SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
(The Rise of Muslim Nations)
นายอุสมาน วาจิ
ผู้ช่วยนักวิจัยคลังปัญญาฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
(The Rise of Muslim Nations)
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com
ผู้เขียน : นาย อุสมาน วาจิ
ภาพปก : https://i.ytimg.com/vi/o84G0yPr6oE/maxresdefault.jpg
เผยแพร่ : 22 สิงหาคม 2560
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
สารบัญ
บทนา นิยามและตัวชี้วัดของชาติที่กาลังผงาด Rising Power 1
บทที่ 1 การผงาดของชาติมุสลิม 7
ด้านเศรษฐกิจ 8
ด้าน Soft Power 31
บทที่ 2 การปรับตัวของไทยเพื่อสอดรับกับการผงาดของชาติมุสลิม 39
บทที่ 3 บทสรุป 45
บรรณนานุกรม 47
อ้างอิง 50
1
บทนา
ความสาคัญของการศึกษา
การที่ชาติใดชาติหนึ่งจะตัดสินใจดาเนินนโยบายต่างประเทศนั้นสิ่งสาคัญคือการทาความเข้าใจ
กับความเป็นไปของโลก หากคาดการณ์ผิดไปนอกจากจะไม่เกิดประโยชน์แล้วอาจทาให้ชาติผู้ดาเนิน
นโยบายตกต่าลงอีกด้วย แต่ในปัจจุบันพลวัตของโลกยิ่งมีความเปลี่ยนแปลงมากขึ้นตามลาดับ การ
คาดการณ์ในระยะยาวของทิศทางของโลกเป็นเรื่องที่ยากขึ้นเรื่อย ๆ ฉะนั้นการทาความเข้าใจกับโลก
และทิศทางของโลกในมิติใหม่ ๆ จึงเป็นเรื่องจาเป็น โดยเฉพาะทิศทางของโลกมุสลิมที่ในปัจจุบันได้รับ
ความสนใจมากขึ้นเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มักจะเป็นศูนย์กลางของความขัดแย้ง เช่น การก่อการร้ายใน
เอเชีย สหรัฐฯ และยุโรป หลายครั้งนั้นมากจากผู้ก่อการร้ายที่ได้แนวคิดมาจากกลุ่มก่อการร้ายในโลก
มุสลิม อย่างไรก็ตามการมองแต่เพียงด้านลบของโลกมุสลิมนั้นเป็นการมองที่ไม่รอบด้าน ยังมีด้านอื่น ๆ
ที่บ่งชี้ว่าชาติมุสลิมบางชาติกาลังเจริญก้าวหน้าขึ้นด้วยเช่นกัน
นิยามของชาติที่กาลังผงาด (The Rising Power)
หากจะนิยามคาว่า Rising Power อย่างสั้นตามนิยามของ Robert Keohane แล้วก็สามารถ
อธิบายว่าเป็นรัฐที่แม้ไม่สามารถมีอิทธิพลต่อระบบระหว่างประเทศมากนักหากดาเนินการเพียงลาพัง
แต่สามารถสร้างผลกระทบอย่างเป็นระบบได้หากร่วมมือกับพันธมิตรไม่กี่ชาติหรือมีพลังพอที่จะแสดง
บทบาทผ่านองค์กรระหว่างประเทศได้1
เช่น สามารถกาหนดทิศทางความเป็นไปของภูมิภาคใกล้เคียง
แต่หากต้องการกาหนดทิศทางในระดับที่มากกว่านั้นต้องอาศัยชาติพันธมิตรหรือองค์กรระหว่างประเทศ
เข้าช่วยด้วย
ภาพที่ 1 Robert Owen Keohane ผู้เขียนหนังสือ After Hegemony
2
สิ่งที่ต้องคานึงคืออานาจภายในโลกมีอยู่อย่างจากัด เมื่อชาติใดชาติหนึ่งมีอานาจมากขึ้นย่อม
หมายถึงอานาจของชาติอื่น ๆ กาลังลดลง (zero-sum game) เช่น ในช่วงเวลาแห่งสงครามเย็นที่โลกอยู่
ภายใต้อานาจของมหาอานาจสาคัญคือสหรัฐฯ และรัสเซีย (Bipolar) ชาติอื่น ๆ จานวนมากจาต้องเลือก
ดาเนินนโยบายตามความต้องการของหนึ่งในสองชาติมหาอานาจดังกล่าว ภายหลังสงครามเย็นจบลง
การแข่งขันของสองมหาอานาจใหญ่ระหว่างสหรัฐฯ และ สหภาพโซเวียต ก็จบลงไปด้วย เข้าสู่ยุคใหม่ที่
สหรัฐฯ กลายเป็นเจ้าโลกเพียงหนึ่งเดียว (Unipolar) และประเทศอื่นค่อย ๆ อยู่ภายใต้ระบบที่สหรัฐฯ
และชาติตะวันตกซึ่งเป็นพันธมิตรสาคัญเป็นผู้กาหนด ส่วนในปัจจุบันด้วยกระแสของบูรพาภิวัตน์ทาให้
สหรัฐฯ และชาติตะวันตกมีความเข้มแข็งน้อยลง แต่หลายชาติในเอเชียกลับมีความเข้มแข็งและมี
บทบาทต่อระบบระหว่างประเทศมากขึ้น หรืออาจจะกล่าวได้ว่าโลกของเราได้เริ่มเข้าใกล้ภาวะหลายขั้ว
(multipolar) มากขึ้นทุกที ซึ่งในภาวะเช่นนี้สะท้อนว่าความเจริญก้าวหน้านั้นจะไม่จากัดอยู่ที่สหรัฐฯ และ
ชาติตะวันตกเพียงไม่กี่ชาติอีกต่อไป แต่จะกระจายอยู่ในหลาย ๆ ชาติแทน ซึ่งรวมถึงชาติมุสลิมด้วย
เช่นกัน แต่เดิมศัพท์ Rising Power มักจะใช้เจาะจงแก่ชาติในกลุ่ม BRICS ที่มีการเจริญด้านเศรษฐกิจที่
สูง อย่างไรก็ตามในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่ามีชาติอื่น ๆ อีกที่มีพัฒนาการอย่างโดดเด่น เช่น
ตุรกี และ เม็กซิโก ทาให้เริ่มมีการกล่าวถึงหลายชาตินอกกลุ่ม BRICS ว่าเป็น Rising Power ด้วย
ภาพที่ 2 กราฟแสดงทิศทางและแนวโน้มของประเทศตลาดเกิดใหม่ (emerging markets) ซึ่งจะ
ครองสัดส่วน GDP โลกมากกว่าประเทศตลาดพัฒนาแล้ว (developed markets)2
3
โดยมาตรซึ่งใช้ชี้วัดว่าชาติใดจะจัดเป็น Rising Power นั้นได้มีผู้แสดงทรรศนะไว้หลายประเด็น
ด้วยกัน ซึ่งประมวลได้ดังนี้
1.เศรษฐกิจ
10 ชาติที่มี GDP มากที่สุดซึ่งเป็นที่รับรู้ว่าเป็นประเทศที่มีบทบาทต่อโลกอย่างมาก3
อานาจทางเศรษฐกิจนั้นเป็นต้นทุนสาคัญในการดาเนินนโยบายระหว่างประเทศ โดยมีผลใน
หลายด้านด้วยกัน เช่น การช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจโดยตรง การพึ่งพาด้านเศรษฐกิจระหว่างกัน และ
การใช้งบประมาณที่มีในการดาเนินนโยบายอื่น ๆ จนอาจกล่าวได้ว่าในบางมุมนั้นนโยบายต่างประเทศ
และนโยบายทางเศรษฐกิจคือเรื่องเดียวกันด้วยซ้าไป แม้นโยบายด้านเศรษฐกิจจะดูเป็นเป็นเรื่อง
ภายในประเทศมากกว่า เพราะทั้งต่างเอื้อประโยชน์ต่อกันอย่างแยกไม่ออก โดยเฉพาะในปัจจุบันที่โลก
ขับเคลื่อนภายใต้แนวคิดทุนนิยมทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผูกพันกับเศรษฐกิจมากขึ้น
ภาพที่ 3 รัฐบาลอินโดนีเซียสามารถเพิ่มงบประมาณด้านการทหารอย่างมากในช่วงทศวรรษที่
ผ่านมา เนื่องจากเศรษฐกิจมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง4
4
เมื่อพิจารณาจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น จะเห็นได้ว่าชาติที่มีอิทธิพลมากมักจะมีขนาดเศรษฐกิจ
ที่ใหญ่ และในทางกลับกันชาติใดที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ขึ้นก็จะมีอิทธิพลมากขึ้นโดยสัมพัทธ์ เช่น
สหรัฐฯ ยังคงเป็นมหาอานาจของโลกอยู่ก็ด้วยงบประมาณมหาศาลที่ทาให้การให้ความช่วยเหลือชาติ
ต่าง ๆ เป็นไปได้ การมีตลาดที่ใหญ่ทาให้ชาติต่าง ๆ หวังที่จะได้รับมาตรการลดหย่อนภาษีนาเข้าและ
เลี่ยงการถูกกีดกันทางการค้า และการที่การทหารของสหรัฐฯ นั้นเข้มแข็งที่สุดในโลกก็ด้วยงบประมาณ
ทางทหารที่รัฐบาลสหรัฐฯ สนับสนุน ในทางกลับกันประเทศที่มีอัตราการเติบของเศรษฐกิจที่สูงก็จะมี
บทบาทมากขึ้นด้วย เช่น ประเทศจีนจากเดิมที่เน้นแต่การดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของตนและเลี่ยง
การยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในของประเทศอื่น ก็ต้องเปลี่ยนแนวโนบายสู่การเข้ามาเกี่ยวข้องกับกิจการ
ภายในของชาติอื่น เนื่องจากผลประโยชน์แห่งชาติของจีนนั้นไปตั้งอยู่ในประเทศอื่นมากขึ้น เช่น การที่
จีนส่งกาลังทหารเข้าสู่อัฟกานิสถานเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย เนื่องจากเกรงว่าความไม่สงบใน
อัฟกานิสถานจะกระทบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจของจีนในปากีสถานด้วย
2.อิทธิพลในระดับระหว่างประเทศ
นิยามหนึ่งของอานาจนั้นคือความสามารถที่จะทาให้เป้าหมายทาในสิ่งที่ผู้มีอานาจต้องการ
หรือไม่ทาในสิ่งที่ผู้มีอานาจไม่ต้องการ หรือผู้มีอานาจจะไม่ทาตามสิ่งที่อีกฝ่ายหนึ่งต้องการ ไม่ว่าผู้มี
อานาจจะกระทาด้วยการบีบบังคับหรือการจูงใจก็ตาม ด้วยเหตุนี้เองการจะชี้วัดว่าประเทศใดประเทศ
หนึ่งเป็นมหาอานาจหรือไม่ต้องพิจารณาจากอิทธิพลและบทบาทในเวทีระหว่างประเทศ เช่น คณะมนตรี
ความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ประกอบด้วย 5 ชาติมหาอานาจ คือ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราช
อาณาจักร และสหรัฐฯ ซึ่งมีอภิสิทธิ์ในการล้มมติ (veto) ของสหประชาชาติได้ หรือการที่ตุรกีพยายามที่
จะเข้าเป็นสมาชิก EU เพื่อต้องการมีส่วนกาหนดทิศทางของ EU อีกทั้งต้องการการยอมรับจาก
ประชาคมโลก และการพยายามเป็นตัวกลางในการเจรจาประเด็นความขัดแย้งของประเทศในภูมิภาค
ตะวันออกกลาง เช่น กรณีสงครามกลางเมืองในซีเรียและความขัดแย้งระหว่างซาอุดิอาระเบียและกาต้าร์
3.Soft Power ที่น่าดึงดูด
ภาพที่ 4 อันดับประเทศที่มี Soft Power มากที่สุด 10 อันดับแรก
จัดอันดับโดยสถาบัน Portland Communications5
5
ในปัจจุบันโลกได้ก้าวสู่ยุคสมัยที่การทาสงครามกลายเป็นเรื่องที่ยาก เนื่องจากบทเรียนจากอดีต
ที่ผ่านมานั้นทาให้รัฐต่าง ๆ ตระหนักว่าการสร้างสงครามมักจะนามาสู่ความสูญเสียที่มากกว่าประโยชน์
ที่ได้รับ ด้วยเหตุนี้จึงมีมาตรการร่วมกันที่จะเลี่ยงมิให้สงครามเกิดขึ้น เช่นนี้แล้วหากชาติใดชาติหนึ่ง
ต้องการยกระดับอานาจของตัวเองจึงต้องพึ่งพาวิธีการที่มิใช่การใช้ความรุนแรง และเน้นไปที่การจูงใจ
มากกว่าการบีบบังคับ
นโยบายต่างประเทศที่ในแบบ Soft Power ที่เน้นการจูงใจนั้นมีอยู่ด้วยกันหลากหลายวิธีและมี
ความซับซ้อนพอสมควร เช่น ด้านเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม มนุษยธรรม โดยเฉพาะในโลกยุค
ปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและเศรษฐกิจโลกอยู่ในภาวะชะลอตัวยิ่งทาให้ต้องคิดอย่าง
รอบคอบก่อนที่จะดาเนินนโยบายใด ๆ มิฉะนั้นแล้วจะเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณโดยใช่เหตุ เช่น การ
ที่ตุรกีเน้นการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในแอฟริกาและโลกมุสลิม รวมถึงการให้งบประมาณ
สนับสนุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับมุสลิมทั่วโลก ทาให้มุสลิมจานวนมากมองว่าตุรกีคือรัฐมุสลิมต้นแบบที่
รัฐมุสลิมอื่น ๆ สมควรถือเป็นต้นแบบ ซึ่งจากการจัดอันดับประเทศทีมี Soft Power มากที่สุด 30 อันดับ
แรก ปรากฎว่ามีเพียงตุรกีประเทศเดียวเท่านั้นที่เป็นประเทศมุสลิมที่ติดอันดับ
4.กาลังทหารที่เข้มแข็ง
ภาพที่ 5 อันดับประเทศที่มีกองทัพเข้มแข็งมากที่สุด 10 อันดับแรก จัดโดยสถาบัน Global Firepower6
แม้ในปัจจุบันสงครามที่มีคู่ขัดแย้งระหว่างรัฐกับรัฐนั้นลดน้อยลงมากนับแต่สงครามเย็นจบลง
และโลกเข้าสู่ยุคที่แข่งขันกันในสนามการค้ามากกว่าการรบ อย่างไรก็ตามความขัดแย้งตลอดจนการสู้รบ
กับกลุ่มติดอาวุธที่ไม่ใช่รัฐกลับมีจานวนเพิ่มมากขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ กระทั่ง
กลุ่มติดอาวุธบางกลุ่ม เช่น ขบวนการรัฐอิสลาม มีศักยภาพใกล้เคียงกับรัฐบางรัฐด้วยซ้าไป ด้วยเหตุนี้รัฐ
ยังจาเป็นที่ต้องรักษากาลังทางทหารไว้เพื่อการประกันความปลอดภัยมั่นคงของชาติ อีกทั้งในโลก
ปัจจุบันที่มีความขัดแย้งในหลายพื้นที่ซึ่งสามารถถูกยกระดับกลายเป็นสงครามระหว่างชาติได้โดยง่าย
เช่น สงครามกลางเมืองซีเรีย ความขัดแย้งในแคว้นแคชเมียร์ เป็นต้น โดยเฉพาะประเทศมหาอานาจที่
มักถูกคาดหวังให้เข้าไปมีส่วนร่วมในความขัดแย้งขนาดใหญ่เหล่านี้เสมอ จึงจาเป็นต้องมีกาลังทหารที่
สามารถส่งไปประจาการตามที่ต่าง ๆ ได้มิใช่เฉพาะปกป้องมาตุภูมิเท่านั้น
6
และในยุคโลกาภิวัตน์ที่ผลประโยชน์ของชาติหนึ่ง ๆ สามารถไปตั้งอยู่ ณ ที่แห่งใดก็ได้ของโลก
แม้จะเป็นพื้นที่ซึ่งมีความขัดแย้งอยู่ก็ตาม ในบางกรณีจึงจาเป็นที่ต้องมีกาลังทหารที่ส่งเข้าประกบเพื่อ
ดูแลด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะมหาอานาจที่มีขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่ เช่น สหรัฐฯ ที่มีผลประโยชน์ด้าน
พลังงานในตะวันออกกลางอย่างมาก หรือการที่จีนต้องส่งกาลังเข้าไปยังเอเชียกลางเพื่อรักษาความสงบ
เรียบร้อยในภูมิภาคซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อความสาเร็จของโครงการ Belt & Road
5.การรับผิดชอบต่อประชาคมโลก
ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 มนุษยชาติได้รับบทเรียนว่าการปล่อยให้ความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นอนาธิปไตยตามโดยแต่ละชาติสนใจเฉพาะผลประโยชน์แห่งชาติของตน
