SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
คุณเปนโรคซึม
เศร้าหรือเปล่า?
Do you have depression ?
จัดทําโดย
นายนวภัทร์ คิดชัย เลขที 17
นางสาววิชิดา สระศรีสม เลขที 22
สารบัญ
โรคซึมเศร้า
สาเหตุ
แนวทางแก้ไขปญหา
ผลการวิจัย
ประวัติโครงงาน
ผลกระทบ
พฤติกรรม
การรักษา
สรุปผล
MENU
ประวัติโครงงาน โรคซึมเศร้า
สาเหตุ
และพฤติกรรม
บรรณานุกรม
ข้อมูลจาก
ผู้เชียวชาญ
การรักษา
และการปองกัน
ประวัติโครงงาน
ทีมาและความสําคัญ
ปจจุบันนีเราสามารถพบเห็นผู้ปวยทีเปนโรคซึมเศร้าได้ในชีวิตหรือคนใกล้ตัวของเราเอง บ่อย
ครังทีเราปล่อยนําตาแห่งความเศร้าของคนใกล้ตัวซึมเข้าไปในจิตใจของพวกเขาจนท่วมเกินกว่าจะแก้ไขจะดี
กว่ามัย ถ้าเราได้รู้อาการวิธีเตรียมตัว และคําแนะนําทีถูกวิธีในการดูแลคนทีใกล้ชิดทีเรารัก เพือเปนยาแนว
ปองกันซึมตังแต่เนินๆ เพราะเราเชือว่าทุกอย่างเปลียนแปลงได้ ความเศร้าก็เช่นกันโรคซึมเศร้าเปนโรค
ทางอารมณ์ทีพบบ่อย โดยมีความชุกตลอดช่วงชีวิตถึง 12% พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายและพบได้ในทุก
ช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิงเมือเกิดเหตุการณ์เลวร้ายทีส่งผลกระทบต่อความรู้สึก เช่น การสูญเสีย ความ
ผิดหวังหรือการหย่าร้าย การเปนโรคนีไม่ได้หมายความว่าผู้ทีเปนนันจะเปนคนอ่อนแอ ล้มเหลวหรือไม่มี
ความสามารถ เพราะมีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยันว่าโรคซึมเศร้ามีสาเหตุส่วนหนึงจากการทํางานของ
ระบบสมองทีผิดปกติ ในปจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทางจิตใจ หากไม่ได้
รับการรักษาอาจเกิดผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตประจําวัน การทํางานและความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง นํา
ไปสู่ภาวะซึมเศร้าทีรุนแรงมากขึน เช่น มีอาการหลงผิด หูแว่ว มีความคิดทําร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตายการ
รักษาหลักของโรคซึมเศร้า คือ การพูดคุยให้คําปรึกษา การทําจิตบําบัดและการใช้ยากลุ่มต้านเศร้าผู้ปวยที
มีอาการรุนแรงอาจจําเปนต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาล ผู้ปวยส่วนใหญ่สามารถดีขึนได้จนสามารถ
ทํางานและดํารงชีวิตได้อย่างปกติหากได้รับการรักษาทีเหมาะสม
1) เพือเผยแพร่ความรู้เกียวกับการเปนโรค
ซึมเศร้าทีใกล้ตัวของเรา
2) เพือใช้เปนสือในการศึกษาสําหรับผู้ที
สนใจหรือประสบปญหาเกียวกับโรคซึมเศร้า
3) เพือให้ผู้อ่านสามารถนําความรู้ทีได้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน
ประวัติโครงงาน
วัตุประสงค์
ประวัติโครงงาน
จัดทําโครงงานคอมพิวเตอร์ เรืองคุณเปนโรค
ซึมเศร้าหรือเปล่า ผ่านสือเว็บไซต์
www.blogger.com
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
ศึกษาข้อมูลจากงานวิจัย หลักการและทฤษฎี
ขอบเบตของโครงงาน
มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับผู้ปวยที
เปนโรคซึมเศร้ามากชึน
สามารถนําความรู้ทีได้ไปปรับใช้ในชีว
ติประจําวันได้
นําความรู้ทีได้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อืน
ผู้ทีสนใจ บทความสามารถนําความรู้
ไปใช้ได้จริง
1.
