภาคให้เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ
โลก
สถานะล่า สุด
ณ ปัจ จุบ ัน อาเซีย นได้ด ำา เนิน งานตามแผนงานการ
จัด ตั้ง AEC มีค วามคืบ หน้า ที่ส ำา คัญ โดยเฉพาะเรื่อ งการเป็น
ตลาดและฐานการผลิต เดีย วกัน ดัง นี้
การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 สมาชิกอาเซียนเดิม 6
ประเทศ (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย)
ได้ลดภาษีนำาเข้าสินค้าจากประเทศสมาชิกอาเซียน เป็น 0 % และ
CLMV ได้ลดภาษีสินค้ามาอยู่ที่ระดับ 0 – 5 % แล้ว
มีการทบทวนและปรับปรุงกฎว่าด้วยถิ่นกำาเนิดสินค้าของ
อาเซียนให้ง่าย ขึน เพื่ออำานวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายสินค้า
้
และสนับสนุนให้ภาคเอกชนใช้สิทธิประโยชน์จากเขตการค้าเสรี
อาเซียนเพิ่มขึ้น
สมาชิกอาเซียน 5 ประเทศ (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย
สิงคโปร์ และไทย) ได้ยกเลิกมาตรการที่เป็นการกีดกันทางการค้าที่
มิใช่ภาษีหมดแล้ว ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ส่วนฟิลิปปินส์จะ
ยกเลิกภายใน 1 มกราคม 2555 และ CIMV ภายใน 1 มกราคม
2558
ได้จัดทำา ASEAN Trade Facilitation Framework ซึ่ง
เป็นกรอบการดำาเนินงานด้านการอำานวยความสะถดวกทางการค้า
รวมถึงแผนงานเพื่อกำาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค
ทางการค้าที่มิใช่ภาษี ได้แก่ พิธีการศุลกากร กระบวนการทาบการ
ค้า มาตรฐานและการรับรอง มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช
ASEAN Single Window และ ASEAN Trade Repository เป็นต้น

การเคลื่อ นย้า ยบริก ารอย่า งเสรี
สรุปผลการเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการไปแล้ว 5 รอบ
โดยจัดทำาข้อผูกพันการเปิดตลาดการค้าบริการไป 7 ชุด ครอบคลุม
ทั้งด้านการเปิดตลาด (Market Access) และการให้การปฏิบัติเยี่ยง
คนชาติ (National Treatment : NT) โดยมีเป้าหมายการเปิดเสรี
สาขาบริการสำาคัญ 4 สาขา ได้แก่
ท่องเที่ยว ICT สุขภาพ และสาขาการบิน ภายในปี 2553 (ค.ศ.
2010) ส่วนสาขาโลจิสติกส์ ภายในปี 2556 (2013) สำาหรับสาขา
บริการอื่น ๆ ได้กำาหนดเป้าหมายไว้ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015)
ณ ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการจัดทำาข้อผูกพัน ฯ ชุดที่ 8
โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามพิธีสารเพื่อ อนุมัติขอผูกพัน
้
ชุดที่ 8 ภายใต้ ASEAN Framework Agreement on Services
( AFAS ) ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 และการ
ประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 ณ ประเทศ
เวียดนาม
การเคลื่อ นย้า ยการลงทุน อย่า งเสรี
ได้ทบทวนกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน
(Framework Agreement of the ASEAN Investment Area :
AIA) และความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน หรือ
ASEAN IGA (ASEAN Agreement for the promotion and
protection of Investment ) และได้ปรับปรุงผนวกความตกลงทั้ง
สอบฉบับเป็น “ความตกลงว่าด้วยการลงทุนเต็มรูปแบบของอาเซียน
(ASEAN Comprehensive Investment Agreement ACIA) “ มี
สาระสำาคัญ 4 ด้าน คือเปิดเสรี การส่งเสริม การอำานวยความสะดวก
และการคุ้มครองการลงทุน โดยครอบคลุมทั้งการลงทุนทางตรง
(Foreign Direct Investment FDI) และการลงทุนในหลักทรัพย์
(Portfolio Investment )
ณ ปัจจุบัน สมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ (ยกเว้น
อินโดนีเซีย และไทย) ได้ให้สัตยาบันความตกลงด้านการลงทุน
อาเซียน (ASEAN Comprehensive Agreement on Investment :
ACIA) แล้ว
ขณะนี้อินโดนีเซียอยู่ระหว่างการจัดทำารายการข้อสงวน
(Reservation List) และไทยอยู่ระหว่างการดำาเนินการเพื่อขอความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอรัฐสภาพิจารณาให้ความเห็น
ชอบ Reservation List และการให้สัตยาบัน
การเคลื่อ นย้า ยเงิน ทุน อย่า งเสรีม ากขึ้น
ดำาเนินงานตามแผนงานการรวมกลุ่มทางการเงินและการ
คลังของอาเซียน มีสาระสำาคัญ 3 ด้าน คือ
1 การเปิดเสรีบริการทางการเงิน (Financial
Liberalization) เจรจาทำาข้อผูกพันการเปิดตลาดบริการ
ทางการเงินไปแล้ว 5 รอบ
2 การเปิดเสรีบัญชีทุน (Capital Account
Liberalization) มีการผ่อนปรนข้อจำากัดในการเคลื่อน
ย้ายเงินทุน รวมถึงบัญชีเดินสะพัด และการลงทุนใน
หลักทรัพย์ตามความเหมาะสม
3 การพัฒนาตลาดทุน (Capital Market Development)
เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและเชื่อมโยงตลาดทุนใน
อาเซียน
การเคลื่อ นย้า ยแรงงานฝีม ือ อย่า งเสรี
มีการจัดทำา และลงนามข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วมใน
คุณสมบัติวิชาชีพ สำาหรับ 7 สาขา ได้แก่ แพทย์
ทันตแพทย์ นักบัญชี วิศวกร พยาบาล สถาปนิก และนัก
สำารวจ
ขณะนี้อยู่ระหว่างดำาเนินการให้มีผลใช้บังคับ

----------------------------------------------

เดินหน้าเต็มตัวมุ่งหน้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

“AEC Blueprint พิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้ง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”