เท่านั้น จะนามาซึ่งวิกฤติการณ์ระหว่างประเทศที่ลุกลามขยายตัวจนยากจะยุติ และส่งผลกระทบต่อ
ประชาคมโลกโดยรวม เช่น การที่อังกฤษและฝรั่งเศสเลี่ยงที่จะทาสงครามกับนาซีเยอรมัน จนในที่สุดฮิต
เลอร์สามารถขยายอานาจของนาซีได้สาเร็จอันทาให้ยุโรปไร้เสถียรภาพ ทั้งที่ในตอนแรกนั้นเยอรมันมิได้
มีกาลังเข้มแข็งพอที่จะเอาชนะฝ่ายสัมพันธมิตรได้ ฉะนั้นจึงต้องมีการสร้างองค์กรระหว่างประเทศขึ้นใน
ภายหลังคือองค์กรสหประชาชาติที่มีหน้าที่คอยรักษาระเบียบโลกไว้ โดยคาดหวังว่าชาติที่เป็น
มหาอานาจนั้นต้องสนใจในผลประโยชน์ของประชาคมโลกโดยรวมมากกว่าการสนใจเฉพาะผลประโยชน์
แห่งชาติตน ด้วยการเป็นผู้รักษาระเบียบระหว่างประเทศไว้มิใช่เป็นสมาชิกเพียงอย่างเดียว นอกจาก
ปัญหาสงครามแล้วยังมีปัญหาอื่น ๆ อีก เช่น ผู้ลี้ภัยจากสงคราม ภาวะโลกร้อน การแพร่ระบาดของโลก
ทานองเดียวกัน ชาติที่เริ่มมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ขึ้น แม้จะไม่มีบทบาทในการดูแลระเบียบโลก
เทียบเท่าชาติมหาอานาจ แต่จะเห็นบทบาทในระดับภูมิภาคที่มากขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นจากการชาตินั้น ๆ
ต้องการได้รับการยอมรับจากนานาชาติ หรือเกิดจากการเรียกร้องของนานาชาติก็เป็นไปได้เช่นกัน
จากทั้ง 5 ประเด็นข้างต้น พอจะใช้ชี้ให้เห็นได้ว่าชาติใดบ้างที่กาลังมีอิทธิพลมากขึ้นซึ่งจะ
กลายเป็นอานาจใหม่ของโลกในไม่ช้า โดยพิจารณาจากการดาเนินนโยบายของแต่ละชาติทั้งที่เป็น Hard
Power และ Soft Power ว่ามีความสอดคล้องกับ 5 ประเด็นดังกล่าวมากน้อยเพียงใด เช่น ความเจริญ
ด้านเศรษฐกิจ บทบาทในเวทีระหว่างประเทศต่อตัวแสดงทั้งที่เป็นรัฐและไม่ใช่รัฐ อานาจทางการทหาร
7
บทที่ 1
การผงาดของชาติมุสลิม
โลกมุสลิมอยู่ที่ไหน ?
ภาพที่ 6 แผนที่แสดงประเทศที่มีมุสลิมอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก7
ในความเข้าใจของคนทั่วไปภูมิภาคที่มีมุสลิมอาศัยอยู่มากคือภูมิภาคตะวันออกกลาง
หรือโลกอาหรับ แต่ในความเป็นจริงแล้วยังมีภูมิภาคอื่น ๆ ที่มีมุสลิมอาศัยอยู่จานวนมากเช่นกัน เพราะ
เป็นเวลากว่า 1,400 ปีแล้วที่อิสลามได้ถูกเผยแพร่จากมหานครมักกะฮและมาดีนะฮไปยังภูมิภาคต่าง ๆ
ทั่วโลก โดยเฉพาะแอฟริกา เอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีความหลากหลายทางชาติ
พันธุ์ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ซึ่งรวมแล้วมีมุสลิมกว่า 1.7 พันล้านคนหรือราว 1 ใน 4 ของประชากร
โลกทีเดียว ฉะนั้นหากโลกมุสลิมเจริญก้าวหน้าขึ้นแล้วจะมีบทบาทต่อโลกมากและสมควรอย่างยิ่งที่ไทย
ต้องเตรียมพร้อมรับมือกับปรากฏการณ์นี้เพื่อให้เราสามารถวางบทบาทของชาติไทยอย่างเหมาะสม
ประเทศ จานวนประชากร
ที่เป็นมุสลิม
สัดส่วนต่อประชากร
ทั้งหมดในประเทศ
สัดส่วนต่อประชากร
มุสลิมทั้งหมดในโลก
ภาพที่ 7 ประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุด 4 ประเทศแรก ซึ่งไม่ใช่ประเทศอาหรับ
8
หากไม่มองจากกรอบของรัฐชาติ แต่มองโดยใช้กรอบ “ประชาชาติเดียวกัน” (Ummah)
ของมุสลิมแล้ว ประเด็นหนึ่งที่ชี้วัดถึงการขยายตัวของประชาชาติมุสลิมคืออัตราการเพิ่มขึ้นของ
ประชากร เนื่องจากตามความเชื่อของชาวมุสลิมนั้นการมีลูกถือเป็นความดีที่ศาสนาส่งเสริม แม้จะเผชิญ
ความกดดันทางเศรษฐกิจอย่างไรเสียก็ยังคงอัตราการเจริญพันธุ์ไว้ในระดับที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของสังคม
นั้น ๆ ซึ่งสามารถเห็นได้ชัดเจนในทวีปยุโรปที่สัดส่วนประชากรมุสลิมเมื่อเทียบกับประชากรยุโรป
ทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นที่อัตราร้อยละ 1 ในทุก ๆ 10 ปี จากสถิติในปี ค.ศ.1990 ที่มีประชากรมุสลิมร้อยละ 4
ได้เพิ่มขึ้นสู่ร้อยละ 6 ในปี ค.ศ. 2010 ซึ่งในภาพรวมระดับโลกก็สะท้อนการเพิ่มของประชากรในอัตราที่
ใกล้เคียงกัน ถ้ามองโดยใช้กรอบนี้จะเห็นถึงบทบาทของโลกมุสลิมที่จะค่อย ๆ เพิ่มมากขึ้นตามลาดับใน
หลายพื้นที่ทั่วโลกและยากที่จะหยุดยั้งแนวโน้มนี้ได้ โดยเฉพาะเมื่ออัตราการเจริญพันธุ์ทั่วโลกกาลัง
ลดลงทาให้ทรัพยากรแรงงานจะเป็นที่ต้องการมากขึ้น
อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาประเทศมุสลิมทุกประเทศแล้วแน่นอนว่าย่อมมีประเทศที่อยู่
ในช่วงตัวหรือถดถอยด้วยซ้าไป อีกทั้งยังมีความขัดแย้งระหว่างกันอีกด้วย ดังที่เราเห็นได้จากสงคราม
กลางเมืองทั้งในซีเรียและเยเมน แต่ในอีกด้านหนึ่งเมื่อมองไปยังบางประเทศแล้วจะเห็นว่ามีแนวโน้มการ
พัฒนาทั้งในด้านเศรษฐกิจและด้านอื่น ๆ อย่างโดดเด่น และมีความพยายามที่จะสร้างเป็นหนึ่งเดียวให้
เกิดขึ้นอีกด้วย อันจะจะทาให้โลกมุสลิมโดยรวมมีบทบาทสาคัญต่อโลกมากขึ้นอย่างแน่นอน
การผงาดของชาติมุสลิม
ดังที่กล่าวไปแล้วว่าลักษณะของประเทศที่กาลังมีบทบาทและอานาจมากขึ้นสามารถ
สังเกตได้จากตัวชี้วัดข้างต้น ซึ่งรายงานฉบับนี้จะใช้ตัวชี้วัด 2 ด้านคือ เศรษฐกิจ และ Soft Power เพื่อ
วิเคราะห์การผงาดขึ้นของโลกมุสลิม เนื่องจากใน 2 ด้านนี้นั้นเป็นโอกาสที่ไทยจะสามารถเข้าไปมีส่วน
ร่วมเพื่อนาผลประโยชน์สู่ชาติได้มาก ซึ่งจะเน้นไปยังประเทศซึ่งมีการผงาดอย่างโดดเด่นเป็นอันดับต้น
ๆ ของโลกมุสลิม คือ ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และอินโดนีเซีย
1.เศรษฐกิจ
ขนาดของเศรษฐกิจมีความสาคัญต่อรัฐมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนิน
นโยบายของรัฐ หากไม่มีงบประมาณเพียงพอก็ยากที่จะดาเนินนโยบายต่าง ๆ ได้สาเร็จ ทั้งนี้เมื่อเรียง
ตามลาดับประเทศตามขนาดเศรษฐกิจโดยธนาคารโลกแล้ว พบว่าใน 20 ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจ
ใหญ่ที่สุดมีประเทศมุสลิมอยู่ด้วยกัน 3 ประเทศ คือ ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และ อินโดนีเซีย
9
ภาพที่ 8 ประเทศที่มี GDP มากที่สุดเป็นอันดับ 11 – 208
1.1 ซาอุดิอาระเบีย : เมื่อโลกกาลังก้าวพ้นยุคแห่งน้ามัน
ในอดีตนั้นผู้คนในดินแดนซาอุฯมิได้ร่ารวยแต่อย่างใด หากแต่เป็นเพียงชนเผ่าอาหรับเร่ร่อน
ยากจนที่ทามาหาเลี้ยงชีพด้วยการเลี้ยงสัตว์และค้าขาย เนื่องด้วยความแห้งแล้งของทะเลทรายทาให้
ชีวิตความเป็นอยู่ไม่อาจศิวิไลซ์ได้เท่าใดนัก แต่แล้วทุกอย่างก็เริ่มเปลี่ยนไปเมื่อมีการค้นพบแหล่ง
น้ามันดิบปริมาณมหาศาลทางภาคภูมิภาคตะวันออกของประเทศในปี ค.ศ. 1938 และเริ่มผลิตเพื่อ
ส่งออกอย่างเต็มกาลังใน ค.ศ. 1941 ภายใต้การดาเนินการของบริษัท Aramco (Arabian American Oil
Company) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างสหรัฐฯ ที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยีและซาอุดิอาระเบียผู้เป็น
เจ้าของน้ามัน นี่นับเป็นจุดเริ่มต้นของซาอุดิอาระเบียยุคใหม่ที่ร่ารวยขึ้นอย่างมหาศาลและใช้ความร่ารวย
นี้เป็นบันไดที่ปีนป่ายไปสู่การสร้างชาติและการผันตัวเป็นมหาอานาจในภูมิภาคได้สาเร็จ
ราคาน้ามันกาลังตกต่า
ภาพที่ 9 กราฟเส้นแสดงแนวโน้มราคาน้ามันที่ตกต่าลงอย่างต่อเนื่อง9
ความมั่นคงของเศรษฐกิจ การเมือง และการต่างประเทศ ของซาอุดิอาระเบียนั้นผูกอยู่กับรายได้
จากการขายน้ามันดิบเป็นหลัก โดยกว่า 92.5 % ของรายได้ของรัฐบาลมาจากธุรกิจภาคปิโตรเลียม และ
กว่า 95 % ของการผลิตน้ามันนั้นมาจากบริษัท Aramco ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของรัฐ ด้วยความร่ารวย
10
อย่างมหาศาลที่ได้มาอย่างไม่ยากเย็นนักทาให้พลเมืองซาอุดิอาระเบียได้รับสวัสดิการที่ดีจากรัฐแทบทุก
ด้านโดยที่ไม่ต้องเสียภาษีให้รัฐเลย กระแสต่อต้านรัฐบาลจึงมีน้อยมาก กระทั่งกระแสอาหรับสปริงส์ก็
แทบไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ต่อรัฐบาล ในส่วนการต่างประเทศนั้นซาอุดิอาระเบียได้แปลงงบประมาณที่มี
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินนโยบายทั้งในรูป Hard Power และ Soft Power เช่น การทาสงคราม
กับกลุ่มกบฏชีอะห์ฮูซี่ในเยเมนซึ่งถูกมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคง การให้เงินทุนช่วยเหลือแก่ประเทศ
อาหรับที่ไม่ใช่ประเทศร่ารวย เช่น อียิปย์ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ นอกจากการใช้ความร่ารวยจาก
น้ามันเพื่อดาเนินนโยบายแล้ว ยังมีการใช้น้ามันในฐานะยุทธวิธีหนึ่งในการดาเนินนโยบายโดยตรง เช่น
เมื่อช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน บริษัท Saudi Aramco ได้ยุติการส่งน้ามันแก่อียิปย์ตามข้อตกลงความ
ช่วยเหลือที่ซาอุดิอาระเบียสัญญาว่าจะส่งน้ามันให้กว่าปีละ 700,000 ตันต่อปี ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่าเป็น
ผลจากการที่อียิปย์นั้นไม่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการต่อต้านอิทธิพลของอิหร่านและรัฐบาลซีเรียตามความ
คาดหวังของซาอุดิอาระเบีย
เมื่อพิจารณาจากข้อเขียนข้างต้น จะเห็นว่าการดาเนินการทางการเมืองทั้งภายในและภายนอก
ประเทศนั้นล้วนมีฐานมาจากความมั่นคงทางเศรษฐกิจที่ได้เกิดจากการค้าน้ามันทั้งสิ้น แต่ในปัจจุบัน
ราคาน้ามันได้ลดลงอย่างมีนัยยะสาคัญและมีแนวโน้มว่าจะลดลงไปมากกว่านี้ เนื่องจากสหรัฐฯ ที่เป็นผู้
นาเข้าน้ามันรายใหญ่ของโลกสามารถใช้เทคนิคใหม่เพื่อผลิตน้ามันได้เองกว่า 9 ล้านบาเรลต่อวัน (shell
gas) ซึ่งเท่ากับความต้องการใช้น้ามันกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ อีกทั้งเทคโนโลยีใหม่ที่ทาให้โลกพึ่งพา
น้ามันน้อยลง เช่น รถยนต์พลังงานไฟฟ้า ทาให้ราคาน้ามันที่เคยสูงมากกว่า 100 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ
บาเรล ในช่วงก่อนปี ค.ศ. 2014 จึงค่อย ๆ ลดต่าลงจนในปัจจุบันอยู่ในระดับราคาที่ต่ากว่า 50 เหรียญ
สหรัฐฯ ต่อบาเรล ไปแล้ว แต่สิ่งที่พยุงมิให้เศรษฐกิจของซาอุดิอาระเบียไม่กระทบมากนักคือความ
ต้องการน้ามันจากจีนซึ่งเป็นผู้ใช้น้ามันมากที่สุด
ภาพที่ 10 กราฟเทียบปริมาณการนาเข้าน้ามันจากประเทศต่าง ๆ ระหว่างสหรัฐฯ และจีน
ซึ่งจีนนาเข้ามากกว่านับแต่ปี 2013 เป็นต้นมา10
11
ภาพที่ 11 กราฟแสดงปริมาณน้ามันดิบที่ซาอุฯส่งออกไปยังสหรัฐฯ มีจานวนลดลง แต่กลับส่งออก
ยังจีนมากขึ้น จนมีปริมาณที่ใกล้เคียงกันนับแต่ปี 2009 เป็นต้นมา11
ภาพที่ 12 ตลอดมาราวร้อยละ 80-90 ของรายได้ภาครัฐซาอุฯมาจากกิจการที่เกี่ยวข้องกับน้ามัน12
ผลของราคาน้ามันที่ตกต่า ความท้าทายที่ต้องรับมือ
โดยปกติแล้วรัฐต่าง ๆ นั้นล้วนมีปัญหาหรือความท้าทายบางประการที่คอยบั่นทอนความมั่นคง
ของรัฐทั้งสิ้น หากรัฐใดสามารถเอาชนะปัญหาเหล่านั้นได้ก็จะสามารถดารงความเป็นรัฐได้ต่อไป หรือ
อาจจะยกระดับสถานะของรัฐให้มั่นคงมากขึ้นทั้งในระดับภายในของรัฐเองรวมถึงระดับระหว่างประเทศ
ซึ่งแต่ละรัฐนั้นมีความท้าทายที่ต้องเผชิญแตกต่างกันไปตามบริบทที่ไม่เหมือนกัน และมีวิธีจัดการปัญหา
ไม่เหมือนกันด้วย
สาหรับความท้าทายที่ซาอุดิอาระเบียต้องพบนั้นสามารถแบ่งออกอย่างคร่าวได้เป็นสองระดับ
ด้วยกัน คือ ระดับภายในประเทศและระดับระหว่างประเทศ
12
ความท้าทายระดับระหว่างประเทศ
ดังที่กล่าวมาแล้วว่าซาอุดิอาระเบียใช้ความร่ารวยที่ได้จากการขายน้ามันมาแปลเป็นเครื่องมือใน
การดาเนินนโยบายต่างประเทศจนสามารถยกระดับตัวเองให้กลายเป็นมหาอานาจในภูมิภาคได้สาเร็จ
แน่นอนว่าการขึ้นมาเป็นมหาอานานนั้นย่อมต้องมีคู่แข่งที่คอยท้าทาย ซึ่งคู่แข่งที่สาคัญที่สุดคืออิหร่าน
เนื่องจากความแตกต่างอย่างมากในสองประเด็นด้วยกัน คือความเชื่อทางศาสนาและระบอบการ
ปกครอง ซึ่งความเข้มข้นของความขัดแย้งนั้นได้ทวีมากขึ้นจากความไม่ลงรอยในหลายประการ
โดยเฉพาะสงครามกลางเมืองในซีเรียและเยเมนที่เป็นสงครามตัวแทนที่ซาอุดิอาระเบียและอิหร่าน
ประชันกาลังทางทหารในสมรภูมินี้ ยิ่งไปกว่านั้นอิหร่านกาลังอยู่ในช่วงที่ขยายอิทธิพลของตนมายัง