เพื่อไปสู่เป้าหมายการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียน
ได้จัดทำาแผนงานในเชิงบูรณาการการดำาเนินงานในด้านเศรษฐกิจ
ต่างๆ เพื่อให้เห็นการดำาเนินงานในภาพรวมที่จะนำาไปสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนภายในปี ค.ศ.2015 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งถ้าหาก
เปรียบเทียบกับการสร้างบ้านแผนงานนี้ก็เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวที่
จะช่วยบอกองค์ประกอบและรูปร่างหน้าตาของบ้านหลังนี้ว่า เมื่อ
สร้างเสร็จแล้วจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร
ทำาไมต้องจัดทำา AEC Blueprint
เพื่อกำาหนดทิศทางการดำาเนินงานในด้านเศรษฐกิจให้ชัดเจน
ตามกรอบระยะเวลาที่กำาหนดจนบรรลุเป้าหมาย AEC ในปี
ค.ศ.2015
เพื่อสร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกที่จะดำาเนินการไป
สู่เป้าหมายดังกล่าวร่วมกัน
องค์ประกอบสำาคัญของ AEC Blueprint
การเป็น
ตลาด
เดียวและ

การสร้างขีด
ความ
สามารถใน
การแข่งขัน

การพัฒนา
เศรษฐกิจ
อย่างเสมอ

การบูรณา
การเข้ากับ
เศรษฐกิจ
แผนงานที่จะส่ง
เสริมให้มีการ
เคลื่อนย้าย
สินค้าบริการ
การลงทุน
แรงงานมีฝีมือ
และการเคลื่อน

แผนงานที่จะส่ง
เสริมการสร้าง
ความสามารถใน
ด้านต่างๆเช่น
นโยบายการ
แข่งขัน สิทธิใน
ทรัพย์สินทาง
ปัญญา นโยบาย
ภาษีและการ
พัฒนา
โครงสร้างพื้น
ฐาน (การเงิน

แผนงานที่จะส่ง
เสริมการรวม
กลุ่มทาง
เศรษฐกิจของ
สมาชิกและลด
ช่องว่างของ
ระดับการพัฒนา
ระหว่างสมาชิก
เก่าและใหม่และ
การสนับสนุน
การพัฒนา
SMEs

แผนงานที่จะส่ง
เสริมการรวม
กลุ่มเข้ากับ
ประชาคมโลก
โดยเน้นการปรับ
ประสาน
นโยบาย
เศรษฐกิจของ
อาเซียนกับ
ประเทศภายนอก
ภูมิภาค เช่น
การจัดทำาเขต

สำาหรับองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ การปรับปรุงกลไกด้านสถาบันโดย
การจัดตั้งกลไกการหารือระดับสูง ประกอบด้วย ผู้แทนระดับรัฐมนตรี
ทุกสาขาที่เกี่ยวข้องรวมทั้งภาคเอกชน อาเซียน ตลอดจนการพัฒนา
ระบบกลไกการตรวจสอบติดตามผลการดำาเนินงาน ( Peer
Review ) และจัดหาแหล่งทรัพยากรสำาหรับการดำาเนินงานกิจกรรม
ต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือน
พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศ สิงคโปร์ ผู้นำาอาเซียนได้ลงนามใน
ปฏิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย
ประกอบด้วยแผนการดำาเนินงาน ( AEC Blueprint ) และตารางเวลา
ดำาเนินงาน ( Strategic Schedule ) ซึ่งเป็นเอกสารผนวก จึงนับได้
ว่าขณะนี้อาเซียนได้ทำาพิมพ์เขียวของการดำาเนินงานไปสู่การเป็น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ขั้นต่อไป คือ การเริ่ม
ลงมือดำาเนินงานตามแผนงานในด้านต่างๆเพื่อร่วมกันสร้าง
ประชาคมที่เป็นหนึ่งเดียวกันของอาเซียนต่อไป
ทำำอย่ำงไรหำกบำงประเทศไม่สำมำรถปฏิบัติตำมแผนงำนได้
ในกำรดำำเนินงำนสำมำรถกำำหนดให้มีควำมยืดหยุ่นในแต่ละ
เรื่องไว้ล่วงหน้ำได้ ( pre – agree flexibilities ) แต่เมื่อตกลงกันได้
แล้ว ประเทศสมำชิกจะต้องยึดถือและปฏิบัติตำมพันธกรณีที่ได้ตกลง
กันอย่ำงเคร่งครัดด้วย
กำรติดตำมวัดผลกำรดำำเนินงำน
เพื่อให้กำรดำำเนินงำนเป็นไปตำมแผนงำนและกำำหนดเวลำที่
ตั้งใจไว้ อำเซียนจึงตกลงที่จัดทำำเครื่องมือติดตำมวัดผลกำรดำำเนิน
กำรตำม AEC Blueprint ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องมือกลไกในกำรติดตำม
ควำมคืบหน้ำและประเมินผลกำรดำำเนินงำนในด้ำนต่ำงๆของประเทศ
สมำชิกเป็นรำยประเทศรวมทั้งภำพรวมกำรดำำเนินงำนในระดับ
ภูมิภำคด้วย โดยจะเสนอ AEC Scorecard ให้ผู้นำำอำเซียนทรำบ
ในกำรประชุมสุดยอดอำเซียนทุกปีด้วย
ควำมเชื่อมโยงของ AEC Scorecard กับกฎบัตรอำเซียน
กฎบัตรอำเซียน เป็นเสมือนธรรมนูญของอำเซียนซึ่งวำงกฎ
เกณฑ์สำำหรับประชำคมอำเซียน ที่ประกอบด้วย 3 เสำหลัก ได้แก่
ควำมมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยในส่วนของเสำ
เศรษฐกิจจะมี AEC Scorecard เป็นแผนงำนที่อำเซียนต้องดำำเนิน
กำรเพื่อให้บรรลุกำรเป็นประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน ในปี 2558
โครงสร้ำ งประชำคมเศรษฐกิจ
อำเซีย น
ประชำคมเศรษฐกิจ อำเซีย นภำยในปี 2558
ยุท ธศำสตร์ก ำรดำำ เนิน
งำน
ยุท ธศำสตร์ก ำร
ดำำ เนิน งำน

มีค วำมสำมำรถ
แข่ง ขัน สูง

ยืด หยุ่น ได้

ไปสู่ก ำรเป็น ประชำคมเศรษฐ
อำเซีย น (AEC)

สร้ำ งควำมเท่ำ เทีย ม
ในกำรพัฒ นำ
เศรษฐกิจ ระหว่ำ ง
สมำชิก อำเซีย น

ส่ง เสริม
กลุม อำ
่
เข้ำ กับ ป
โล

กรอบนโยบำยกำร
ประสำ
แข่ง ขัน
ลดช่อ งว่ำ งกำรพัฒ นำเศรษฐกิจดำำ เนิน น
ทรัพ ย์ส ิน
เศรษฐ
ทำงปัญ ญำ
ประเท
พัฒ นำ SME
กุญ แจสำำ คัญ สู่ก ำรเป็น ประชำ
กำรพัฒ นำ
อำเซีย น
เศรษฐกิจ อำเซีย น ค.ศ.2015
โครงสร้ำ งพื้น
ภ
เจตนำรมณ์ท ำงกำรเมืกำรผล
อง
ฐำน
จัด จำำ
ำ
ควำมร่ว มมือ ในกำรเคลื่อ นย้ำห
ษี
ทรัพ ยำกร
พำณิช ย์
กำรดำำ เนิน กำรตำมพัน ธกรณี
อิเ ล็ก ทรอนิก ส์
กำรเสริม สร้ำ งขีด ควำมสำมำร
สร้ำ งองค์ก รให้เ ข้ม แข็ง
กำรหำรือ ระหว่ำ งภำครัฐ และภ
กำรรวมกลุม สำขำสำำ คัญ ( ปัจ จุบ น มี 12 สำขำ )
่
ั
เอกชน
เคลือ นย้ำ ย
่
สิน ค้ำ เสรี
เคลือ นย้ำ ย
่
บริก ำรเสรี
เคลือ นย้ำ ย
่
กำรลงทุน เสรี
เคลื่อ นย้ำ ยเงิน
ทุน เสรีย ิ่ง ขึน
้
เคลื่อ นย้ำ ย
แรงงำนทัก ษะ
เสรี

พัฒ นำธุร กิจ ระดับ กลำง
และระดับ เล็ก

พัฒ นำทรัพ ยำกร
บุค คล

วิจ ย และ
ั
พัฒ นำ
เคลื่อ นย้ำ ยสิน ค้ำ เสรี
กำรอำำ นวยควำม

เปิด เสรี
สะดวก
ลดอุป สรรคด้ำ นภำษี
บูร ณกำรพิธ ีก ำร
เคลื่อ นย้ำ ยบริก ำรเสรี
ศุล กำกร
เปิด เสรี
กำรอำำ นวยควำมสะดวก
เปิด ตลำดอย่ำ งไม่ม ีเ งือ นไข จัด ทำำ ควำมตกลงยอมรับ รวมในบริก ำร
่
วิช ำชีพ
ปฏิบ ัต ิส มำชิก อย่ำ งเท่ำ เทีย ม จัด ทำำ โครงกำรแลกเปลี่ย นบุค ลำกร
เคลื่อ นย้ำ ยกำรลงทุน เสรี
วิชด เสรี
เปิ ำชีพ
กำรอำำ นวยควำมสะดวก
ทุก อุต สำหกรรม
สร้ำ งควำมโปร่ง ใสด้ำ นกฎระเบีย บและขั้น
ตอนกำรลงทุน
บริก ำรที่เ กี่ย วเนื่อ งกับ สนับ สนุน กำรส่ง เสริม กำรลงทุน ร่ว มกัน
เคลื่อ นย้ำ ยเงิน ทุน เสรีย ิ่ง ขึ้น
ภำคอุต สำหกรรม
เปิด เสรี
กำรอำำ นวยควำมสะดวก
ผ่อ นคลำยข้อ กีด กัน กำรไหลเวีย นเงิน ทุน
แลกเปลี่ย นข้อ มูล และ
กำรศึก ษำผลกระทบ ่อ นย้ำ ยแรงงำนทัก ษะเสรี
เคลื
ส่งด เสรี กำรเชื่อ มโยงตลำดหลัก ทรัำ นวยควำมสะดวก
เสริม
เปิ
กำรอำ พ ย์
ยกเลิก กำรกีด กัน กำรจ้ำ งงำน
ปรับ ประสำนมำตรฐำนด้ำ น
กำรศึก ษำและฝึก งำน
สร้ำ งควำมเข้ำ ง ขัน
กรอบนโยบำยกำรแข่ใจร่ว มด้ำ นกำรฝึก อบรมระดับ
อำชี นพฤติก รรมที่ก ด กัน กำรแข่ง ขัน สนับ สนุน ให้
ต่อ ต้ำว ะ
ี
ทรัพ ย์ส ิน ทำงปัง ขัน
เกิด เครือ ข่ำ ยองค์ก รดูแ ลกำรแข่ญ ญำ
ส่ง เสริม ควำมคิด ริเ ริ่ม สร้ำ งสรรค์ ให้ค วำมรูด ้ำ นลิข สิท ธิ์
้
เป็น พัน ธมิตกำรพัฒ นำโครงสร้ำ งพื้น ฐำน
รกับ องค์ก รที่เ กี่ย วข้อ ง
ด้ำ นขนส่ง
ข้อ มูล ข่ำ วสำร
พลัง งำน
ภำษี
และกำรเงิน
นิย ำมภำษีร ่ว ม หลีก เลี่ย งกำรเก็บ ภำษีซ ำ้ำ ซ้อ น ควำม
ตกลงว่ำ ด้ว ยภำษีซ ำ้ำ พำณิช ย์อ ิเ ล็ก ทรอนิก ส์
ซ้อ นของอำเซีย น
ปรับ ประสำนกรอบกฎหมำยเกี่ย วกับ กำรทำำ สัญ ญำผ่ำ นสื่อ
ลดช่ีก ำรระงับ ข้อ พิ นำเศรษฐกิจ
อิเ ล็ก ทรอนิก ส์แ ละวิธ อ งว่ำ งกำรพัฒพ ำท
จัด ทำำ โครงกำรเพื่อ ลดช่อ งว่ำ งระหว่ำ งอำเซีย นเดิม กับ กัม พูช ำ ลำว
พัฒ นำ IAI
พม่ำ และเวีย ดนำม ภำยใต้โ ครงกำร SME
พัฒ นำส่ง เสริม วิส ำหกิจ ขนำดกลำงและขนำดย่อ ม
ประสำนกำรดำำ เนิน นโยบำยเศรษฐกิจ กับ ประเทศ
นอกอำเซีย น
สร้ำ งแนวทำงกำรเจรจำเขตกำรค้ำ เสรีใ นภูม ภ ำค
ิ
เสริม สร้ำ งศัก ยภำพในกำรเจรจำเขตกำรค้ำ เสรี จำำ หน่ำ ย
เข้ำ ร่ว มเครือ ข่ำ ยกำรผลิต และจัด
สองฝ่ำ ย ค่ำ เพิ่ม ประสิท ธิภ ำพกำรผลิต ตลอดจนกำรวิจ ัย และพัฒ นำ
สร้ำ งมูล
เชิง พำณิช ย์
ใช้แ นวทำงกำรปฏิบ ัต ท ี่เ ป็น เลิศ ด้ำ นกำรผลิต และกำรตลำด
ิ
เคลื่อ นย้า ยสิน ค้า เสรี
การอำา นวยความ