ภายนอกประเทศ เนื่องจากการคว่าบาตรจากโลกตะวันตกนั้นถูกยกเลิก และจีนกาลังสนใจที่จะลงทุนใน
อิหร่านเป็นจานวนเงินมหาศาลจากการที่ภูมิศาสตร์ของอิหร่านนั้นอยู่ในเส้นทางสาคัญของโครงการ Belt
& Road ในทางกลับกันซาอุดิอาระเบียกาลังสูญเสียความร่ารวยที่เป็นฐานสาคัญของการดาเนินนโยบาย
ระหว่างประเทศ และสหรัฐฯ ที่เป็นพันธมิตรหลักมาโดยตลอดเริ่มเอนเอียงไปทางอิหร่าน นับวันอิหร่าน
จึงกลายเป็นภัยที่นับวันยิ่งมีอันตรายต่อเสถียรภาพของซาอุดิอาระเบียมากขึ้น
นอกจากความท้าทายที่เป็นรัฐแล้วก็ยังมีความท้าทายที่ไม่ใช่รัฐอีกด้วย นั่นคือกลุ่มก่อการร้าย
ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นกลุ่มที่อยู่ในแนวทางซุนนีและชีอะห์ซึ่งตั้งฐานที่มั่นอยู่รายล้อมซาอุดิอาระเบีย สาหรับ
กลุ่มที่เป็นซุนนีนั้นหมายมั่นที่จะโค่นราชวงศ์อัซซาอูดลงเนื่องจากมองว่าหมดความชอบธรรมที่จะเป็น
ผู้ดูแลสองมหานครศักดิ์สิทธิอีกต่อไป เนื่องจากกลุ่มก่อการร้ายเหล่านี้มีมุมมองที่ค่านข้องอุดมคติว่าการ
ที่ซาอุดิอาระเบียร่วมมือกับรัฐตะวันตกนั้นนับแต่ยุคสงครามเย็นนั้นเป็นการทรยศต่ออุดมการณ์อิสลาม
อันสูงส่ง ส่วนกลุ่มที่อยู่ในแนวทางชีอะห์นั้นไม่พอใจที่ราชวงศ์ซุนนีกลายเป็นผู้ปกครองสองมหานครศักดิ์
สิทธิแทนที่จะเป็นคนในนิกายชีอะห์ ฉะนั้นซาอุดิอาระเบียจึงต้องคงหรือเพิ่มงบประมาณทางทหารอย่าง
เลี่ยงไม่ได้
ระดับภายในประเทศ
ภายหลังที่ซาอุดิอาระเบียสามารถส่งออกน้ามันดิบได้สาเร็จในปี ประเทศนี้ก็เกิดการ
พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานอย่างรวดเร็วพร้อมด้วยสวัสดิการชั้นเยี่ยมที่รัฐมอบให้กับประชาชน ทาให้
เกิดเป็นความลักลั่นประการหนึ่งคือประเทศที่อยู่ภายใต้ระบอบการปกครองที่เป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ที่ถือว่าเป็นระบอบที่มักถูกมองว่าล้าหลัง กลับมีการพัฒนาด้านวัตถุที่เป็นสมัยใหม่อย่างชัดเจน ความลัก
ลั่นนี้มักไม่เกิดขึ้นกับประเทศอื่น ๆ เนื่องจากความเจริญก้าวหน้านั้นมาจากภาษีที่พลเมืองเสียให้กับรัฐ
ทาให้ในที่สุดพลเมืองจะเรียกร้องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารประเทศ เช่น การก่อหวอด
Boston Tea party ที่ชาวอเมริกันเรียกร้องการมีตัวแทนของตนในการปกครองของอังกฤษ แต่ใน
ประเทศอ่าวอาหรับที่ร่ารวยจากน้ามันกลับมีความสัมพันธ์ที่ตรงกันข้าม เพราะนอกจากประชาชนจะไม่
ต้องเสียภาษีให้รัฐแล้ว รัฐยังมีงบประมาณมหาศาลที่จะมอบ“ชีวิตที่ดี”แก่ประชาชน ทาให้พลเมืองนั้นไม่
คิดล้มล้างบรรดาเจ้าผู้ปกครองที่ครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของการเมืองเสียสิ้น หรือจะมีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น
ที่เรียกร้องให้เจ้าผู้ปกครองถอดห่างจากการเมือง ซึ่งในทางวิชาการสามารถเรียกได้ว่า A Rentier
Social Contract หรือสัญญาประชาคมแบบสวัสดิการ
13
แต่แล้วความพิเศษดังกล่าวนั้นกาลังถูกท้าทายเนื่องจากราคาน้ามันที่ดิ่งลงมาโดยตลอด
และซาอุดิอาระเบียนั้นพึ่งพารายได้จากน้ามันมากกว่า 90 % ของงบประมาณแผ่นดิน หากเมื่อใดที่
แหล่งรายได้ก้อนหลักนี้ไม่อาจเป็นที่พึ่งได้อีกต่อไปแล้วก็มีความเสี่ยงสูงว่าสัญญาประชาคมแบบพิเศษ
ดังกล่าวอาจถูกฉีกลงได้ทุกเมื่อเช่นที่เกิดความเสี่ยงขึ้นในปรากฏการณ์อาหรับสปริงส์ ฉะนั้นแล้วการ
เปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจจึงเป็นเรื่องจาเป็นที่ไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้เลย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจใหม่เพื่อลดการพึ่งพารายได้จากน้ามัน
“กษัตริย์อับดุลอาซิสและผู้ร่วมสร้างชาติซาอุดิอารเบียนั้นไม่ได้ครอบครองน้ามัน และสร้างชาติ
จนสาเร็จโดยไม่มีน้ามัน และพวกเราขับเคลื่อนชาติโดยไม่มีน้ามัน และพวกเขามีชีวิตอยู่ในอาณาจักรนี้
โดยไม่มีน้ามัน” มกุฎราชกุมาร มูฮัมหมัด บิน ซัลมาน ได้กล่าวไว้ในการแถลงข่าวเกี่ยวเนื่องกับโครงการ
“วิสัยทัศน์ 2030” ซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่จะยกระดับเศรษฐกิจของซาอุดิอาระเบียเพื่อลดการพึ่งพา
รายได้จากน้ามันให้น้อยลง โดยตามแผนที่ได้แถลงไว้ซาอุดิอาระเบียจะสามารถเริ่มลดการพึ่งพาน้ามัน
ได้อย่างมีนัยยะสาคัญภายในปี ค.ศ. 2020 และเปลี่ยนรูปแบบเศรษฐกิจอย่างสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 2030
โดยลักษณะสาคัญของแผนนี้คือการนาเงินทุนสารองของชาติที่มีอยู่มหาศาลนั้นมาลงทุนพัฒนาในภาค
ส่วนอื่น ๆ อย่างบูรณาการและเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีรายละเอียดบางส่วนดังต่อไปนี้
ภาพที่ 13 มกุฎราชกุมาร มูฮัมหมัด บิน ซัลมาน ประธานผู้ดูแลโครงการ Vision 2030
14
ภาพที่ 14 เป้าหมายของ Vision 2030 คือการเน้นการลดการพึ่งพาน้ามันและเพิ่มศักยภาพของเอกชน
- การศึกษาและการวิจัย
ภาพที่ 15 มหาวิทยาลัย “KAUST” (King Abdullah University of Science and Technology)
15
King Abdullah University of Science and Technology หรือ KAUST นั้น เป็น
มหาวิทยาลัยที่เน้นด้านการวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองญิดดะห์ซึ่งเป็นเมืองสาคัญที่อยู่ทางชายฝั่งตะวันตกของ
ประเทศ มีพื้นที่กว้างกว่า 36 ตารางกิโลกเมตร KAUST ถูกตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 2009 เพื่อยกระดับการวิจัย
และการศึกษาของซาอุฯ เป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักเพื่อดึงดูดนักวิจัยจากทั่ว
โลก โดยเปิดทาการสอนเฉพาะในระดับปริญญาโทและเอก ในปี 2016 KAUST ได้รับการยอมรับจาก
นิตยสาร Nature ว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่พัฒนาด้านการวิจัยที่มีคุณภาพได้เร็วเป็นอันดับที่ 19 ของโลก
และในปี 2015 -2017 ยังได้รับการยอมรับจากสถาบัน QS Ranking ว่าเป็นมหาลัยหนึ่งที่ผลิตงานวิจัย
ซึ่งได้รับการอ้างอิงมากที่สุดเมื่อเทียบต่อจานวนบุคลากร
KAUST นั้นเป็นมหาวิทยาลัยที่เรียกได้ว่าใช้ระบบและแนวคิดของประเทศที่พัฒนาแล้วเป็น
รากฐาน ทั้งในแง่กฎระเบียบ สถาปัตยกรรม หลักสูตร และวัฒนธรรม ต่างจากมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ของ
ซาอุฯ มาก เนื่องจากหวังว่ามหาวิทยาลัยนี้จะเป็นกลไกสาคัญที่สร้างนวัตกรรมและวิจัยเพื่อยกระดับให้
ซาอุฯ กลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งสามารถยกระดับให้ทัดเทียมกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลกได้
อย่างรวดเร็วเนื่องจากมีงบประมาณมหาศาลที่ใช้ดึงดูดบุคลากรชั้นนา นอกจากสวัสดิการพื้นฐานอย่างที่
อยู่อาศัยหรือสาธารณสุขในระดับดีมากแล้ว ยังมีทุนให้นักศึกษาระดับปริญญาโททุกคนขั้นต่าอยู่ที่
20,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี ซึ่งแน่นอนว่าต้องมอบให้นักศึกษาระดับปริญญาเอก นักวิจัย และผู้สอน
มากกว่ามาก และพัฒนาระบบต่าง ๆ เพื่อรองรับการวิจัยซึ่งไม่แพ้มหาลัยชั้นนาของโลก ดังจะเห็นได้ว่า
ปัจจุบันราวร้อยละ 70 ของนักศึกษานั้นเป็นนักศึกษาต่างชาติจาก 60 ชาติทั่วโลก ทาให้ KAUST เป็น
มหาวิทยาลัยหนึ่งที่มีนักศึกษาต่างชาติมากที่สุด ทั้งนี้ในอดีตมีสัดส่วนนักศึกษาต่างชาติมากกว่านี้มาก
แต่ภายหลังรัฐบาลกาหนดสัดส่วนให้มีนักศึกษาภายในชาติมากขึ้นเพื่อหวังพัฒนาคนในชาติ ซึ่งหลังจาก
สาเร็จการศึกษาไปแล้วกว่าครึ่งหนึ่งประกอบอาชีพเป็นนักวิจัยหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยชั้นนาทั่วโลก
KAUST เป็นหนึ่งในความพยายามของซาอุดีอาระเบียที่จะส่งเสริมความหลากหลายทาง
เศรษฐกิจในราชอาณาจักร และช่วยเปลี่ยนผ่านประเทศที่พึ่งพาเพียงรายได้จากอุตสาหกรรมน้ามัน ไปสู่
ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge-based economy) โดยมหาวิทยาลัยจะทางานร่วมกับทุกภาค
ส่วน ตั้งแต่บริษัท หน่วยงานเอกชน องค์กรไม่แสวงผลกาไร และหน่วยงานรัฐ เพื่อช่วยกันส่งเสริมและ
ผลักดันให้ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ที่คิดค้นในมหาวิทยาลัย ได้ถูกส่งต่อสู่สังคมและสร้าง
แรงขับเคลื่อนในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างแท้จริง
นอกจากนี้ยังมีกองทุนนวัตกรรม KAUST Innovation Fund ที่ให้ความช่วยเหลือบริษัทสตาร์ท
อัพด้านเทคโนโลยี ตั้งแต่การให้เงินทุนขั้นต้นไปจนถึงช่วงเริ่มต้นของการทาธุรกิจ ตลอดจนลงทุนใน
บริษัทเทคโนโลยีชั้นนาจากต่างประเทศที่ต้องการดาเนินธุรกิจในซาอุดีอาระเบียและรับประโยชน์จาก
การวิจัยของ KAUST อีกด้วย
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จากน้ามันสู่แสงอาทิตย์และลม
16
ภาพที่ 16 NOMADD อุปกรณ์ขจัดฝุ่นให้แผงโซล่าเซล
ในปัจจุบันซาอุดิอาระเบียพึ่งพาพลังงานหมุนเวียนน้อยมากเนื่องจากสามารถใช้น้ามันได้ในต้นทุนที่ถูก
แต่ด้วย Vision 2030 ที่ต้องการลดการพึ่งพาน้ามันนั้นทาให้รัฐบาลมองเห็นความสาคัญของแหล่ง
พลังงานอื่น ๆ โดยคาดว่าในปี 2023 จะใช้พลังงานหมุนเวียนให้ได้ร้อยละ 10 ของการใช้พลังงาน
ทั้งหมดจากการผลิตไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์และลม ซึ่งประมาณว่าต้องใช้เงินลงทุนราว 3 – 5 หมื่นล้าน
เหรียญสหรัฐฯ นอกจากจะช่วยในเรื่องสิ่งแวดล้อมแล้วยังเป็นการสร้างงานหลายพันตาแหน่งด้วย
เนื่องจากรัฐบาลจะเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุนเองมากขึ้น ซึ่งมีหลายสิบบริษัททั้งในประเทศ
และต่างชาติที่จะเข้ามาลงทุน ที่น่าจับตามองคือบริษัท Saudi Aramco ที่รัฐบาลซาอุฯเป็นเจ้าของซึ่งเป็น
บริษัทผลิตน้ามันที่ใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลกจะเข้ามามีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียน
ด้วยเช่นกัน โดยคาดว่าจะช่วยเพิ่มรายได้ของบริษัทให้สูงขึ้นเนื่องจากธุรกิจน้ามันค่อนข้างอิ่มตัวแล้ว
ตัวอย่างหนึ่งของนวัตกรรมด้านพลังงานที่ได้รับการจับตามองอย่างมากคือ NOMADD13
ซึ่งเป็น
ระบบที่แก้ไขปัญหาสาคัญของ Solar Cells ในพื้นที่ทะเลทรายที่แม้จะมีปริมาณแดดมากแต่กลับผลิต
พลังงานได้น้อยเนื่องจากถูกฝุ่นทรายบดบังแสงอยู่เสมอ บางครั้งอาจจะผลิตได้น้อยลงถึงร้อยละ 60 หาก
มีพายุทะเลทราบ และระบบขจัดฝุ่นนั้นใช้พลังงานมากจนไม่คุ้มค่าที่จะลงทุน ซึ่งการทางานของ
NOMADD นั้นคือการขจัดฝุ่นออกจากแผงรับแสงอาทิตย์ในพลังงานที่ต่านั่นเอง ความสาเร็จของ
NOMADD มีส่วนสาคัญจาก KAUST Innovation Fund ซึ่งเป็นกองทุนที่อยู่ใต้มหาวิทยาลัย KAUST ที่มี
จุดมุ่งหมายในการสนับสนุนธุรกิจซึ่งสร้างนวัตกรรมที่ช่วยแก้ปัญหาให้แก่ซาอุฯ ได้ โดยกองทุนนี้ได้
ลงทุนใน NOMADD ไปแล้วกว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
17
- การท่องเทียว
แม้ในอดีตซาอุดิอาระเบียจะเป็นประเทศหนึ่งที่การขอวีซ่านั้นมีขั้นตอนยุ่งยากและล่าช้า
เนื่องจากระบบราชการที่ไม่มีประสิทธิภาพ แต่ก็ยังเป็นประเทศที่มีชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศมาก
เป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคตะวันออกกลางเนื่องจากเป็นจุดหมายในการทาพิธีฮัจย์ซึ่งเป็นการจาริกแสวง
บุญของชาวมุสลิมทั่วโลก โดยในปีที่ผ่านมีผู้แสวงบุญราว 1.5 ล้านคน และมีผู้ทาอุมเราะฮหรือการจาริก
อาสาอีก 3 ล้านคน แม้ทางการซาอุดิอาระเบียจะพยายามพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ เพื่อรองรับผู้
แสวงบุญให้มากขึ้นแต่ก็ยังไม่เพียงพอจนจาเป็นต้องจากัดจานวนวีซ่า ภายหลังที่ราคาน้ามันลดต่าลง
อย่างมีนัยยะสาคัญทาให้รัฐบาลซาอุดิอาระเบียเล็งเห็นช่องทางที่จะเปิดให้ผู้แสวงบุญเดินทางท่องเที่ยว