เปิด เสรี
สะดวก
ลดอุป สรรคด้า นภาษี
บูร ณการพิธ ีก าร
เคลื่อ นย้า ยบริก ารเสรี
ศุล กากร
เปิด เสรี
การอำา นวยความสะดวก
เปิด ตลาดอย่า งไม่ม ีเ งือ นไข จัด ทำา ความตกลงยอมรับ รวมในบริก าร
่
วิช าชีพ
ปฏิบ ัต ิส มาชิก อย่า งเท่า เทีย ม จัด ทำา โครงการแลกเปลี่ย นบุค ลากร
เคลื่อ นย้า ยการลงทุน เสรี
วิชด เสรี
เปิ าชีพ
การอำา นวยความสะดวก
ทุก อุต สาหกรรม
สร้า งความโปร่ง ใสด้า นกฎระเบีย บและขั้น
ตอนการลงทุน
บริก ารที่เ กี่ย วเนื่อ งกับ สนับ สนุน การส่ง เสริม การลงทุน ร่ว มกัน
เคลื่อ นย้า ยเงิน ทุน เสรีย ิ่ง ขึ้น
ภาคอุต สาหกรรม
เปิด เสรี
การอำา นวยความสะดวก
ผ่อ นคลายข้อ กีด กัน การไหลเวีย นเงิน ทุน
แลกเปลี่ย นข้อ มูล และ
การศึก ษาผลกระทบ ่อ นย้า ยแรงงานทัก ษะเสรี
เคลื
ส่งด เสรี การเชื่อ มโยงตลาดหลัก ทรัา นวยความสะดวก
เสริม
เปิ
การอำ พ ย์
ยกเลิก การกีด กัน การจ้า งงาน
ปรับ ประสานมาตรฐานด้า น
การศึก ษาและฝึก งาน
สร้า งความเข้า ง ขัน
กรอบนโยบายการแข่ใจร่ว มด้า นการฝึก อบรมระดับ
อาชี นพฤติก รรมที่ก ด กัน การแข่ง ขัน สนับ สนุน ให้
ต่อ ต้าว ะ
ี
ทรัพ ย์ส ิน ทางปัง ขัน
เกิด เครือ ข่า ยองค์ก รดูแ ลการแข่ญ ญา
ส่ง เสริม ความคิด ริเ ริ่ม สร้า งสรรค์ ให้ค วามรูด ้า นลิข สิท ธิ์
้
เป็น พัน ธมิตการพัฒ นาโครงสร้า งพื้น ฐาน
รกับ องค์ก รที่เ กี่ย วข้อ ง
ด้า นขนส่ง
ข้อ มูล ข่า วสาร
พลัง งาน
ภาษี
และการเงิน
นิย ามภาษีร ่ว ม หลีก เลี่ย งการเก็บ ภาษีซ ำ้า ซ้อ น ความ
ตกลงว่า ด้ว ยภาษีซ ำ้า พาณิช ย์อ ิเ ล็ก ทรอนิก ส์
ซ้อ นของอาเซีย น
ปรับ ประสานกรอบกฎหมายเกี่ย วกับ การทำา สัญ ญาผ่า นสื่อ
ลดช่ีก ารระงับ ข้อ พิ นาเศรษฐกิจ
อิเ ล็ก ทรอนิก ส์แ ละวิธ อ งว่า งการพัฒพ าท
จัด ทำา โครงการเพื่อ ลดช่อ งว่า งระหว่า งอาเซีย นเดิม กับ กัม พูช า ลาว
พัฒ นา IAI
พม่า และเวีย ดนาม ภายใต้โ ครงการ SME
พัฒ นาส่ง เสริม วิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ ม
ประสานการดำา เนิน นโยบายเศรษฐกิจ กับ ประเทศ
นอกอาเซีย น
สร้า งแนวทางการเจรจาเขตการค้า เสรีใ นภูม ภ าค
ิ
เสริม สร้า งศัก ยภาพในการเจรจาเขตการค้า เสรี จำา หน่า ย
เข้า ร่ว มเครือ ข่า ยการผลิต และจัด
สองฝ่า ย ค่า เพิ่ม ประสิท ธิภ าพการผลิต ตลอดจนการวิจ ัย และพัฒ นา
สร้า งมูล
เชิง พาณิช ย์
ใช้แ นวทางการปฏิบ ัต ท ี่เ ป็น เลิศ ด้า นการผลิต และการตลาด
ิ

More Related Content

Similar to ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย

ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศาถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศาPrachoom Rangkasikorn
 
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405noo Carzy
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนkhanittawan
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนnook555
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8Chuta Tharachai
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfPawachMetharattanara
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2วิระศักดิ์ บัวคำ
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 
What is AEC 2015
What is AEC 2015What is AEC 2015
What is AEC 2015eXscript
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 

Similar to ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย (20)

AEC_360.pdf
AEC_360.pdfAEC_360.pdf
AEC_360.pdf
 
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cdถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
 
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศาถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
 
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
Asean...pongsak
Asean...pongsakAsean...pongsak
Asean...pongsak
 
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2
 
Aec chotima
Aec chotimaAec chotima
Aec chotima
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
What is AEC 2015
What is AEC 2015What is AEC 2015
What is AEC 2015
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย

  • 1. ASEAN Economic Community ( AEC ) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) หมาย ถึงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีเป้าหมายส่งเสริมอาเซียนให้เป็น ตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ ลงทุน แรงงานมีฝีมือ และเงินลงทุนอย่างเสรี ภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ.2015) ความเป็น มา อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ ฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 มีประเทศสมาชิกรวม 10 ประเทศ แบ่งเป็นประเทศ สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ คือ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย และประเทศสมาชิกอาเซียน ใหม่ 4 ประเทศ คือกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กลุ่ม CLMV ( Cambodia Laos Myanmar Vietnam ) วัต ถุป ระสงค์ข องการก่อ ตั้ง อาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้าง สันติภาพในภูมินาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อันนำามาซึ่งเสถียรภาพ ทางการเมืองและความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และเมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันกา ราค้ารุนแรงขึ้นทำาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความ ร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น อย่างไรก็ตามก็ยังคง ไว้ซึ่งวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการดังนี้ - ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมใน ภูมิภาค - รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค - ใช้เป็นเวทีแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในภูมิภาค เป้า หมายของการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจ ของ อาเซีย น อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน (Single market and production base) และมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ ลงทุนแรงงานฝึมืออย่างเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น
  • 2. (free flows of goods, services, investment, and skilled labors, and free flow of capital) ความคืบ หน้า การจัด ตั้ง ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซีย น ความเป็น มา ในการประชุมสุดยอดอาเซียนเมื่อเดือนตุลาคม 2546 ณ เกาะบาหลี ผู้นำาอาเซียนประกาศเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของอาเซียน (แถลงการณ์บาหลี ฉบับที่ 2) คือการพัฒนาสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ภายในปี ค.ศ. 2020 โดยมีเสาหลักอีก 2 ด้าน คือด้านความมั่นคง และสังคมวัฒนธรรม ซึ่งจะประกอบกันเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี ค.ศ. 2020 และต่อมาได้เร่งเป้า หมายเป็นปี ค.ศ. 2015 เพื่อเร่งรัดการจัดตั้ง AEC ที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ อาเซียนเมื่อเดือนสิงหาคม 2549 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศ มาเลเซีย เห็นชอบที่จะจัดทำาแผนงานเชิงบูรณาการด้านเศรษฐกิจ โดยระบุ เป้าหมายและกรอบระยะเวลาในการดำาเนินมาตรการต่าง ๆ สำาหรับ ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศไว้ชัดเจน อาเซียนได้จัดทำาแผนงานดังกล่าวแล้วเสร็จและมีผลใช้ บังคับตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2550 โดยมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมให้ อาเซียนมีคุณลักษณะที่สำาคัญ คือ 1 การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน มีการเคลื่อนย้าย บริการ การลงทุนและแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และเงินทุน อย่างเสรีมากขึ้น รวมทั้งการส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขา สำาคัญของอาเซียนให้เป็นรูปธรรม 2 การเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง มีการ ประสานนโยบายที่จะส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สิน ทางปัญญา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และนโยบายภาษี รวมถึง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง การเงิน เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน 3 การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน ส่ง เสริมการพัฒนาและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของ SME และการลดช่องว่างการพัฒนาทาง