ไปในประเทศต่อภายหลังจากเสร็จสิ้นพิธีกรรมแล้ว อย่างน้อยที่สุดด้วยเส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่เชื่อม
ระหว่างสองมหานครศักดิ์สิทธิมักกะฮและมาดีนะฮ เมือง KAEC และเมืองเจดดาห์ จะทาให้นักท่องเที่ยว
เดินทางไปมาระหว่างเมืองเหล่านี้ด้วยความสะดวก
นอกจากนั้นซาอุฯ ยังมีแผนสร้างแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอีกด้วย แม้ภูมิประเทศส่วนมาก
จะเป็นทะเลยทรายที่มีอากาศร้อน แต่บริเวณชายฝั่งด้านตะวันตกที่ติดกับทะเลแดงนั้นมีความสวยงาม
พอที่จะยกระดับเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ โดยเฉพาะการดาน้าเนื่องจากอุณหภูมิของน้าทะเลที่อุ่นทาให้
ปะการังและสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลมีความหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ ซึ่งซาอุฯ หวังว่าชายฝั่งทะเลแดงนี้จะ
กลายเป็นเป้าหมายของนักท่องเที่ยวระดับสูงจากทั่วโลก และคาดว่าเมื่อโครงการนี้แล้วเสร็จจะสามารถ
สร้างรายได้กว่า 3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และตาแหน่งงานกว่า 35,000 ตาแหน่ง
18
ภาพที่17 Infographic อย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการยกระดับชายฝั่งทะเลแดงเป็นสถานที่ท่องเที่ยว14
19
- เขตเศรษฐกิจพิเศษใหม่
ภาพที่ 18 “เมืองเศรษฐกิจกษัตริย์อับดุลลอฮ” (King Abdullah Economic City) หรือ “เค้ก” (KAEC)
ภาพที่ 19 แผนผังของเมือง KAEC ที่ครอบคลุมทั้งท่าเรือขนาดใหญ่(A) เขตอุตสาหกรรม(B)
ศูนย์กลางธุรกิจ(C) สถานศึกษา(D) สถานที่ท่องเที่ยว(E) และที่พักอาศัย(F)15
ในปี ค.ศ. 2005 ซาอุดิอาระเบียได้เปิดเผยถึงแผนการที่จะสร้างเมืองใหม่ภายใต้ชื่อ “เมือง
เศรษฐกิจกษัตริย์อับดุลลอห์” (King Abdullah Economic City) หรือ “เค้ก” (KAEC) ซึ่งจะเป็นเมือง
เศรษฐกิจพิเศษที่รองรับการค้าการลงทุนหลากหลายประเภท เพื่อเป็นแหล่งรายได้ใหม่ที่จะสามารถเข้า
มาเสริมและทดแทนรายได้จากน้ามันในที่สุด โดยหวังว่าเมืองนี้จะสามารถดึงดูดภาคการผลิตจาก
ประเทศจีนและนวัตกรรมจากโลกตะวันตกมารวมตัวกันในอภิเมืองแห่งนี้ ด้วยงบประมาณกว่า 3 ล้าน
ล้านบาทที่มาจากภาคเอกชนทั้งหมดเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานตลอดจนทุกสิ่งที่จาเป็นเพื่อให้ที่นี่
เปรียบดั่งสวรรค์ของการลงทุน เช่น ท่าเรือขนาดยักษ์ ณ ชายฝั่งทะเลแดงที่รองรับตู้คอนเทนเนอร์กว่า 3
ล้านตู้พร้อมระบบจัดการที่ทันสมัยที่สุดซึ่งตั้งเป้าจะเป็นคู่แข่งกับท่าเรือของดูไบที่เป็นศูนย์กลางของ
20
ภูมิภาคในปัจจุบัน เขตอุตสาหกรรมพิเศษที่มีทุกอย่างที่นักลงทุนต้องการ และเขตที่อยู่อาศัยซึ่ง
เพียบพร้อมไปด้วยสิ่งอานวยความสะดวก เช่น สถานศึกษา สถานพยาบาล และระบบขนส่งมวลชน
นอกจากการลงทุนที่จะเป็นหัวใจหลักของเมืองนี้แล้ว ก็ยังหวังด้วยว่างานจานวนมหาศาลที่เกิดขึ้นใน
เมืองนี้จะทาให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะเติบโตด้วยเช่น ทางการหวังว่าจะมีผู้เข้าพักอาศัยไม่ต่ากว่า 2
ล้านคน ครอบคลุมพื้นที่ 180 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีพื้นที่กว้างทัดเทียมกับกรุงวอชังตัน ดีซี และยังหวัง
ด้วยว่าเมืองนี้จะกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ
ภาพที่ 20 แผนที่แสดงความหนาแน่นของประชากร ซึ่งชี้ให้เห็นว่ายังมีพื้นที่ว่างเปล่าอีกมาก
ที่สามารถรองรับชาวต่างชาติได้หากพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรองรับ16
นอกจากการพัฒนาในด้านวัตถุแล้วทางผู้บริหารโครงการยังเตรียมความพร้อมในเรื่อง
ทรัพยากรบุคคลด้วย ทางหนึ่งคือบรรดาคนหนุ่มสาวที่ออกไปร่าเรียนอย่างต่างประเทศจะมีตลาดงาน
รองรับที่เหมาะสมแทนที่จะต้องทางานในต่างประเทศ และอีกทางคือการอานวยความสะดวกในการเข้า
มาของแรงงานต่างชาติเพื่อทางานในตาแหน่งที่ขาดแคลน
21
ภาพที่ 21 เส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่เชื่อมระหว่างเมืองสาคัญ เช่น มักกะฮ มาดีนะ ริยาด และ KAEC17
- ข้อวิจารณ์ต่อแผนปฏิรูป
แม้ Vision 2030 จะมีการวางแผนไว้ดีเพียงใด แต่อาจจะไม่ประสบผลสาเร็จตามแผนเนื่องจากมี
ความท้าทายหลายประการที่ซาอุฯ ต้องเผชิญ
1. ซาอุดิอาระเบียกาลังเผชิญกับความขัดแย้งที่อยู่รายล้อมประเทศ ทั้งคู่ขัดแย้งที่เป็นรัฐ เช่น
อิหร่าน เยเมน กาต้า และมิใช่รัฐ เช่น IS ซึ่งการจัดการความขัดแย้งต่าง ๆ นั้นต้องใช้งบประมาณ
มหาศาล อีกทั้งหากภายในประเทศเกิดความไม่สงบเรียบร้อยจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศอย่าง
มาก
2. แม้จะมีประชากรในวัยแรงงานอยู่มากเนื่องจากมีอัตราการเกิดของประชากรมาก แต่กลับขาด
แคลนแรงงานที่มีทักษะเฉพาะ เช่น แพทย์ วิศวกร ฯลฯ รวมถึงแรงงานไร้ทักษะที่ค่าแรงต่าอีกด้วย ทา
ให้บรรษัทข้ามชาตินิยมจ้างชาวต่างชาติเข้ามาทางานแม้จะต้องจ่ายค่าวีซ่ามากขึ้นก็ตาม ทาให้ปัจจุบันมี
ชาวต่างชาติที่อยู่ในซาอุดิอาระเบียอย่างถูกกฎหมายไม่ต่ากว่า 10 ล้านคน และที่อยู่อย่างไม่ถูกกฎหมาย
อีกจานวนหนึ่ง จากพลเมืองซาอุฯที่มี 20 ล้านคน
3. Mckinsey ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนชื่อดังผู้วางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจของซาอุดิอาระเบียมิได้
คานึงถึงความพร้อมของกาลังคนที่จะทาหน้าที่บริหารแผนงานให้เกิดผลสาเร็จ และชนชั้นปกครอง
ซาอุดิอาระเบียขาดประสบการณ์ในการบริหารเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่เศรษฐกิจน้ามันมาก่อน แผนนี้
จึงเป็นแผนที่เสี่ยงจะเกิดปัญหาในการปฏิบัติพอสมควร
4. แม้รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรจะสูงและสวัสดิการต่าง ๆ ของรัฐนั้นดีมาก แต่ปัญหาความ
เหลื่อมล้ายังมีอยู่มากเช่นกัน โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับสิทธิอาศัยแต่ไม่ได้รับสัญชาติซาอุฯ เช่น ชาวมุสลิม
จาก 3 จังหวัดภาคใต้ที่เข้าไปอาศัยเมื่อนานมาแล้ว จะได้รับสวัสดิการและโอกาสการทางานที่น้อยกว่า
พลเมืองซาอุฯ มาก
22
5.ระบบราชการที่ยุ่งยากและเชื่องช้า ระบบราชการของซาอุฯนั้นขึ้นชื่อเรื่องประสิทธิภาพที่ไม่
เพียงพอและยังขาดความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อแผนพัฒนา 2030 เป็นอย่างมากเพราะ
ระบบราชการเปรียบได้ดั่งกระดูกสันหลังของการพัฒนาประเทศ หากยังไม่มีการปฏิรูประบบราชการ
เสียก่อนก็ยากที่จะเกิดการปฏิรูปในภาคเอกชนที่เป็นผล
อย่างไรก็ตามยังมีแนวโน้มที่ดีว่าซาอุฯ จะสามารถเอาชนะความท้าทายเหล่านี้ได้ หากเปิดกว้าง
ให้ชาวต่างชาติที่มีความสามารถเข้ามาร่วมเป็นผู้ผลักดัน vision 2030 มากขึ้น เนื่องจากงบประมาณที่
ทางการมีอยู่นั้นมากเพียงพอที่จะดึงดูดผู้มีความสามารถจากทั่วโลกได้ไม่ยากนัก
1.2 ตุรกี : จากคนป่วยแห่งยุโรปสู่มหาอานาจใหม่
ความสาเร็จในการยกระดับเศรษฐกิจของตุรกีนั้นถือว่าโดดเด่นมาก ในปี 2003 ที่อัรโดกันก้าว
ขึ้นเป็นประธานาธิบดีนั้น GDP ของประเทศอยู่ที่ราว 300,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่ในปัจจุบันได้ขึ้น
มากกว่า 700,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทีเดียว ซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับเศรษฐกิจของประเทศออสเตรเลีย
เมื่อนับตามอานาจซื้อที่เป็นจริง อีกตัวอย่างหนึ่งที่ชี้ถึงความสาเร็จของตุรกีคือรายได้เฉลี่ยของประชากร
ตุรกีกว่า 77 ล้านคนนั้นเคยอยู่ที่ราว 20% ของรายได้เฉลี่ยประชากรในสหภาพยุโรป แต่ในปัจจุบันได้
เพิ่มขึ้นจนใกล้ระดับ 70% แล้ว ซึ่งหากเศรษฐกิจของตุรกียังมีการเติบโตที่ดีเช่นนี้คาดว่ารายได้ของ
ประชากรตุรกีจะทัดเทียมกับประชากรในสหภาพยุโรปภายในปี 2030 และกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว
อย่างแท้จริง อันเป็นการลบคาสบประมาทว่าตุรกีเป็น “ผู้ป่วยของยุโรป”ลงอย่างสิ้นเชิง และจากการ
คาดการณ์ของธนาคาร HSBC ชี้ว่าภายในปี 2050 ตุรกีจะก้าวขึ้นเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจเป็น
อันดับ 12 ของโลก จากปัจจุบันซึ่งอยู่อันดับ 18 เมื่อเศรษฐกิจภายในประเทศดีขึ้นแล้วก็ทาให้บรรษัท
สัญชาติตุรกีมีความมั่นใจและความพร้อมที่จะขยายกิจการออกไปยังต่างประเทศ ทาให้ปัจจุบันมีบริษัท
มากกว่า 15,000 บริษัทที่กาการลงทุนในต่างประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
แม้ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอเกอร์และปรากฏการณ์อาหรับสปริง
ซึ่งกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศที่อยู่รายล้อมตุรกีและเศรษฐกิจโลกพอสมควร แต่นั่นกลับไม่ส่งผล
กระทบต่อเศรษฐกิจของตุรกีมากนัก ซึ่งนี่คือสิ่งสะท้อนความเข้มแข็งของเศรษฐกิจตุรกีได้อย่างดี
23
ภาพที่ 22 คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจของตุรกีจะเติบโตมากที่สุดในกลุ่มประเทศ OECD
จับตลาดยุโรป
สินค้าที่ผลิตขึ้นจากตุรกีแม้จะมีราคาสูงกว่าสินค้าที่ผลิตจากจีนแต่ก็ได้รับการยอมรับถึงคุณภาพ
ที่ดี สินค้าเกษตรก็ได้รับการตอบรับที่ดีเช่นเดียวกันเนื่องจากสภาพภูมิอากาศและพื้นที่เหมาะกับการทา
เกษตร ส่วนในภาคท่องเที่ยวนั้นตุรกีติดอันดับ 1 ใน 10 จุดหมายการท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมที่สุดใน
โลก ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะตุรกีมีที่ตั้งติดกับทวีปยุโรปซึ่งเป็นตลาดที่มีกาลังซื้อสูง ทาให้ลดระยะเวลา
ค่าเดินทางและค่าขนส่งได้มาก ซึ่งการติดต่อค้าขายกับยุโรปนั้นมิได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญหากแต่เป็นความ
พยายามของรัฐบาลตุรกีที่เดินหน้าเจรจาการค้ากับชาติต่าง ๆ นอกจากนี้ยังทาให้ตุรกีมีภาพลักษณ์ที่ดี
และน่าลงทุนสาหรับนักลงทุนจากยุโรปอีกด้วย
ภาพที่ 23 กราฟแสดงมูลค่าการค้าระหว่าง EU และ ตุรกีซึ่งเป็นตลาดใหญ่ที่สุด ส่วนตะวันออกกลาง
และแอฟริกาคือตลาดที่ได้ดุลการค้ามากที่สุด18
24
ส่งเสริม SMEs
นับแต่พรรค AKP ได้รับเลือกให้เป็นรัฐบาล นโยบายหนึ่งซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีมากจาก
ประชาชนคือการส่งเสริมผู้ประกอบการรายใหม่ที่ทาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยในปีที่ผ่านมา
สัดส่วนของผู้ประกอบการที่ลงทะเบียนกับรัฐบาลนั้นกว่า 99.8% เป็นธุรกิจในกลุ่ม SMEs ซึ่งการมี
ผู้ประกอบการใหม่มากขึ้นนอกจากจะแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าได้แล้วยังกระตุ้นการส่งออกได้อีกด้วย
เนื่องจากมีผลิตภัณฑ์หลากหลายตอบสนองต่อตลาดต่างประเทศ เพราะตลาดหลักของตุรกีนั้นคือยุโรป
ตะวันออกกลาง และแอฟริกา ซึ่งมีความต้องการต่างกัน ทาให้ในปีที่ผ่านมาสินค้าจากกลุ่มธุรกิจ SMEs
สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศมากกว่ากลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่เป็นครั้งแรก19
ลดต้นทุนด้านพลังงาน
ต้นทุนด้านพลังงานนั้นเป็นต้นทุนที่แทบจะกระทบกับธุรกิจทุกประเภท หากลดค่าใช้จ่ายด้าน
พลังงานได้ก็จะเป็นประโยชน์กับเศรษฐกิจในภาพรวม โดยเฉพาะในช่วงที่เศรษฐกิจกาลังเติบโตจะยิ่ง
ต้องการพลังงานมาก จึงเป็นโจทย์สาคัญที่รัฐบาลตุรกีต้องหาทางลดต้นทุนด้านพลังงานให้ได้ ซึ่งไม่ใช้
เรื่องง่ายเพราะมากกว่าร้อย 70 ของพลังงานในตุรกีนั้นมาจากการนาเข้า รัฐบาลจึงมีมาตรการ เช่น การ
สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ สร้างท่อส่งก๊าซทั่วประเทศเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง นาเข้าก๊าซจากแหล่งใหม่ ๆ
ที่มีราคาต่ากว่า พึ่งพาถ่านหินที่ผลิตจากในประเทศ
ภาพที่ 24 ท่อส่งก๊าซจากอาณาเขตของชาวเคิร์ดในอิรักซึ่งตุรกีได้ลงทุนสร้างเพื่อนาเข้าก๊าซในราคาถูก20
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม

More Related Content

What's hot

บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...Klangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...Klangpanya
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนKlangpanya
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน Taraya Srivilas
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020Klangpanya
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)Utai Sukviwatsirikul
 
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558Klangpanya
 
Burma Thai relations
Burma   Thai relationsBurma   Thai relations
Burma Thai relationsFishFly
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 Klangpanya
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...Dr.Choen Krainara
 

What's hot (17)

บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
อนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาเซียน
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560   2579)
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ2560 2579)
 
BDC412 myanmar
BDC412 myanmarBDC412 myanmar
BDC412 myanmar
 
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
Burma Thai relations
Burma   Thai relationsBurma   Thai relations
Burma Thai relations
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
 

Similar to การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม

เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน CompressOrange Wongwaiwit
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558Klangpanya
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45Taraya Srivilas
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 

Similar to การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม (20)

เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
 
Energy Plus_Oct - Dec 2013
Energy Plus_Oct - Dec 2013Energy Plus_Oct - Dec 2013
Energy Plus_Oct - Dec 2013
 
งานธุรการ
งานธุรการงานธุรการ
งานธุรการ
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 

การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม

  • 1. การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม (The Rise of Muslim Nations) นายอุสมาน วาจิ ผู้ช่วยนักวิจัยคลังปัญญาฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม (The Rise of Muslim Nations) สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com ผู้เขียน : นาย อุสมาน วาจิ ภาพปก : https://i.ytimg.com/vi/o84G0yPr6oE/maxresdefault.jpg เผยแพร่ : 22 สิงหาคม 2560 ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
  • 3. สารบัญ บทนา นิยามและตัวชี้วัดของชาติที่กาลังผงาด Rising Power 1 บทที่ 1 การผงาดของชาติมุสลิม 7 ด้านเศรษฐกิจ 8 ด้าน Soft Power 31 บทที่ 2 การปรับตัวของไทยเพื่อสอดรับกับการผงาดของชาติมุสลิม 39 บทที่ 3 บทสรุป 45 บรรณนานุกรม 47 อ้างอิง 50
  • 4. 1 บทนา ความสาคัญของการศึกษา การที่ชาติใดชาติหนึ่งจะตัดสินใจดาเนินนโยบายต่างประเทศนั้นสิ่งสาคัญคือการทาความเข้าใจ กับความเป็นไปของโลก หากคาดการณ์ผิดไปนอกจากจะไม่เกิดประโยชน์แล้วอาจทาให้ชาติผู้ดาเนิน นโยบายตกต่าลงอีกด้วย แต่ในปัจจุบันพลวัตของโลกยิ่งมีความเปลี่ยนแปลงมากขึ้นตามลาดับ การ คาดการณ์ในระยะยาวของทิศทางของโลกเป็นเรื่องที่ยากขึ้นเรื่อย ๆ ฉะนั้นการทาความเข้าใจกับโลก และทิศทางของโลกในมิติใหม่ ๆ จึงเป็นเรื่องจาเป็น โดยเฉพาะทิศทางของโลกมุสลิมที่ในปัจจุบันได้รับ ความสนใจมากขึ้นเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มักจะเป็นศูนย์กลางของความขัดแย้ง เช่น การก่อการร้ายใน เอเชีย สหรัฐฯ และยุโรป หลายครั้งนั้นมากจากผู้ก่อการร้ายที่ได้แนวคิดมาจากกลุ่มก่อการร้ายในโลก มุสลิม อย่างไรก็ตามการมองแต่เพียงด้านลบของโลกมุสลิมนั้นเป็นการมองที่ไม่รอบด้าน ยังมีด้านอื่น ๆ ที่บ่งชี้ว่าชาติมุสลิมบางชาติกาลังเจริญก้าวหน้าขึ้นด้วยเช่นกัน นิยามของชาติที่กาลังผงาด (The Rising Power) หากจะนิยามคาว่า Rising Power อย่างสั้นตามนิยามของ Robert Keohane แล้วก็สามารถ อธิบายว่าเป็นรัฐที่แม้ไม่สามารถมีอิทธิพลต่อระบบระหว่างประเทศมากนักหากดาเนินการเพียงลาพัง แต่สามารถสร้างผลกระทบอย่างเป็นระบบได้หากร่วมมือกับพันธมิตรไม่กี่ชาติหรือมีพลังพอที่จะแสดง บทบาทผ่านองค์กรระหว่างประเทศได้1 เช่น สามารถกาหนดทิศทางความเป็นไปของภูมิภาคใกล้เคียง แต่หากต้องการกาหนดทิศทางในระดับที่มากกว่านั้นต้องอาศัยชาติพันธมิตรหรือองค์กรระหว่างประเทศ เข้าช่วยด้วย ภาพที่ 1 Robert Owen Keohane ผู้เขียนหนังสือ After Hegemony
  • 5. 2 สิ่งที่ต้องคานึงคืออานาจภายในโลกมีอยู่อย่างจากัด เมื่อชาติใดชาติหนึ่งมีอานาจมากขึ้นย่อม หมายถึงอานาจของชาติอื่น ๆ กาลังลดลง (zero-sum game) เช่น ในช่วงเวลาแห่งสงครามเย็นที่โลกอยู่ ภายใต้อานาจของมหาอานาจสาคัญคือสหรัฐฯ และรัสเซีย (Bipolar) ชาติอื่น ๆ จานวนมากจาต้องเลือก ดาเนินนโยบายตามความต้องการของหนึ่งในสองชาติมหาอานาจดังกล่าว ภายหลังสงครามเย็นจบลง การแข่งขันของสองมหาอานาจใหญ่ระหว่างสหรัฐฯ และ สหภาพโซเวียต ก็จบลงไปด้วย เข้าสู่ยุคใหม่ที่ สหรัฐฯ กลายเป็นเจ้าโลกเพียงหนึ่งเดียว (Unipolar) และประเทศอื่นค่อย ๆ อยู่ภายใต้ระบบที่สหรัฐฯ และชาติตะวันตกซึ่งเป็นพันธมิตรสาคัญเป็นผู้กาหนด ส่วนในปัจจุบันด้วยกระแสของบูรพาภิวัตน์ทาให้ สหรัฐฯ และชาติตะวันตกมีความเข้มแข็งน้อยลง แต่หลายชาติในเอเชียกลับมีความเข้มแข็งและมี บทบาทต่อระบบระหว่างประเทศมากขึ้น หรืออาจจะกล่าวได้ว่าโลกของเราได้เริ่มเข้าใกล้ภาวะหลายขั้ว (multipolar) มากขึ้นทุกที ซึ่งในภาวะเช่นนี้สะท้อนว่าความเจริญก้าวหน้านั้นจะไม่จากัดอยู่ที่สหรัฐฯ และ ชาติตะวันตกเพียงไม่กี่ชาติอีกต่อไป แต่จะกระจายอยู่ในหลาย ๆ ชาติแทน ซึ่งรวมถึงชาติมุสลิมด้วย เช่นกัน แต่เดิมศัพท์ Rising Power มักจะใช้เจาะจงแก่ชาติในกลุ่ม BRICS ที่มีการเจริญด้านเศรษฐกิจที่ สูง อย่างไรก็ตามในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่ามีชาติอื่น ๆ อีกที่มีพัฒนาการอย่างโดดเด่น เช่น ตุรกี และ เม็กซิโก ทาให้เริ่มมีการกล่าวถึงหลายชาตินอกกลุ่ม BRICS ว่าเป็น Rising Power ด้วย ภาพที่ 2 กราฟแสดงทิศทางและแนวโน้มของประเทศตลาดเกิดใหม่ (emerging markets) ซึ่งจะ ครองสัดส่วน GDP โลกมากกว่าประเทศตลาดพัฒนาแล้ว (developed markets)2
  • 6. 3 โดยมาตรซึ่งใช้ชี้วัดว่าชาติใดจะจัดเป็น Rising Power นั้นได้มีผู้แสดงทรรศนะไว้หลายประเด็น ด้วยกัน ซึ่งประมวลได้ดังนี้ 1.เศรษฐกิจ 10 ชาติที่มี GDP มากที่สุดซึ่งเป็นที่รับรู้ว่าเป็นประเทศที่มีบทบาทต่อโลกอย่างมาก3 อานาจทางเศรษฐกิจนั้นเป็นต้นทุนสาคัญในการดาเนินนโยบายระหว่างประเทศ โดยมีผลใน หลายด้านด้วยกัน เช่น การช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจโดยตรง การพึ่งพาด้านเศรษฐกิจระหว่างกัน และ การใช้งบประมาณที่มีในการดาเนินนโยบายอื่น ๆ จนอาจกล่าวได้ว่าในบางมุมนั้นนโยบายต่างประเทศ และนโยบายทางเศรษฐกิจคือเรื่องเดียวกันด้วยซ้าไป แม้นโยบายด้านเศรษฐกิจจะดูเป็นเป็นเรื่อง ภายในประเทศมากกว่า เพราะทั้งต่างเอื้อประโยชน์ต่อกันอย่างแยกไม่ออก โดยเฉพาะในปัจจุบันที่โลก ขับเคลื่อนภายใต้แนวคิดทุนนิยมทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผูกพันกับเศรษฐกิจมากขึ้น ภาพที่ 3 รัฐบาลอินโดนีเซียสามารถเพิ่มงบประมาณด้านการทหารอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ ผ่านมา เนื่องจากเศรษฐกิจมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง4
  • 7. 4 เมื่อพิจารณาจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น จะเห็นได้ว่าชาติที่มีอิทธิพลมากมักจะมีขนาดเศรษฐกิจ ที่ใหญ่ และในทางกลับกันชาติใดที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ขึ้นก็จะมีอิทธิพลมากขึ้นโดยสัมพัทธ์ เช่น สหรัฐฯ ยังคงเป็นมหาอานาจของโลกอยู่ก็ด้วยงบประมาณมหาศาลที่ทาให้การให้ความช่วยเหลือชาติ ต่าง ๆ เป็นไปได้ การมีตลาดที่ใหญ่ทาให้ชาติต่าง ๆ หวังที่จะได้รับมาตรการลดหย่อนภาษีนาเข้าและ เลี่ยงการถูกกีดกันทางการค้า และการที่การทหารของสหรัฐฯ นั้นเข้มแข็งที่สุดในโลกก็ด้วยงบประมาณ ทางทหารที่รัฐบาลสหรัฐฯ สนับสนุน ในทางกลับกันประเทศที่มีอัตราการเติบของเศรษฐกิจที่สูงก็จะมี บทบาทมากขึ้นด้วย เช่น ประเทศจีนจากเดิมที่เน้นแต่การดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของตนและเลี่ยง การยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในของประเทศอื่น ก็ต้องเปลี่ยนแนวโนบายสู่การเข้ามาเกี่ยวข้องกับกิจการ ภายในของชาติอื่น เนื่องจากผลประโยชน์แห่งชาติของจีนนั้นไปตั้งอยู่ในประเทศอื่นมากขึ้น เช่น การที่ จีนส่งกาลังทหารเข้าสู่อัฟกานิสถานเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย เนื่องจากเกรงว่าความไม่สงบใน อัฟกานิสถานจะกระทบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจของจีนในปากีสถานด้วย 2.อิทธิพลในระดับระหว่างประเทศ นิยามหนึ่งของอานาจนั้นคือความสามารถที่จะทาให้เป้าหมายทาในสิ่งที่ผู้มีอานาจต้องการ หรือไม่ทาในสิ่งที่ผู้มีอานาจไม่ต้องการ หรือผู้มีอานาจจะไม่ทาตามสิ่งที่อีกฝ่ายหนึ่งต้องการ ไม่ว่าผู้มี อานาจจะกระทาด้วยการบีบบังคับหรือการจูงใจก็ตาม ด้วยเหตุนี้เองการจะชี้วัดว่าประเทศใดประเทศ หนึ่งเป็นมหาอานาจหรือไม่ต้องพิจารณาจากอิทธิพลและบทบาทในเวทีระหว่างประเทศ เช่น คณะมนตรี ความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ประกอบด้วย 5 ชาติมหาอานาจ คือ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราช อาณาจักร และสหรัฐฯ ซึ่งมีอภิสิทธิ์ในการล้มมติ (veto) ของสหประชาชาติได้ หรือการที่ตุรกีพยายามที่ จะเข้าเป็นสมาชิก EU เพื่อต้องการมีส่วนกาหนดทิศทางของ EU อีกทั้งต้องการการยอมรับจาก ประชาคมโลก และการพยายามเป็นตัวกลางในการเจรจาประเด็นความขัดแย้งของประเทศในภูมิภาค ตะวันออกกลาง เช่น กรณีสงครามกลางเมืองในซีเรียและความขัดแย้งระหว่างซาอุดิอาระเบียและกาต้าร์ 3.Soft Power ที่น่าดึงดูด ภาพที่ 4 อันดับประเทศที่มี Soft Power มากที่สุด 10 อันดับแรก จัดอันดับโดยสถาบัน Portland Communications5
  • 8. 5 ในปัจจุบันโลกได้ก้าวสู่ยุคสมัยที่การทาสงครามกลายเป็นเรื่องที่ยาก เนื่องจากบทเรียนจากอดีต ที่ผ่านมานั้นทาให้รัฐต่าง ๆ ตระหนักว่าการสร้างสงครามมักจะนามาสู่ความสูญเสียที่มากกว่าประโยชน์ ที่ได้รับ ด้วยเหตุนี้จึงมีมาตรการร่วมกันที่จะเลี่ยงมิให้สงครามเกิดขึ้น เช่นนี้แล้วหากชาติใดชาติหนึ่ง ต้องการยกระดับอานาจของตัวเองจึงต้องพึ่งพาวิธีการที่มิใช่การใช้ความรุนแรง และเน้นไปที่การจูงใจ มากกว่าการบีบบังคับ นโยบายต่างประเทศที่ในแบบ Soft Power ที่เน้นการจูงใจนั้นมีอยู่ด้วยกันหลากหลายวิธีและมี ความซับซ้อนพอสมควร เช่น ด้านเศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม มนุษยธรรม โดยเฉพาะในโลกยุค ปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและเศรษฐกิจโลกอยู่ในภาวะชะลอตัวยิ่งทาให้ต้องคิดอย่าง รอบคอบก่อนที่จะดาเนินนโยบายใด ๆ มิฉะนั้นแล้วจะเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณโดยใช่เหตุ เช่น การ ที่ตุรกีเน้นการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมในแอฟริกาและโลกมุสลิม รวมถึงการให้งบประมาณ สนับสนุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับมุสลิมทั่วโลก ทาให้มุสลิมจานวนมากมองว่าตุรกีคือรัฐมุสลิมต้นแบบที่ รัฐมุสลิมอื่น ๆ สมควรถือเป็นต้นแบบ ซึ่งจากการจัดอันดับประเทศทีมี Soft Power มากที่สุด 30 อันดับ แรก ปรากฎว่ามีเพียงตุรกีประเทศเดียวเท่านั้นที่เป็นประเทศมุสลิมที่ติดอันดับ 4.กาลังทหารที่เข้มแข็ง ภาพที่ 5 อันดับประเทศที่มีกองทัพเข้มแข็งมากที่สุด 10 อันดับแรก จัดโดยสถาบัน Global Firepower6 แม้ในปัจจุบันสงครามที่มีคู่ขัดแย้งระหว่างรัฐกับรัฐนั้นลดน้อยลงมากนับแต่สงครามเย็นจบลง และโลกเข้าสู่ยุคที่แข่งขันกันในสนามการค้ามากกว่าการรบ อย่างไรก็ตามความขัดแย้งตลอดจนการสู้รบ กับกลุ่มติดอาวุธที่ไม่ใช่รัฐกลับมีจานวนเพิ่มมากขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญ กระทั่ง กลุ่มติดอาวุธบางกลุ่ม เช่น ขบวนการรัฐอิสลาม มีศักยภาพใกล้เคียงกับรัฐบางรัฐด้วยซ้าไป ด้วยเหตุนี้รัฐ ยังจาเป็นที่ต้องรักษากาลังทางทหารไว้เพื่อการประกันความปลอดภัยมั่นคงของชาติ อีกทั้งในโลก ปัจจุบันที่มีความขัดแย้งในหลายพื้นที่ซึ่งสามารถถูกยกระดับกลายเป็นสงครามระหว่างชาติได้โดยง่าย เช่น สงครามกลางเมืองซีเรีย ความขัดแย้งในแคว้นแคชเมียร์ เป็นต้น โดยเฉพาะประเทศมหาอานาจที่ มักถูกคาดหวังให้เข้าไปมีส่วนร่วมในความขัดแย้งขนาดใหญ่เหล่านี้เสมอ จึงจาเป็นต้องมีกาลังทหารที่ สามารถส่งไปประจาการตามที่ต่าง ๆ ได้มิใช่เฉพาะปกป้องมาตุภูมิเท่านั้น