  • 3. เศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration : IAI) 4 การเป็นภูมิภาคที่บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน เช่นการจัดทำาเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา ต่าง ๆ เป็นต้น รวมทั้งการส่งเสริมการสร้างเครือข่ายในด้าน การผลิต/จำาหน่ายภายในภูมิภาคให้เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ โลก สถานะล่า สุด ณ ปัจ จุบ ัน อาเซีย นได้ด ำา เนิน งานตามแผนงานการ จัด ตั้ง AEC มีค วามคืบ หน้า ที่ส ำา คัญ โดยเฉพาะเรื่อ งการเป็น ตลาดและฐานการผลิต เดีย วกัน ดัง นี้ การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย) ได้ลดภาษีนำาเข้าสินค้าจากประเทศสมาชิกอาเซียน เป็น 0 % และ CLMV ได้ลดภาษีสินค้ามาอยู่ที่ระดับ 0 – 5 % แล้ว มีการทบทวนและปรับปรุงกฎว่าด้วยถิ่นกำาเนิดสินค้าของ อาเซียนให้ง่าย ขึน เพื่ออำานวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายสินค้า ้ และสนับสนุนให้ภาคเอกชนใช้สิทธิประโยชน์จากเขตการค้าเสรี อาเซียนเพิ่มขึ้น สมาชิกอาเซียน 5 ประเทศ (บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย) ได้ยกเลิกมาตรการที่เป็นการกีดกันทางการค้าที่ มิใช่ภาษีหมดแล้ว ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ส่วนฟิลิปปินส์จะ ยกเลิกภายใน 1 มกราคม 2555 และ CIMV ภายใน 1 มกราคม 2558 ได้จัดทำา ASEAN Trade Facilitation Framework ซึ่ง เป็นกรอบการดำาเนินงานด้านการอำานวยความสะถดวกทางการค้า รวมถึงแผนงานเพื่อกำาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค ทางการค้าที่มิใช่ภาษี ได้แก่ พิธีการศุลกากร กระบวนการทาบการ ค้า มาตรฐานและการรับรอง มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ASEAN Single Window และ ASEAN Trade Repository เป็นต้น การเคลื่อ นย้า ยบริก ารอย่า งเสรี
  • 4. สรุปผลการเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการไปแล้ว 5 รอบ โดยจัดทำาข้อผูกพันการเปิดตลาดการค้าบริการไป 7 ชุด ครอบคลุม ทั้งด้านการเปิดตลาด (Market Access) และการให้การปฏิบัติเยี่ยง คนชาติ (National Treatment : NT) โดยมีเป้าหมายการเปิดเสรี สาขาบริการสำาคัญ 4 สาขา ได้แก่ ท่องเที่ยว ICT สุขภาพ และสาขาการบิน ภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010) ส่วนสาขาโลจิสติกส์ ภายในปี 2556 (2013) สำาหรับสาขา บริการอื่น ๆ ได้กำาหนดเป้าหมายไว้ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ณ ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการจัดทำาข้อผูกพัน ฯ ชุดที่ 8 โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนามพิธีสารเพื่อ อนุมัติขอผูกพัน ้ ชุดที่ 8 ภายใต้ ASEAN Framework Agreement on Services ( AFAS ) ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 และการ ประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 ณ ประเทศ เวียดนาม การเคลื่อ นย้า ยการลงทุน อย่า งเสรี ได้ทบทวนกรอบความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement of the ASEAN Investment Area : AIA) และความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน หรือ ASEAN IGA (ASEAN Agreement for the promotion and protection of Investment ) และได้ปรับปรุงผนวกความตกลงทั้ง สอบฉบับเป็น “ความตกลงว่าด้วยการลงทุนเต็มรูปแบบของอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement ACIA) “ มี สาระสำาคัญ 4 ด้าน คือเปิดเสรี การส่งเสริม การอำานวยความสะดวก และการคุ้มครองการลงทุน โดยครอบคลุมทั้งการลงทุนทางตรง (Foreign Direct Investment FDI) และการลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment ) ณ ปัจจุบัน สมาชิกอาเซียน 8 ประเทศ (ยกเว้น อินโดนีเซีย และไทย) ได้ให้สัตยาบันความตกลงด้านการลงทุน อาเซียน (ASEAN Comprehensive Agreement on Investment : ACIA) แล้ว ขณะนี้อินโดนีเซียอยู่ระหว่างการจัดทำารายการข้อสงวน (Reservation List) และไทยอยู่ระหว่างการดำาเนินการเพื่อขอความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอรัฐสภาพิจารณาให้ความเห็น ชอบ Reservation List และการให้สัตยาบัน การเคลื่อ นย้า ยเงิน ทุน อย่า งเสรีม ากขึ้น ดำาเนินงานตามแผนงานการรวมกลุ่มทางการเงินและการ คลังของอาเซียน มีสาระสำาคัญ 3 ด้าน คือ 1 การเปิดเสรีบริการทางการเงิน (Financial Liberalization) เจรจาทำาข้อผูกพันการเปิดตลาดบริการ ทางการเงินไปแล้ว 5 รอบ
  • 5. 2 การเปิดเสรีบัญชีทุน (Capital Account Liberalization) มีการผ่อนปรนข้อจำากัดในการเคลื่อน ย้ายเงินทุน รวมถึงบัญชีเดินสะพัด และการลงทุนใน หลักทรัพย์ตามความเหมาะสม 3 การพัฒนาตลาดทุน (Capital Market Development) เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและเชื่อมโยงตลาดทุนใน อาเซียน การเคลื่อ นย้า ยแรงงานฝีม ือ อย่า งเสรี มีการจัดทำา และลงนามข้อตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วมใน คุณสมบัติวิชาชีพ สำาหรับ 7 สาขา ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ นักบัญชี วิศวกร พยาบาล สถาปนิก และนัก สำารวจ ขณะนี้อยู่ระหว่างดำาเนินการให้มีผลใช้บังคับ ---------------------------------------------- เดินหน้าเต็มตัวมุ่งหน้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน “AEC Blueprint พิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อไปสู่เป้าหมายการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียน ได้จัดทำาแผนงานในเชิงบูรณาการการดำาเนินงานในด้านเศรษฐกิจ ต่างๆ เพื่อให้เห็นการดำาเนินงานในภาพรวมที่จะนำาไปสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนภายในปี ค.ศ.2015 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งถ้าหาก เปรียบเทียบกับการสร้างบ้านแผนงานนี้ก็เปรียบเสมือนพิมพ์เขียวที่ จะช่วยบอกองค์ประกอบและรูปร่างหน้าตาของบ้านหลังนี้ว่า เมื่อ สร้างเสร็จแล้วจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ทำาไมต้องจัดทำา AEC Blueprint เพื่อกำาหนดทิศทางการดำาเนินงานในด้านเศรษฐกิจให้ชัดเจน ตามกรอบระยะเวลาที่กำาหนดจนบรรลุเป้าหมาย AEC ในปี ค.ศ.2015 เพื่อสร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกที่จะดำาเนินการไป สู่เป้าหมายดังกล่าวร่วมกัน องค์ประกอบสำาคัญของ AEC Blueprint การเป็น ตลาด เดียวและ การสร้างขีด ความ สามารถใน การแข่งขัน การพัฒนา เศรษฐกิจ อย่างเสมอ การบูรณา การเข้ากับ เศรษฐกิจ
  • 6. แผนงานที่จะส่ง เสริมให้มีการ เคลื่อนย้าย สินค้าบริการ การลงทุน แรงงานมีฝีมือ และการเคลื่อน แผนงานที่จะส่ง เสริมการสร้าง ความสามารถใน ด้านต่างๆเช่น นโยบายการ แข่งขัน สิทธิใน ทรัพย์สินทาง ปัญญา นโยบาย ภาษีและการ พัฒนา โครงสร้างพื้น ฐาน (การเงิน แผนงานที่จะส่ง เสริมการรวม กลุ่มทาง เศรษฐกิจของ สมาชิกและลด ช่องว่างของ ระดับการพัฒนา ระหว่างสมาชิก เก่าและใหม่และ การสนับสนุน การพัฒนา SMEs แผนงานที่จะส่ง เสริมการรวม กลุ่มเข้ากับ ประชาคมโลก โดยเน้นการปรับ ประสาน นโยบาย เศรษฐกิจของ อาเซียนกับ ประเทศภายนอก ภูมิภาค เช่น การจัดทำาเขต สำาหรับองค์ประกอบอื่นๆ ได้แก่ การปรับปรุงกลไกด้านสถาบันโดย การจัดตั้งกลไกการหารือระดับสูง ประกอบด้วย ผู้แทนระดับรัฐมนตรี ทุกสาขาที่เกี่ยวข้องรวมทั้งภาคเอกชน อาเซียน ตลอดจนการพัฒนา ระบบกลไกการตรวจสอบติดตามผลการดำาเนินงาน ( Peer Review ) และจัดหาแหล่งทรัพยากรสำาหรับการดำาเนินงานกิจกรรม ต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศ สิงคโปร์ ผู้นำาอาเซียนได้ลงนามใน ปฏิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย ประกอบด้วยแผนการดำาเนินงาน ( AEC Blueprint ) และตารางเวลา ดำาเนินงาน ( Strategic Schedule ) ซึ่งเป็นเอกสารผนวก จึงนับได้ ว่าขณะนี้อาเซียนได้ทำาพิมพ์เขียวของการดำาเนินงานไปสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ขั้นต่อไป คือ การเริ่ม ลงมือดำาเนินงานตามแผนงานในด้านต่างๆเพื่อร่วมกันสร้าง ประชาคมที่เป็นหนึ่งเดียวกันของอาเซียนต่อไป
  • 7. ทำำอย่ำงไรหำกบำงประเทศไม่สำมำรถปฏิบัติตำมแผนงำนได้ ในกำรดำำเนินงำนสำมำรถกำำหนดให้มีควำมยืดหยุ่นในแต่ละ เรื่องไว้ล่วงหน้ำได้ ( pre – agree flexibilities ) แต่เมื่อตกลงกันได้ แล้ว ประเทศสมำชิกจะต้องยึดถือและปฏิบัติตำมพันธกรณีที่ได้ตกลง กันอย่ำงเคร่งครัดด้วย กำรติดตำมวัดผลกำรดำำเนินงำน เพื่อให้กำรดำำเนินงำนเป็นไปตำมแผนงำนและกำำหนดเวลำที่ ตั้งใจไว้ อำเซียนจึงตกลงที่จัดทำำเครื่องมือติดตำมวัดผลกำรดำำเนิน กำรตำม AEC Blueprint ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องมือกลไกในกำรติดตำม ควำมคืบหน้ำและประเมินผลกำรดำำเนินงำนในด้ำนต่ำงๆของประเทศ สมำชิกเป็นรำยประเทศรวมทั้งภำพรวมกำรดำำเนินงำนในระดับ ภูมิภำคด้วย โดยจะเสนอ AEC Scorecard ให้ผู้นำำอำเซียนทรำบ ในกำรประชุมสุดยอดอำเซียนทุกปีด้วย ควำมเชื่อมโยงของ AEC Scorecard กับกฎบัตรอำเซียน กฎบัตรอำเซียน เป็นเสมือนธรรมนูญของอำเซียนซึ่งวำงกฎ เกณฑ์สำำหรับประชำคมอำเซียน ที่ประกอบด้วย 3 เสำหลัก ได้แก่ ควำมมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยในส่วนของเสำ เศรษฐกิจจะมี AEC Scorecard เป็นแผนงำนที่อำเซียนต้องดำำเนิน กำรเพื่อให้บรรลุกำรเป็นประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน ในปี 2558
  • 8. โครงสร้ำ งประชำคมเศรษฐกิจ อำเซีย น ประชำคมเศรษฐกิจ อำเซีย นภำยในปี 2558 ยุท ธศำสตร์ก ำรดำำ เนิน งำน ยุท ธศำสตร์ก ำร ดำำ เนิน งำน มีค วำมสำมำรถ แข่ง ขัน สูง ยืด หยุ่น ได้ ไปสู่ก ำรเป็น ประชำคมเศรษฐ อำเซีย น (AEC) สร้ำ งควำมเท่ำ เทีย ม ในกำรพัฒ นำ เศรษฐกิจ ระหว่ำ ง สมำชิก อำเซีย น ส่ง เสริม กลุม อำ ่ เข้ำ กับ ป โล กรอบนโยบำยกำร ประสำ แข่ง ขัน ลดช่อ งว่ำ งกำรพัฒ นำเศรษฐกิจดำำ เนิน น ทรัพ ย์ส ิน เศรษฐ ทำงปัญ ญำ ประเท พัฒ นำ SME กุญ แจสำำ คัญ สู่ก ำรเป็น ประชำ กำรพัฒ นำ อำเซีย น เศรษฐกิจ อำเซีย น ค.ศ.2015 โครงสร้ำ งพื้น ภ เจตนำรมณ์ท ำงกำรเมืกำรผล อง ฐำน จัด จำำ ำ ควำมร่ว มมือ ในกำรเคลื่อ นย้ำห ษี ทรัพ ยำกร พำณิช ย์ กำรดำำ เนิน กำรตำมพัน ธกรณี อิเ ล็ก ทรอนิก ส์ กำรเสริม สร้ำ งขีด ควำมสำมำร สร้ำ งองค์ก รให้เ ข้ม แข็ง กำรหำรือ ระหว่ำ งภำครัฐ และภ กำรรวมกลุม สำขำสำำ คัญ ( ปัจ จุบ น มี 12 สำขำ ) ่ ั เอกชน เคลือ นย้ำ ย ่ สิน ค้ำ เสรี เคลือ นย้ำ ย ่ บริก ำรเสรี เคลือ นย้ำ ย ่ กำรลงทุน เสรี เคลื่อ นย้ำ ยเงิน ทุน เสรีย ิ่ง ขึน ้ เคลื่อ นย้ำ ย แรงงำนทัก ษะ เสรี พัฒ นำธุร กิจ ระดับ กลำง และระดับ เล็ก พัฒ นำทรัพ ยำกร บุค คล วิจ ย และ ั พัฒ นำ