  • 9. 6 และในยุคโลกาภิวัตน์ที่ผลประโยชน์ของชาติหนึ่ง ๆ สามารถไปตั้งอยู่ ณ ที่แห่งใดก็ได้ของโลก แม้จะเป็นพื้นที่ซึ่งมีความขัดแย้งอยู่ก็ตาม ในบางกรณีจึงจาเป็นที่ต้องมีกาลังทหารที่ส่งเข้าประกบเพื่อ ดูแลด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะมหาอานาจที่มีขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่ เช่น สหรัฐฯ ที่มีผลประโยชน์ด้าน พลังงานในตะวันออกกลางอย่างมาก หรือการที่จีนต้องส่งกาลังเข้าไปยังเอเชียกลางเพื่อรักษาความสงบ เรียบร้อยในภูมิภาคซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อความสาเร็จของโครงการ Belt & Road 5.การรับผิดชอบต่อประชาคมโลก ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 มนุษยชาติได้รับบทเรียนว่าการปล่อยให้ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นอนาธิปไตยตามโดยแต่ละชาติสนใจเฉพาะผลประโยชน์แห่งชาติของตน เท่านั้น จะนามาซึ่งวิกฤติการณ์ระหว่างประเทศที่ลุกลามขยายตัวจนยากจะยุติ และส่งผลกระทบต่อ ประชาคมโลกโดยรวม เช่น การที่อังกฤษและฝรั่งเศสเลี่ยงที่จะทาสงครามกับนาซีเยอรมัน จนในที่สุดฮิต เลอร์สามารถขยายอานาจของนาซีได้สาเร็จอันทาให้ยุโรปไร้เสถียรภาพ ทั้งที่ในตอนแรกนั้นเยอรมันมิได้ มีกาลังเข้มแข็งพอที่จะเอาชนะฝ่ายสัมพันธมิตรได้ ฉะนั้นจึงต้องมีการสร้างองค์กรระหว่างประเทศขึ้นใน ภายหลังคือองค์กรสหประชาชาติที่มีหน้าที่คอยรักษาระเบียบโลกไว้ โดยคาดหวังว่าชาติที่เป็น มหาอานาจนั้นต้องสนใจในผลประโยชน์ของประชาคมโลกโดยรวมมากกว่าการสนใจเฉพาะผลประโยชน์ แห่งชาติตน ด้วยการเป็นผู้รักษาระเบียบระหว่างประเทศไว้มิใช่เป็นสมาชิกเพียงอย่างเดียว นอกจาก ปัญหาสงครามแล้วยังมีปัญหาอื่น ๆ อีก เช่น ผู้ลี้ภัยจากสงคราม ภาวะโลกร้อน การแพร่ระบาดของโลก ทานองเดียวกัน ชาติที่เริ่มมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ขึ้น แม้จะไม่มีบทบาทในการดูแลระเบียบโลก เทียบเท่าชาติมหาอานาจ แต่จะเห็นบทบาทในระดับภูมิภาคที่มากขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นจากการชาตินั้น ๆ ต้องการได้รับการยอมรับจากนานาชาติ หรือเกิดจากการเรียกร้องของนานาชาติก็เป็นไปได้เช่นกัน จากทั้ง 5 ประเด็นข้างต้น พอจะใช้ชี้ให้เห็นได้ว่าชาติใดบ้างที่กาลังมีอิทธิพลมากขึ้นซึ่งจะ กลายเป็นอานาจใหม่ของโลกในไม่ช้า โดยพิจารณาจากการดาเนินนโยบายของแต่ละชาติทั้งที่เป็น Hard Power และ Soft Power ว่ามีความสอดคล้องกับ 5 ประเด็นดังกล่าวมากน้อยเพียงใด เช่น ความเจริญ ด้านเศรษฐกิจ บทบาทในเวทีระหว่างประเทศต่อตัวแสดงทั้งที่เป็นรัฐและไม่ใช่รัฐ อานาจทางการทหาร
  • 10. 7 บทที่ 1 การผงาดของชาติมุสลิม โลกมุสลิมอยู่ที่ไหน ? ภาพที่ 6 แผนที่แสดงประเทศที่มีมุสลิมอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก7 ในความเข้าใจของคนทั่วไปภูมิภาคที่มีมุสลิมอาศัยอยู่มากคือภูมิภาคตะวันออกกลาง หรือโลกอาหรับ แต่ในความเป็นจริงแล้วยังมีภูมิภาคอื่น ๆ ที่มีมุสลิมอาศัยอยู่จานวนมากเช่นกัน เพราะ เป็นเวลากว่า 1,400 ปีแล้วที่อิสลามได้ถูกเผยแพร่จากมหานครมักกะฮและมาดีนะฮไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะแอฟริกา เอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีความหลากหลายทางชาติ พันธุ์ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ซึ่งรวมแล้วมีมุสลิมกว่า 1.7 พันล้านคนหรือราว 1 ใน 4 ของประชากร โลกทีเดียว ฉะนั้นหากโลกมุสลิมเจริญก้าวหน้าขึ้นแล้วจะมีบทบาทต่อโลกมากและสมควรอย่างยิ่งที่ไทย ต้องเตรียมพร้อมรับมือกับปรากฏการณ์นี้เพื่อให้เราสามารถวางบทบาทของชาติไทยอย่างเหมาะสม ประเทศ จานวนประชากร ที่เป็นมุสลิม สัดส่วนต่อประชากร ทั้งหมดในประเทศ สัดส่วนต่อประชากร มุสลิมทั้งหมดในโลก ภาพที่ 7 ประเทศที่มีประชากรมุสลิมมากที่สุด 4 ประเทศแรก ซึ่งไม่ใช่ประเทศอาหรับ
  • 11. 8 หากไม่มองจากกรอบของรัฐชาติ แต่มองโดยใช้กรอบ “ประชาชาติเดียวกัน” (Ummah) ของมุสลิมแล้ว ประเด็นหนึ่งที่ชี้วัดถึงการขยายตัวของประชาชาติมุสลิมคืออัตราการเพิ่มขึ้นของ ประชากร เนื่องจากตามความเชื่อของชาวมุสลิมนั้นการมีลูกถือเป็นความดีที่ศาสนาส่งเสริม แม้จะเผชิญ ความกดดันทางเศรษฐกิจอย่างไรเสียก็ยังคงอัตราการเจริญพันธุ์ไว้ในระดับที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของสังคม นั้น ๆ ซึ่งสามารถเห็นได้ชัดเจนในทวีปยุโรปที่สัดส่วนประชากรมุสลิมเมื่อเทียบกับประชากรยุโรป ทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นที่อัตราร้อยละ 1 ในทุก ๆ 10 ปี จากสถิติในปี ค.ศ.1990 ที่มีประชากรมุสลิมร้อยละ 4 ได้เพิ่มขึ้นสู่ร้อยละ 6 ในปี ค.ศ. 2010 ซึ่งในภาพรวมระดับโลกก็สะท้อนการเพิ่มของประชากรในอัตราที่ ใกล้เคียงกัน ถ้ามองโดยใช้กรอบนี้จะเห็นถึงบทบาทของโลกมุสลิมที่จะค่อย ๆ เพิ่มมากขึ้นตามลาดับใน หลายพื้นที่ทั่วโลกและยากที่จะหยุดยั้งแนวโน้มนี้ได้ โดยเฉพาะเมื่ออัตราการเจริญพันธุ์ทั่วโลกกาลัง ลดลงทาให้ทรัพยากรแรงงานจะเป็นที่ต้องการมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาประเทศมุสลิมทุกประเทศแล้วแน่นอนว่าย่อมมีประเทศที่อยู่ ในช่วงตัวหรือถดถอยด้วยซ้าไป อีกทั้งยังมีความขัดแย้งระหว่างกันอีกด้วย ดังที่เราเห็นได้จากสงคราม กลางเมืองทั้งในซีเรียและเยเมน แต่ในอีกด้านหนึ่งเมื่อมองไปยังบางประเทศแล้วจะเห็นว่ามีแนวโน้มการ พัฒนาทั้งในด้านเศรษฐกิจและด้านอื่น ๆ อย่างโดดเด่น และมีความพยายามที่จะสร้างเป็นหนึ่งเดียวให้ เกิดขึ้นอีกด้วย อันจะจะทาให้โลกมุสลิมโดยรวมมีบทบาทสาคัญต่อโลกมากขึ้นอย่างแน่นอน การผงาดของชาติมุสลิม ดังที่กล่าวไปแล้วว่าลักษณะของประเทศที่กาลังมีบทบาทและอานาจมากขึ้นสามารถ สังเกตได้จากตัวชี้วัดข้างต้น ซึ่งรายงานฉบับนี้จะใช้ตัวชี้วัด 2 ด้านคือ เศรษฐกิจ และ Soft Power เพื่อ วิเคราะห์การผงาดขึ้นของโลกมุสลิม เนื่องจากใน 2 ด้านนี้นั้นเป็นโอกาสที่ไทยจะสามารถเข้าไปมีส่วน ร่วมเพื่อนาผลประโยชน์สู่ชาติได้มาก ซึ่งจะเน้นไปยังประเทศซึ่งมีการผงาดอย่างโดดเด่นเป็นอันดับต้น ๆ ของโลกมุสลิม คือ ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และอินโดนีเซีย 1.เศรษฐกิจ ขนาดของเศรษฐกิจมีความสาคัญต่อรัฐมาก เนื่องจากเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนิน นโยบายของรัฐ หากไม่มีงบประมาณเพียงพอก็ยากที่จะดาเนินนโยบายต่าง ๆ ได้สาเร็จ ทั้งนี้เมื่อเรียง ตามลาดับประเทศตามขนาดเศรษฐกิจโดยธนาคารโลกแล้ว พบว่าใน 20 ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจ ใหญ่ที่สุดมีประเทศมุสลิมอยู่ด้วยกัน 3 ประเทศ คือ ซาอุดิอาระเบีย ตุรกี และ อินโดนีเซีย
  • 12. 9 ภาพที่ 8 ประเทศที่มี GDP มากที่สุดเป็นอันดับ 11 – 208 1.1 ซาอุดิอาระเบีย : เมื่อโลกกาลังก้าวพ้นยุคแห่งน้ามัน ในอดีตนั้นผู้คนในดินแดนซาอุฯมิได้ร่ารวยแต่อย่างใด หากแต่เป็นเพียงชนเผ่าอาหรับเร่ร่อน ยากจนที่ทามาหาเลี้ยงชีพด้วยการเลี้ยงสัตว์และค้าขาย เนื่องด้วยความแห้งแล้งของทะเลทรายทาให้ ชีวิตความเป็นอยู่ไม่อาจศิวิไลซ์ได้เท่าใดนัก แต่แล้วทุกอย่างก็เริ่มเปลี่ยนไปเมื่อมีการค้นพบแหล่ง น้ามันดิบปริมาณมหาศาลทางภาคภูมิภาคตะวันออกของประเทศในปี ค.ศ. 1938 และเริ่มผลิตเพื่อ ส่งออกอย่างเต็มกาลังใน ค.ศ. 1941 ภายใต้การดาเนินการของบริษัท Aramco (Arabian American Oil Company) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างสหรัฐฯ ที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยีและซาอุดิอาระเบียผู้เป็น เจ้าของน้ามัน นี่นับเป็นจุดเริ่มต้นของซาอุดิอาระเบียยุคใหม่ที่ร่ารวยขึ้นอย่างมหาศาลและใช้ความร่ารวย นี้เป็นบันไดที่ปีนป่ายไปสู่การสร้างชาติและการผันตัวเป็นมหาอานาจในภูมิภาคได้สาเร็จ ราคาน้ามันกาลังตกต่า ภาพที่ 9 กราฟเส้นแสดงแนวโน้มราคาน้ามันที่ตกต่าลงอย่างต่อเนื่อง9 ความมั่นคงของเศรษฐกิจ การเมือง และการต่างประเทศ ของซาอุดิอาระเบียนั้นผูกอยู่กับรายได้ จากการขายน้ามันดิบเป็นหลัก โดยกว่า 92.5 % ของรายได้ของรัฐบาลมาจากธุรกิจภาคปิโตรเลียม และ กว่า 95 % ของการผลิตน้ามันนั้นมาจากบริษัท Aramco ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของรัฐ ด้วยความร่ารวย
  • 13. 10 อย่างมหาศาลที่ได้มาอย่างไม่ยากเย็นนักทาให้พลเมืองซาอุดิอาระเบียได้รับสวัสดิการที่ดีจากรัฐแทบทุก ด้านโดยที่ไม่ต้องเสียภาษีให้รัฐเลย กระแสต่อต้านรัฐบาลจึงมีน้อยมาก กระทั่งกระแสอาหรับสปริงส์ก็ แทบไม่ส่งผลกระทบใด ๆ ต่อรัฐบาล ในส่วนการต่างประเทศนั้นซาอุดิอาระเบียได้แปลงงบประมาณที่มี เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดาเนินนโยบายทั้งในรูป Hard Power และ Soft Power เช่น การทาสงคราม กับกลุ่มกบฏชีอะห์ฮูซี่ในเยเมนซึ่งถูกมองว่าเป็นภัยต่อความมั่นคง การให้เงินทุนช่วยเหลือแก่ประเทศ อาหรับที่ไม่ใช่ประเทศร่ารวย เช่น อียิปย์ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ นอกจากการใช้ความร่ารวยจาก น้ามันเพื่อดาเนินนโยบายแล้ว ยังมีการใช้น้ามันในฐานะยุทธวิธีหนึ่งในการดาเนินนโยบายโดยตรง เช่น เมื่อช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน บริษัท Saudi Aramco ได้ยุติการส่งน้ามันแก่อียิปย์ตามข้อตกลงความ ช่วยเหลือที่ซาอุดิอาระเบียสัญญาว่าจะส่งน้ามันให้กว่าปีละ 700,000 ตันต่อปี ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่าเป็น ผลจากการที่อียิปย์นั้นไม่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการต่อต้านอิทธิพลของอิหร่านและรัฐบาลซีเรียตามความ คาดหวังของซาอุดิอาระเบีย เมื่อพิจารณาจากข้อเขียนข้างต้น จะเห็นว่าการดาเนินการทางการเมืองทั้งภายในและภายนอก ประเทศนั้นล้วนมีฐานมาจากความมั่นคงทางเศรษฐกิจที่ได้เกิดจากการค้าน้ามันทั้งสิ้น แต่ในปัจจุบัน ราคาน้ามันได้ลดลงอย่างมีนัยยะสาคัญและมีแนวโน้มว่าจะลดลงไปมากกว่านี้ เนื่องจากสหรัฐฯ ที่เป็นผู้ นาเข้าน้ามันรายใหญ่ของโลกสามารถใช้เทคนิคใหม่เพื่อผลิตน้ามันได้เองกว่า 9 ล้านบาเรลต่อวัน (shell gas) ซึ่งเท่ากับความต้องการใช้น้ามันกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ อีกทั้งเทคโนโลยีใหม่ที่ทาให้โลกพึ่งพา น้ามันน้อยลง เช่น รถยนต์พลังงานไฟฟ้า ทาให้ราคาน้ามันที่เคยสูงมากกว่า 100 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาเรล ในช่วงก่อนปี ค.ศ. 2014 จึงค่อย ๆ ลดต่าลงจนในปัจจุบันอยู่ในระดับราคาที่ต่ากว่า 50 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาเรล ไปแล้ว แต่สิ่งที่พยุงมิให้เศรษฐกิจของซาอุดิอาระเบียไม่กระทบมากนักคือความ ต้องการน้ามันจากจีนซึ่งเป็นผู้ใช้น้ามันมากที่สุด ภาพที่ 10 กราฟเทียบปริมาณการนาเข้าน้ามันจากประเทศต่าง ๆ ระหว่างสหรัฐฯ และจีน ซึ่งจีนนาเข้ามากกว่านับแต่ปี 2013 เป็นต้นมา10