  • 9. เคลื่อ นย้ำ ยสิน ค้ำ เสรี กำรอำำ นวยควำม เปิด เสรี สะดวก ลดอุป สรรคด้ำ นภำษี บูร ณกำรพิธ ีก ำร เคลื่อ นย้ำ ยบริก ำรเสรี ศุล กำกร เปิด เสรี กำรอำำ นวยควำมสะดวก เปิด ตลำดอย่ำ งไม่ม ีเ งือ นไข จัด ทำำ ควำมตกลงยอมรับ รวมในบริก ำร ่ วิช ำชีพ ปฏิบ ัต ิส มำชิก อย่ำ งเท่ำ เทีย ม จัด ทำำ โครงกำรแลกเปลี่ย นบุค ลำกร เคลื่อ นย้ำ ยกำรลงทุน เสรี วิชด เสรี เปิ ำชีพ กำรอำำ นวยควำมสะดวก ทุก อุต สำหกรรม สร้ำ งควำมโปร่ง ใสด้ำ นกฎระเบีย บและขั้น ตอนกำรลงทุน บริก ำรที่เ กี่ย วเนื่อ งกับ สนับ สนุน กำรส่ง เสริม กำรลงทุน ร่ว มกัน เคลื่อ นย้ำ ยเงิน ทุน เสรีย ิ่ง ขึ้น ภำคอุต สำหกรรม เปิด เสรี กำรอำำ นวยควำมสะดวก ผ่อ นคลำยข้อ กีด กัน กำรไหลเวีย นเงิน ทุน แลกเปลี่ย นข้อ มูล และ กำรศึก ษำผลกระทบ ่อ นย้ำ ยแรงงำนทัก ษะเสรี เคลื ส่งด เสรี กำรเชื่อ มโยงตลำดหลัก ทรัำ นวยควำมสะดวก เสริม เปิ กำรอำ พ ย์ ยกเลิก กำรกีด กัน กำรจ้ำ งงำน ปรับ ประสำนมำตรฐำนด้ำ น กำรศึก ษำและฝึก งำน สร้ำ งควำมเข้ำ ง ขัน กรอบนโยบำยกำรแข่ใจร่ว มด้ำ นกำรฝึก อบรมระดับ อำชี นพฤติก รรมที่ก ด กัน กำรแข่ง ขัน สนับ สนุน ให้ ต่อ ต้ำว ะ ี ทรัพ ย์ส ิน ทำงปัง ขัน เกิด เครือ ข่ำ ยองค์ก รดูแ ลกำรแข่ญ ญำ ส่ง เสริม ควำมคิด ริเ ริ่ม สร้ำ งสรรค์ ให้ค วำมรูด ้ำ นลิข สิท ธิ์ ้ เป็น พัน ธมิตกำรพัฒ นำโครงสร้ำ งพื้น ฐำน รกับ องค์ก รที่เ กี่ย วข้อ ง ด้ำ นขนส่ง ข้อ มูล ข่ำ วสำร พลัง งำน ภำษี และกำรเงิน นิย ำมภำษีร ่ว ม หลีก เลี่ย งกำรเก็บ ภำษีซ ำ้ำ ซ้อ น ควำม ตกลงว่ำ ด้ว ยภำษีซ ำ้ำ พำณิช ย์อ ิเ ล็ก ทรอนิก ส์ ซ้อ นของอำเซีย น ปรับ ประสำนกรอบกฎหมำยเกี่ย วกับ กำรทำำ สัญ ญำผ่ำ นสื่อ ลดช่ีก ำรระงับ ข้อ พิ นำเศรษฐกิจ อิเ ล็ก ทรอนิก ส์แ ละวิธ อ งว่ำ งกำรพัฒพ ำท จัด ทำำ โครงกำรเพื่อ ลดช่อ งว่ำ งระหว่ำ งอำเซีย นเดิม กับ กัม พูช ำ ลำว พัฒ นำ IAI พม่ำ และเวีย ดนำม ภำยใต้โ ครงกำร SME พัฒ นำส่ง เสริม วิส ำหกิจ ขนำดกลำงและขนำดย่อ ม ประสำนกำรดำำ เนิน นโยบำยเศรษฐกิจ กับ ประเทศ นอกอำเซีย น สร้ำ งแนวทำงกำรเจรจำเขตกำรค้ำ เสรีใ นภูม ภ ำค ิ เสริม สร้ำ งศัก ยภำพในกำรเจรจำเขตกำรค้ำ เสรี จำำ หน่ำ ย เข้ำ ร่ว มเครือ ข่ำ ยกำรผลิต และจัด สองฝ่ำ ย ค่ำ เพิ่ม ประสิท ธิภ ำพกำรผลิต ตลอดจนกำรวิจ ัย และพัฒ นำ สร้ำ งมูล เชิง พำณิช ย์ ใช้แ นวทำงกำรปฏิบ ัต ท ี่เ ป็น เลิศ ด้ำ นกำรผลิต และกำรตลำด ิ
  • 10. เคลื่อ นย้า ยสิน ค้า เสรี การอำา นวยความ เปิด เสรี สะดวก ลดอุป สรรคด้า นภาษี บูร ณการพิธ ีก าร เคลื่อ นย้า ยบริก ารเสรี ศุล กากร เปิด เสรี การอำา นวยความสะดวก เปิด ตลาดอย่า งไม่ม ีเ งือ นไข จัด ทำา ความตกลงยอมรับ รวมในบริก าร ่ วิช าชีพ ปฏิบ ัต ิส มาชิก อย่า งเท่า เทีย ม จัด ทำา โครงการแลกเปลี่ย นบุค ลากร เคลื่อ นย้า ยการลงทุน เสรี วิชด เสรี เปิ าชีพ การอำา นวยความสะดวก ทุก อุต สาหกรรม สร้า งความโปร่ง ใสด้า นกฎระเบีย บและขั้น ตอนการลงทุน บริก ารที่เ กี่ย วเนื่อ งกับ สนับ สนุน การส่ง เสริม การลงทุน ร่ว มกัน เคลื่อ นย้า ยเงิน ทุน เสรีย ิ่ง ขึ้น ภาคอุต สาหกรรม เปิด เสรี การอำา นวยความสะดวก ผ่อ นคลายข้อ กีด กัน การไหลเวีย นเงิน ทุน แลกเปลี่ย นข้อ มูล และ การศึก ษาผลกระทบ ่อ นย้า ยแรงงานทัก ษะเสรี เคลื ส่งด เสรี การเชื่อ มโยงตลาดหลัก ทรัา นวยความสะดวก เสริม เปิ การอำ พ ย์ ยกเลิก การกีด กัน การจ้า งงาน ปรับ ประสานมาตรฐานด้า น การศึก ษาและฝึก งาน สร้า งความเข้า ง ขัน กรอบนโยบายการแข่ใจร่ว มด้า นการฝึก อบรมระดับ อาชี นพฤติก รรมที่ก ด กัน การแข่ง ขัน สนับ สนุน ให้ ต่อ ต้าว ะ ี ทรัพ ย์ส ิน ทางปัง ขัน เกิด เครือ ข่า ยองค์ก รดูแ ลการแข่ญ ญา ส่ง เสริม ความคิด ริเ ริ่ม สร้า งสรรค์ ให้ค วามรูด ้า นลิข สิท ธิ์ ้ เป็น พัน ธมิตการพัฒ นาโครงสร้า งพื้น ฐาน รกับ องค์ก รที่เ กี่ย วข้อ ง ด้า นขนส่ง ข้อ มูล ข่า วสาร พลัง งาน ภาษี และการเงิน นิย ามภาษีร ่ว ม หลีก เลี่ย งการเก็บ ภาษีซ ำ้า ซ้อ น ความ ตกลงว่า ด้ว ยภาษีซ ำ้า พาณิช ย์อ ิเ ล็ก ทรอนิก ส์ ซ้อ นของอาเซีย น ปรับ ประสานกรอบกฎหมายเกี่ย วกับ การทำา สัญ ญาผ่า นสื่อ ลดช่ีก ารระงับ ข้อ พิ นาเศรษฐกิจ อิเ ล็ก ทรอนิก ส์แ ละวิธ อ งว่า งการพัฒพ าท จัด ทำา โครงการเพื่อ ลดช่อ งว่า งระหว่า งอาเซีย นเดิม กับ กัม พูช า ลาว พัฒ นา IAI พม่า และเวีย ดนาม ภายใต้โ ครงการ SME พัฒ นาส่ง เสริม วิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ ม ประสานการดำา เนิน นโยบายเศรษฐกิจ กับ ประเทศ นอกอาเซีย น สร้า งแนวทางการเจรจาเขตการค้า เสรีใ นภูม ภ าค ิ เสริม สร้า งศัก ยภาพในการเจรจาเขตการค้า เสรี จำา หน่า ย เข้า ร่ว มเครือ ข่า ยการผลิต และจัด สองฝ่า ย ค่า เพิ่ม ประสิท ธิภ าพการผลิต ตลอดจนการวิจ ัย และพัฒ นา สร้า งมูล เชิง พาณิช ย์ ใช้แ นวทางการปฏิบ ัต ท ี่เ ป็น เลิศ ด้า นการผลิต และการตลาด ิ