  • 14. 11 ภาพที่ 11 กราฟแสดงปริมาณน้ามันดิบที่ซาอุฯส่งออกไปยังสหรัฐฯ มีจานวนลดลง แต่กลับส่งออก ยังจีนมากขึ้น จนมีปริมาณที่ใกล้เคียงกันนับแต่ปี 2009 เป็นต้นมา11 ภาพที่ 12 ตลอดมาราวร้อยละ 80-90 ของรายได้ภาครัฐซาอุฯมาจากกิจการที่เกี่ยวข้องกับน้ามัน12 ผลของราคาน้ามันที่ตกต่า ความท้าทายที่ต้องรับมือ โดยปกติแล้วรัฐต่าง ๆ นั้นล้วนมีปัญหาหรือความท้าทายบางประการที่คอยบั่นทอนความมั่นคง ของรัฐทั้งสิ้น หากรัฐใดสามารถเอาชนะปัญหาเหล่านั้นได้ก็จะสามารถดารงความเป็นรัฐได้ต่อไป หรือ อาจจะยกระดับสถานะของรัฐให้มั่นคงมากขึ้นทั้งในระดับภายในของรัฐเองรวมถึงระดับระหว่างประเทศ ซึ่งแต่ละรัฐนั้นมีความท้าทายที่ต้องเผชิญแตกต่างกันไปตามบริบทที่ไม่เหมือนกัน และมีวิธีจัดการปัญหา ไม่เหมือนกันด้วย สาหรับความท้าทายที่ซาอุดิอาระเบียต้องพบนั้นสามารถแบ่งออกอย่างคร่าวได้เป็นสองระดับ ด้วยกัน คือ ระดับภายในประเทศและระดับระหว่างประเทศ
  • 15. 12 ความท้าทายระดับระหว่างประเทศ ดังที่กล่าวมาแล้วว่าซาอุดิอาระเบียใช้ความร่ารวยที่ได้จากการขายน้ามันมาแปลเป็นเครื่องมือใน การดาเนินนโยบายต่างประเทศจนสามารถยกระดับตัวเองให้กลายเป็นมหาอานาจในภูมิภาคได้สาเร็จ แน่นอนว่าการขึ้นมาเป็นมหาอานานนั้นย่อมต้องมีคู่แข่งที่คอยท้าทาย ซึ่งคู่แข่งที่สาคัญที่สุดคืออิหร่าน เนื่องจากความแตกต่างอย่างมากในสองประเด็นด้วยกัน คือความเชื่อทางศาสนาและระบอบการ ปกครอง ซึ่งความเข้มข้นของความขัดแย้งนั้นได้ทวีมากขึ้นจากความไม่ลงรอยในหลายประการ โดยเฉพาะสงครามกลางเมืองในซีเรียและเยเมนที่เป็นสงครามตัวแทนที่ซาอุดิอาระเบียและอิหร่าน ประชันกาลังทางทหารในสมรภูมินี้ ยิ่งไปกว่านั้นอิหร่านกาลังอยู่ในช่วงที่ขยายอิทธิพลของตนมายัง ภายนอกประเทศ เนื่องจากการคว่าบาตรจากโลกตะวันตกนั้นถูกยกเลิก และจีนกาลังสนใจที่จะลงทุนใน อิหร่านเป็นจานวนเงินมหาศาลจากการที่ภูมิศาสตร์ของอิหร่านนั้นอยู่ในเส้นทางสาคัญของโครงการ Belt & Road ในทางกลับกันซาอุดิอาระเบียกาลังสูญเสียความร่ารวยที่เป็นฐานสาคัญของการดาเนินนโยบาย ระหว่างประเทศ และสหรัฐฯ ที่เป็นพันธมิตรหลักมาโดยตลอดเริ่มเอนเอียงไปทางอิหร่าน นับวันอิหร่าน จึงกลายเป็นภัยที่นับวันยิ่งมีอันตรายต่อเสถียรภาพของซาอุดิอาระเบียมากขึ้น นอกจากความท้าทายที่เป็นรัฐแล้วก็ยังมีความท้าทายที่ไม่ใช่รัฐอีกด้วย นั่นคือกลุ่มก่อการร้าย ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นกลุ่มที่อยู่ในแนวทางซุนนีและชีอะห์ซึ่งตั้งฐานที่มั่นอยู่รายล้อมซาอุดิอาระเบีย สาหรับ กลุ่มที่เป็นซุนนีนั้นหมายมั่นที่จะโค่นราชวงศ์อัซซาอูดลงเนื่องจากมองว่าหมดความชอบธรรมที่จะเป็น ผู้ดูแลสองมหานครศักดิ์สิทธิอีกต่อไป เนื่องจากกลุ่มก่อการร้ายเหล่านี้มีมุมมองที่ค่านข้องอุดมคติว่าการ ที่ซาอุดิอาระเบียร่วมมือกับรัฐตะวันตกนั้นนับแต่ยุคสงครามเย็นนั้นเป็นการทรยศต่ออุดมการณ์อิสลาม อันสูงส่ง ส่วนกลุ่มที่อยู่ในแนวทางชีอะห์นั้นไม่พอใจที่ราชวงศ์ซุนนีกลายเป็นผู้ปกครองสองมหานครศักดิ์ สิทธิแทนที่จะเป็นคนในนิกายชีอะห์ ฉะนั้นซาอุดิอาระเบียจึงต้องคงหรือเพิ่มงบประมาณทางทหารอย่าง เลี่ยงไม่ได้ ระดับภายในประเทศ ภายหลังที่ซาอุดิอาระเบียสามารถส่งออกน้ามันดิบได้สาเร็จในปี ประเทศนี้ก็เกิดการ พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานอย่างรวดเร็วพร้อมด้วยสวัสดิการชั้นเยี่ยมที่รัฐมอบให้กับประชาชน ทาให้ เกิดเป็นความลักลั่นประการหนึ่งคือประเทศที่อยู่ภายใต้ระบอบการปกครองที่เป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที่ถือว่าเป็นระบอบที่มักถูกมองว่าล้าหลัง กลับมีการพัฒนาด้านวัตถุที่เป็นสมัยใหม่อย่างชัดเจน ความลัก ลั่นนี้มักไม่เกิดขึ้นกับประเทศอื่น ๆ เนื่องจากความเจริญก้าวหน้านั้นมาจากภาษีที่พลเมืองเสียให้กับรัฐ ทาให้ในที่สุดพลเมืองจะเรียกร้องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบริหารประเทศ เช่น การก่อหวอด Boston Tea party ที่ชาวอเมริกันเรียกร้องการมีตัวแทนของตนในการปกครองของอังกฤษ แต่ใน ประเทศอ่าวอาหรับที่ร่ารวยจากน้ามันกลับมีความสัมพันธ์ที่ตรงกันข้าม เพราะนอกจากประชาชนจะไม่ ต้องเสียภาษีให้รัฐแล้ว รัฐยังมีงบประมาณมหาศาลที่จะมอบ“ชีวิตที่ดี”แก่ประชาชน ทาให้พลเมืองนั้นไม่ คิดล้มล้างบรรดาเจ้าผู้ปกครองที่ครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของการเมืองเสียสิ้น หรือจะมีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น ที่เรียกร้องให้เจ้าผู้ปกครองถอดห่างจากการเมือง ซึ่งในทางวิชาการสามารถเรียกได้ว่า A Rentier Social Contract หรือสัญญาประชาคมแบบสวัสดิการ
  • 16. 13 แต่แล้วความพิเศษดังกล่าวนั้นกาลังถูกท้าทายเนื่องจากราคาน้ามันที่ดิ่งลงมาโดยตลอด และซาอุดิอาระเบียนั้นพึ่งพารายได้จากน้ามันมากกว่า 90 % ของงบประมาณแผ่นดิน หากเมื่อใดที่ แหล่งรายได้ก้อนหลักนี้ไม่อาจเป็นที่พึ่งได้อีกต่อไปแล้วก็มีความเสี่ยงสูงว่าสัญญาประชาคมแบบพิเศษ ดังกล่าวอาจถูกฉีกลงได้ทุกเมื่อเช่นที่เกิดความเสี่ยงขึ้นในปรากฏการณ์อาหรับสปริงส์ ฉะนั้นแล้วการ เปลี่ยนแปลงนโยบายเศรษฐกิจจึงเป็นเรื่องจาเป็นที่ไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้เลย แผนพัฒนาเศรษฐกิจใหม่เพื่อลดการพึ่งพารายได้จากน้ามัน “กษัตริย์อับดุลอาซิสและผู้ร่วมสร้างชาติซาอุดิอารเบียนั้นไม่ได้ครอบครองน้ามัน และสร้างชาติ จนสาเร็จโดยไม่มีน้ามัน และพวกเราขับเคลื่อนชาติโดยไม่มีน้ามัน และพวกเขามีชีวิตอยู่ในอาณาจักรนี้ โดยไม่มีน้ามัน” มกุฎราชกุมาร มูฮัมหมัด บิน ซัลมาน ได้กล่าวไว้ในการแถลงข่าวเกี่ยวเนื่องกับโครงการ “วิสัยทัศน์ 2030” ซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่จะยกระดับเศรษฐกิจของซาอุดิอาระเบียเพื่อลดการพึ่งพา รายได้จากน้ามันให้น้อยลง โดยตามแผนที่ได้แถลงไว้ซาอุดิอาระเบียจะสามารถเริ่มลดการพึ่งพาน้ามัน ได้อย่างมีนัยยะสาคัญภายในปี ค.ศ. 2020 และเปลี่ยนรูปแบบเศรษฐกิจอย่างสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 2030 โดยลักษณะสาคัญของแผนนี้คือการนาเงินทุนสารองของชาติที่มีอยู่มหาศาลนั้นมาลงทุนพัฒนาในภาค ส่วนอื่น ๆ อย่างบูรณาการและเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีรายละเอียดบางส่วนดังต่อไปนี้ ภาพที่ 13 มกุฎราชกุมาร มูฮัมหมัด บิน ซัลมาน ประธานผู้ดูแลโครงการ Vision 2030
  • 17. 14 ภาพที่ 14 เป้าหมายของ Vision 2030 คือการเน้นการลดการพึ่งพาน้ามันและเพิ่มศักยภาพของเอกชน - การศึกษาและการวิจัย ภาพที่ 15 มหาวิทยาลัย “KAUST” (King Abdullah University of Science and Technology)
  • 18. 15 King Abdullah University of Science and Technology หรือ KAUST นั้น เป็น มหาวิทยาลัยที่เน้นด้านการวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองญิดดะห์ซึ่งเป็นเมืองสาคัญที่อยู่ทางชายฝั่งตะวันตกของ ประเทศ มีพื้นที่กว้างกว่า 36 ตารางกิโลกเมตร KAUST ถูกตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 2009 เพื่อยกระดับการวิจัย และการศึกษาของซาอุฯ เป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักเพื่อดึงดูดนักวิจัยจากทั่ว โลก โดยเปิดทาการสอนเฉพาะในระดับปริญญาโทและเอก ในปี 2016 KAUST ได้รับการยอมรับจาก นิตยสาร Nature ว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่พัฒนาด้านการวิจัยที่มีคุณภาพได้เร็วเป็นอันดับที่ 19 ของโลก และในปี 2015 -2017 ยังได้รับการยอมรับจากสถาบัน QS Ranking ว่าเป็นมหาลัยหนึ่งที่ผลิตงานวิจัย ซึ่งได้รับการอ้างอิงมากที่สุดเมื่อเทียบต่อจานวนบุคลากร KAUST นั้นเป็นมหาวิทยาลัยที่เรียกได้ว่าใช้ระบบและแนวคิดของประเทศที่พัฒนาแล้วเป็น รากฐาน ทั้งในแง่กฎระเบียบ สถาปัตยกรรม หลักสูตร และวัฒนธรรม ต่างจากมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ของ ซาอุฯ มาก เนื่องจากหวังว่ามหาวิทยาลัยนี้จะเป็นกลไกสาคัญที่สร้างนวัตกรรมและวิจัยเพื่อยกระดับให้ ซาอุฯ กลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งสามารถยกระดับให้ทัดเทียมกับมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลกได้ อย่างรวดเร็วเนื่องจากมีงบประมาณมหาศาลที่ใช้ดึงดูดบุคลากรชั้นนา นอกจากสวัสดิการพื้นฐานอย่างที่ อยู่อาศัยหรือสาธารณสุขในระดับดีมากแล้ว ยังมีทุนให้นักศึกษาระดับปริญญาโททุกคนขั้นต่าอยู่ที่ 20,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี ซึ่งแน่นอนว่าต้องมอบให้นักศึกษาระดับปริญญาเอก นักวิจัย และผู้สอน มากกว่ามาก และพัฒนาระบบต่าง ๆ เพื่อรองรับการวิจัยซึ่งไม่แพ้มหาลัยชั้นนาของโลก ดังจะเห็นได้ว่า ปัจจุบันราวร้อยละ 70 ของนักศึกษานั้นเป็นนักศึกษาต่างชาติจาก 60 ชาติทั่วโลก ทาให้ KAUST เป็น มหาวิทยาลัยหนึ่งที่มีนักศึกษาต่างชาติมากที่สุด ทั้งนี้ในอดีตมีสัดส่วนนักศึกษาต่างชาติมากกว่านี้มาก แต่ภายหลังรัฐบาลกาหนดสัดส่วนให้มีนักศึกษาภายในชาติมากขึ้นเพื่อหวังพัฒนาคนในชาติ ซึ่งหลังจาก สาเร็จการศึกษาไปแล้วกว่าครึ่งหนึ่งประกอบอาชีพเป็นนักวิจัยหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยชั้นนาทั่วโลก KAUST เป็นหนึ่งในความพยายามของซาอุดีอาระเบียที่จะส่งเสริมความหลากหลายทาง เศรษฐกิจในราชอาณาจักร และช่วยเปลี่ยนผ่านประเทศที่พึ่งพาเพียงรายได้จากอุตสาหกรรมน้ามัน ไปสู่ ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge-based economy) โดยมหาวิทยาลัยจะทางานร่วมกับทุกภาค ส่วน ตั้งแต่บริษัท หน่วยงานเอกชน องค์กรไม่แสวงผลกาไร และหน่วยงานรัฐ เพื่อช่วยกันส่งเสริมและ ผลักดันให้ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ที่คิดค้นในมหาวิทยาลัย ได้ถูกส่งต่อสู่สังคมและสร้าง แรงขับเคลื่อนในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังมีกองทุนนวัตกรรม KAUST Innovation Fund ที่ให้ความช่วยเหลือบริษัทสตาร์ท อัพด้านเทคโนโลยี ตั้งแต่การให้เงินทุนขั้นต้นไปจนถึงช่วงเริ่มต้นของการทาธุรกิจ ตลอดจนลงทุนใน บริษัทเทคโนโลยีชั้นนาจากต่างประเทศที่ต้องการดาเนินธุรกิจในซาอุดีอาระเบียและรับประโยชน์จาก การวิจัยของ KAUST อีกด้วย - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากน้ามันสู่แสงอาทิตย์และลม
  • 19. 16 ภาพที่ 16 NOMADD อุปกรณ์ขจัดฝุ่นให้แผงโซล่าเซล ในปัจจุบันซาอุดิอาระเบียพึ่งพาพลังงานหมุนเวียนน้อยมากเนื่องจากสามารถใช้น้ามันได้ในต้นทุนที่ถูก แต่ด้วย Vision 2030 ที่ต้องการลดการพึ่งพาน้ามันนั้นทาให้รัฐบาลมองเห็นความสาคัญของแหล่ง พลังงานอื่น ๆ โดยคาดว่าในปี 2023 จะใช้พลังงานหมุนเวียนให้ได้ร้อยละ 10 ของการใช้พลังงาน ทั้งหมดจากการผลิตไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์และลม ซึ่งประมาณว่าต้องใช้เงินลงทุนราว 3 – 5 หมื่นล้าน เหรียญสหรัฐฯ นอกจากจะช่วยในเรื่องสิ่งแวดล้อมแล้วยังเป็นการสร้างงานหลายพันตาแหน่งด้วย เนื่องจากรัฐบาลจะเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุนเองมากขึ้น ซึ่งมีหลายสิบบริษัททั้งในประเทศ และต่างชาติที่จะเข้ามาลงทุน ที่น่าจับตามองคือบริษัท Saudi Aramco ที่รัฐบาลซาอุฯเป็นเจ้าของซึ่งเป็น บริษัทผลิตน้ามันที่ใหญ่เป็นอันดับต้น ๆ ของโลกจะเข้ามามีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียน ด้วยเช่นกัน โดยคาดว่าจะช่วยเพิ่มรายได้ของบริษัทให้สูงขึ้นเนื่องจากธุรกิจน้ามันค่อนข้างอิ่มตัวแล้ว ตัวอย่างหนึ่งของนวัตกรรมด้านพลังงานที่ได้รับการจับตามองอย่างมากคือ NOMADD13 ซึ่งเป็น ระบบที่แก้ไขปัญหาสาคัญของ Solar Cells ในพื้นที่ทะเลทรายที่แม้จะมีปริมาณแดดมากแต่กลับผลิต พลังงานได้น้อยเนื่องจากถูกฝุ่นทรายบดบังแสงอยู่เสมอ บางครั้งอาจจะผลิตได้น้อยลงถึงร้อยละ 60 หาก มีพายุทะเลทราบ และระบบขจัดฝุ่นนั้นใช้พลังงานมากจนไม่คุ้มค่าที่จะลงทุน ซึ่งการทางานของ NOMADD นั้นคือการขจัดฝุ่นออกจากแผงรับแสงอาทิตย์ในพลังงานที่ต่านั่นเอง ความสาเร็จของ NOMADD มีส่วนสาคัญจาก KAUST Innovation Fund ซึ่งเป็นกองทุนที่อยู่ใต้มหาวิทยาลัย KAUST ที่มี จุดมุ่งหมายในการสนับสนุนธุรกิจซึ่งสร้างนวัตกรรมที่ช่วยแก้ปัญหาให้แก่ซาอุฯ ได้ โดยกองทุนนี้ได้ ลงทุนใน NOMADD ไปแล้วกว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
  • 20. 17 - การท่องเทียว แม้ในอดีตซาอุดิอาระเบียจะเป็นประเทศหนึ่งที่การขอวีซ่านั้นมีขั้นตอนยุ่งยากและล่าช้า เนื่องจากระบบราชการที่ไม่มีประสิทธิภาพ แต่ก็ยังเป็นประเทศที่มีชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศมาก เป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคตะวันออกกลางเนื่องจากเป็นจุดหมายในการทาพิธีฮัจย์ซึ่งเป็นการจาริกแสวง บุญของชาวมุสลิมทั่วโลก โดยในปีที่ผ่านมีผู้แสวงบุญราว 1.5 ล้านคน และมีผู้ทาอุมเราะฮหรือการจาริก อาสาอีก 3 ล้านคน แม้ทางการซาอุดิอาระเบียจะพยายามพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ เพื่อรองรับผู้ แสวงบุญให้มากขึ้นแต่ก็ยังไม่เพียงพอจนจาเป็นต้องจากัดจานวนวีซ่า ภายหลังที่ราคาน้ามันลดต่าลง อย่างมีนัยยะสาคัญทาให้รัฐบาลซาอุดิอาระเบียเล็งเห็นช่องทางที่จะเปิดให้ผู้แสวงบุญเดินทางท่องเที่ยว ไปในประเทศต่อภายหลังจากเสร็จสิ้นพิธีกรรมแล้ว อย่างน้อยที่สุดด้วยเส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่เชื่อม ระหว่างสองมหานครศักดิ์สิทธิมักกะฮและมาดีนะฮ เมือง KAEC และเมืองเจดดาห์ จะทาให้นักท่องเที่ยว เดินทางไปมาระหว่างเมืองเหล่านี้ด้วยความสะดวก นอกจากนั้นซาอุฯ ยังมีแผนสร้างแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอีกด้วย แม้ภูมิประเทศส่วนมาก จะเป็นทะเลยทรายที่มีอากาศร้อน แต่บริเวณชายฝั่งด้านตะวันตกที่ติดกับทะเลแดงนั้นมีความสวยงาม พอที่จะยกระดับเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ โดยเฉพาะการดาน้าเนื่องจากอุณหภูมิของน้าทะเลที่อุ่นทาให้ ปะการังและสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลมีความหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ ซึ่งซาอุฯ หวังว่าชายฝั่งทะเลแดงนี้จะ กลายเป็นเป้าหมายของนักท่องเที่ยวระดับสูงจากทั่วโลก และคาดว่าเมื่อโครงการนี้แล้วเสร็จจะสามารถ สร้างรายได้กว่า 3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และตาแหน่งงานกว่า 35,000 ตาแหน่ง
  • 22. 19 - เขตเศรษฐกิจพิเศษใหม่ ภาพที่ 18 “เมืองเศรษฐกิจกษัตริย์อับดุลลอฮ” (King Abdullah Economic City) หรือ “เค้ก” (KAEC) ภาพที่ 19 แผนผังของเมือง KAEC ที่ครอบคลุมทั้งท่าเรือขนาดใหญ่(A) เขตอุตสาหกรรม(B) ศูนย์กลางธุรกิจ(C) สถานศึกษา(D) สถานที่ท่องเที่ยว(E) และที่พักอาศัย(F)15 ในปี ค.ศ. 2005 ซาอุดิอาระเบียได้เปิดเผยถึงแผนการที่จะสร้างเมืองใหม่ภายใต้ชื่อ “เมือง เศรษฐกิจกษัตริย์อับดุลลอห์” (King Abdullah Economic City) หรือ “เค้ก” (KAEC) ซึ่งจะเป็นเมือง เศรษฐกิจพิเศษที่รองรับการค้าการลงทุนหลากหลายประเภท เพื่อเป็นแหล่งรายได้ใหม่ที่จะสามารถเข้า มาเสริมและทดแทนรายได้จากน้ามันในที่สุด โดยหวังว่าเมืองนี้จะสามารถดึงดูดภาคการผลิตจาก ประเทศจีนและนวัตกรรมจากโลกตะวันตกมารวมตัวกันในอภิเมืองแห่งนี้ ด้วยงบประมาณกว่า 3 ล้าน ล้านบาทที่มาจากภาคเอกชนทั้งหมดเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานตลอดจนทุกสิ่งที่จาเป็นเพื่อให้ที่นี่ เปรียบดั่งสวรรค์ของการลงทุน เช่น ท่าเรือขนาดยักษ์ ณ ชายฝั่งทะเลแดงที่รองรับตู้คอนเทนเนอร์กว่า 3 ล้านตู้พร้อมระบบจัดการที่ทันสมัยที่สุดซึ่งตั้งเป้าจะเป็นคู่แข่งกับท่าเรือของดูไบที่เป็นศูนย์กลางของ
  • 23. 20 ภูมิภาคในปัจจุบัน เขตอุตสาหกรรมพิเศษที่มีทุกอย่างที่นักลงทุนต้องการ และเขตที่อยู่อาศัยซึ่ง เพียบพร้อมไปด้วยสิ่งอานวยความสะดวก เช่น สถานศึกษา สถานพยาบาล และระบบขนส่งมวลชน นอกจากการลงทุนที่จะเป็นหัวใจหลักของเมืองนี้แล้ว ก็ยังหวังด้วยว่างานจานวนมหาศาลที่เกิดขึ้นใน เมืองนี้จะทาให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จะเติบโตด้วยเช่น ทางการหวังว่าจะมีผู้เข้าพักอาศัยไม่ต่ากว่า 2 ล้านคน ครอบคลุมพื้นที่ 180 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีพื้นที่กว้างทัดเทียมกับกรุงวอชังตัน ดีซี และยังหวัง ด้วยว่าเมืองนี้จะกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ ภาพที่ 20 แผนที่แสดงความหนาแน่นของประชากร ซึ่งชี้ให้เห็นว่ายังมีพื้นที่ว่างเปล่าอีกมาก ที่สามารถรองรับชาวต่างชาติได้หากพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรองรับ16 นอกจากการพัฒนาในด้านวัตถุแล้วทางผู้บริหารโครงการยังเตรียมความพร้อมในเรื่อง ทรัพยากรบุคคลด้วย ทางหนึ่งคือบรรดาคนหนุ่มสาวที่ออกไปร่าเรียนอย่างต่างประเทศจะมีตลาดงาน รองรับที่เหมาะสมแทนที่จะต้องทางานในต่างประเทศ และอีกทางคือการอานวยความสะดวกในการเข้า มาของแรงงานต่างชาติเพื่อทางานในตาแหน่งที่ขาดแคลน
  • 24. 21 ภาพที่ 21 เส้นทางรถไฟความเร็วสูงที่เชื่อมระหว่างเมืองสาคัญ เช่น มักกะฮ มาดีนะ ริยาด และ KAEC17 - ข้อวิจารณ์ต่อแผนปฏิรูป แม้ Vision 2030 จะมีการวางแผนไว้ดีเพียงใด แต่อาจจะไม่ประสบผลสาเร็จตามแผนเนื่องจากมี ความท้าทายหลายประการที่ซาอุฯ ต้องเผชิญ 1. ซาอุดิอาระเบียกาลังเผชิญกับความขัดแย้งที่อยู่รายล้อมประเทศ ทั้งคู่ขัดแย้งที่เป็นรัฐ เช่น อิหร่าน เยเมน กาต้า และมิใช่รัฐ เช่น IS ซึ่งการจัดการความขัดแย้งต่าง ๆ นั้นต้องใช้งบประมาณ มหาศาล อีกทั้งหากภายในประเทศเกิดความไม่สงบเรียบร้อยจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศอย่าง มาก 2. แม้จะมีประชากรในวัยแรงงานอยู่มากเนื่องจากมีอัตราการเกิดของประชากรมาก แต่กลับขาด แคลนแรงงานที่มีทักษะเฉพาะ เช่น แพทย์ วิศวกร ฯลฯ รวมถึงแรงงานไร้ทักษะที่ค่าแรงต่าอีกด้วย ทา ให้บรรษัทข้ามชาตินิยมจ้างชาวต่างชาติเข้ามาทางานแม้จะต้องจ่ายค่าวีซ่ามากขึ้นก็ตาม ทาให้ปัจจุบันมี ชาวต่างชาติที่อยู่ในซาอุดิอาระเบียอย่างถูกกฎหมายไม่ต่ากว่า 10 ล้านคน และที่อยู่อย่างไม่ถูกกฎหมาย อีกจานวนหนึ่ง จากพลเมืองซาอุฯที่มี 20 ล้านคน 3. Mckinsey ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนชื่อดังผู้วางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจของซาอุดิอาระเบียมิได้ คานึงถึงความพร้อมของกาลังคนที่จะทาหน้าที่บริหารแผนงานให้เกิดผลสาเร็จ และชนชั้นปกครอง ซาอุดิอาระเบียขาดประสบการณ์ในการบริหารเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่ไม่ใช่เศรษฐกิจน้ามันมาก่อน แผนนี้ จึงเป็นแผนที่เสี่ยงจะเกิดปัญหาในการปฏิบัติพอสมควร 4. แม้รายได้เฉลี่ยต่อหัวประชากรจะสูงและสวัสดิการต่าง ๆ ของรัฐนั้นดีมาก แต่ปัญหาความ เหลื่อมล้ายังมีอยู่มากเช่นกัน โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับสิทธิอาศัยแต่ไม่ได้รับสัญชาติซาอุฯ เช่น ชาวมุสลิม จาก 3 จังหวัดภาคใต้ที่เข้าไปอาศัยเมื่อนานมาแล้ว จะได้รับสวัสดิการและโอกาสการทางานที่น้อยกว่า พลเมืองซาอุฯ มาก
  • 25. 22 5.ระบบราชการที่ยุ่งยากและเชื่องช้า ระบบราชการของซาอุฯนั้นขึ้นชื่อเรื่องประสิทธิภาพที่ไม่ เพียงพอและยังขาดความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อแผนพัฒนา 2030 เป็นอย่างมากเพราะ ระบบราชการเปรียบได้ดั่งกระดูกสันหลังของการพัฒนาประเทศ หากยังไม่มีการปฏิรูประบบราชการ เสียก่อนก็ยากที่จะเกิดการปฏิรูปในภาคเอกชนที่เป็นผล อย่างไรก็ตามยังมีแนวโน้มที่ดีว่าซาอุฯ จะสามารถเอาชนะความท้าทายเหล่านี้ได้ หากเปิดกว้าง ให้ชาวต่างชาติที่มีความสามารถเข้ามาร่วมเป็นผู้ผลักดัน vision 2030 มากขึ้น เนื่องจากงบประมาณที่ ทางการมีอยู่นั้นมากเพียงพอที่จะดึงดูดผู้มีความสามารถจากทั่วโลกได้ไม่ยากนัก 1.2 ตุรกี : จากคนป่วยแห่งยุโรปสู่มหาอานาจใหม่ ความสาเร็จในการยกระดับเศรษฐกิจของตุรกีนั้นถือว่าโดดเด่นมาก ในปี 2003 ที่อัรโดกันก้าว ขึ้นเป็นประธานาธิบดีนั้น GDP ของประเทศอยู่ที่ราว 300,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แต่ในปัจจุบันได้ขึ้น มากกว่า 700,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทีเดียว ซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกับเศรษฐกิจของประเทศออสเตรเลีย เมื่อนับตามอานาจซื้อที่เป็นจริง อีกตัวอย่างหนึ่งที่ชี้ถึงความสาเร็จของตุรกีคือรายได้เฉลี่ยของประชากร ตุรกีกว่า 77 ล้านคนนั้นเคยอยู่ที่ราว 20% ของรายได้เฉลี่ยประชากรในสหภาพยุโรป แต่ในปัจจุบันได้ เพิ่มขึ้นจนใกล้ระดับ 70% แล้ว ซึ่งหากเศรษฐกิจของตุรกียังมีการเติบโตที่ดีเช่นนี้คาดว่ารายได้ของ ประชากรตุรกีจะทัดเทียมกับประชากรในสหภาพยุโรปภายในปี 2030 และกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว อย่างแท้จริง อันเป็นการลบคาสบประมาทว่าตุรกีเป็น “ผู้ป่วยของยุโรป”ลงอย่างสิ้นเชิง และจากการ คาดการณ์ของธนาคาร HSBC ชี้ว่าภายในปี 2050 ตุรกีจะก้าวขึ้นเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจเป็น อันดับ 12 ของโลก จากปัจจุบันซึ่งอยู่อันดับ 18 เมื่อเศรษฐกิจภายในประเทศดีขึ้นแล้วก็ทาให้บรรษัท สัญชาติตุรกีมีความมั่นใจและความพร้อมที่จะขยายกิจการออกไปยังต่างประเทศ ทาให้ปัจจุบันมีบริษัท มากกว่า 15,000 บริษัทที่กาการลงทุนในต่างประเทศเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แม้ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาจะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอเกอร์และปรากฏการณ์อาหรับสปริง ซึ่งกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศที่อยู่รายล้อมตุรกีและเศรษฐกิจโลกพอสมควร แต่นั่นกลับไม่ส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจของตุรกีมากนัก ซึ่งนี่คือสิ่งสะท้อนความเข้มแข็งของเศรษฐกิจตุรกีได้อย่างดี
  • 26. 23 ภาพที่ 22 คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจของตุรกีจะเติบโตมากที่สุดในกลุ่มประเทศ OECD จับตลาดยุโรป สินค้าที่ผลิตขึ้นจากตุรกีแม้จะมีราคาสูงกว่าสินค้าที่ผลิตจากจีนแต่ก็ได้รับการยอมรับถึงคุณภาพ ที่ดี สินค้าเกษตรก็ได้รับการตอบรับที่ดีเช่นเดียวกันเนื่องจากสภาพภูมิอากาศและพื้นที่เหมาะกับการทา เกษตร ส่วนในภาคท่องเที่ยวนั้นตุรกีติดอันดับ 1 ใน 10 จุดหมายการท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมที่สุดใน โลก ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะตุรกีมีที่ตั้งติดกับทวีปยุโรปซึ่งเป็นตลาดที่มีกาลังซื้อสูง ทาให้ลดระยะเวลา ค่าเดินทางและค่าขนส่งได้มาก ซึ่งการติดต่อค้าขายกับยุโรปนั้นมิได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญหากแต่เป็นความ พยายามของรัฐบาลตุรกีที่เดินหน้าเจรจาการค้ากับชาติต่าง ๆ นอกจากนี้ยังทาให้ตุรกีมีภาพลักษณ์ที่ดี และน่าลงทุนสาหรับนักลงทุนจากยุโรปอีกด้วย ภาพที่ 23 กราฟแสดงมูลค่าการค้าระหว่าง EU และ ตุรกีซึ่งเป็นตลาดใหญ่ที่สุด ส่วนตะวันออกกลาง และแอฟริกาคือตลาดที่ได้ดุลการค้ามากที่สุด18
  • 27. 24 ส่งเสริม SMEs นับแต่พรรค AKP ได้รับเลือกให้เป็นรัฐบาล นโยบายหนึ่งซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีมากจาก ประชาชนคือการส่งเสริมผู้ประกอบการรายใหม่ที่ทาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยในปีที่ผ่านมา สัดส่วนของผู้ประกอบการที่ลงทะเบียนกับรัฐบาลนั้นกว่า 99.8% เป็นธุรกิจในกลุ่ม SMEs ซึ่งการมี ผู้ประกอบการใหม่มากขึ้นนอกจากจะแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าได้แล้วยังกระตุ้นการส่งออกได้อีกด้วย เนื่องจากมีผลิตภัณฑ์หลากหลายตอบสนองต่อตลาดต่างประเทศ เพราะตลาดหลักของตุรกีนั้นคือยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา ซึ่งมีความต้องการต่างกัน ทาให้ในปีที่ผ่านมาสินค้าจากกลุ่มธุรกิจ SMEs สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศมากกว่ากลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่เป็นครั้งแรก19 ลดต้นทุนด้านพลังงาน ต้นทุนด้านพลังงานนั้นเป็นต้นทุนที่แทบจะกระทบกับธุรกิจทุกประเภท หากลดค่าใช้จ่ายด้าน พลังงานได้ก็จะเป็นประโยชน์กับเศรษฐกิจในภาพรวม โดยเฉพาะในช่วงที่เศรษฐกิจกาลังเติบโตจะยิ่ง ต้องการพลังงานมาก จึงเป็นโจทย์สาคัญที่รัฐบาลตุรกีต้องหาทางลดต้นทุนด้านพลังงานให้ได้ ซึ่งไม่ใช้ เรื่องง่ายเพราะมากกว่าร้อย 70 ของพลังงานในตุรกีนั้นมาจากการนาเข้า รัฐบาลจึงมีมาตรการ เช่น การ สร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ สร้างท่อส่งก๊าซทั่วประเทศเพื่อลดต้นทุนการขนส่ง นาเข้าก๊าซจากแหล่งใหม่ ๆ ที่มีราคาต่ากว่า พึ่งพาถ่านหินที่ผลิตจากในประเทศ ภาพที่ 24 ท่อส่งก๊าซจากอาณาเขตของชาวเคิร์ดในอิรักซึ่งตุรกีได้ลงทุนสร้างเพื่อนาเข้าก๊าซในราคาถูก20