2.
3.
ผลทีคาดว่าจะได้รับ
ประวัติโครงงาน
โรคซึมเศร้าคืออะไร
เปนโรคหนึงซึงสามารถเกิดขึนได้ในช่วง
ชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอืนๆ
เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง การเปนโรคซึม
เศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ทีเปนนันจะเปนคน
อ่อนแอ ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่
เปนเพียงการเจ็บปวยอย่างหนึง เกิดขึนได้โดย
มีสาเหตุ เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง ความ
ผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใดๆ ซึงใน
ปจจุบันโรคนีสามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา
การรักษาทางจิตใจ หรือทังสองอย่างรวมกัน
สาเหตุของการเกิดโรค
และอาการของโรคซึมเศร้า
สาเหตุทีจะกระตุ้นการเกิดโรคซึมเศร้าทีพบบ่อยก็
คือ การมีทังความเสียงทางพันธุกรรม,ทางสภาพจิตใจ,
ประจวบกับการเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย
ร่วมกันทัง 3 ปจจัย
โรคซึมเศร้าเกิดจากความเครียด
แต่ทังนีคนทีไม่มีญาติเคยปวยก็
อาจเกิดเปนโรคนีได้ มักพบว่าผู้
ปวยโรคนีจะมีความผิดปกติของ
ระดับสารเคมี ทีเซลล์สมองสร้าง
ขึน เพือรักษาสมดุลของอารมณ์
1.
สาเหตุของการเกิดโรค
และอาการของโรคซึมเศร้า
2.สภาพทางจิตใจทีเกิดจากการเลียงดู ก็เปนปจจัยที
เสียงอีกประการหนึงต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน
คนทีขาดความภูมิใจในตนเองมองตนเองและโลกที
เขาอยู่ในแง่ลบตลอดเวลา หรือเครียดง่ายเมือเจอ
กับมรสุมชีวิต ล้วนทําให้เขาเหล่านันมีโอกาสปวย
ง่ายขึน
3.การเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย เช่น หากชีวิตพบ
กับการสูญเสียครังใหญ่ต้องเจ็บปวยเรือรัง ความ
สัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรืน หรือต้องมีการ
เปลียนแปลงในทางทีไม่ปรารถนา ก็อาจกระตุ้นให้
โรคซึมเศร้ากําเริบได้
พฤติกรรม
ผู้เปนโรคซึมเศร้ามักมีอาการดังต่อไปนีต่อ
เนืองไม่น้อยกว่า 2 สัปดาห์
เก็บตัว แยกตัวออกจากสังคม
รู้สึกเศ้รา ท้อแท้ และสินหวัง
รู้สึกตนเองไร้ค่า
รู้สึกผิดและโทษตนเองตลอดเวลา
ขาดความสนใจหรือความเพลิดเพลิน
ในการทํากิจกรรมต่างๆ
เคลือนไหวช้าลงหรือกระสับกระส่าย
เหนือยและอ่อนเพลียตลอดเวลา
ขาดสมาธิ ความสามารถในการคิด
และการตัดสินใจน้อยลง
เบืออาหารหรืออยากอาหารมากขึน
นอนมากหรือน้อยกว่าปกติ
มีความคิดหรือพยายามฆ่าตัวตาย
มีปญหาในการทํางานและการใช้ชีวิต
ในสังคม
พฤติกรรม
มีวิธีรักษาทางจิตใจอยู่หลายรูปแบบ ในการช่วย
เหลือผู้ปวยโรคซึมเศร้า ซึงอาจเปนการ ”พูดคุย”
กับจิตแพทย์ 10 ถึง 20 ครัง อันจะช่วยให้ผู้ปวย
เกิดความเข้าใจกับสาเหตุของปญหา และนําไปสู่
การแก้ไขปญหา โดยการเปลียนมุมมองกับแพทย์
การรักษาทางพฤติกรรมจะช่วยให้ผู้ปวยเรียนรู้วิธี
ทีจะได้รับความพอใจ หรือความสุขจากการกระทํา
ของเขา และพบวิธีทีจะหยุดพฤติกรรมที อาจนําไป
สู่ความซึมเศร้าด้วย
แนวทาง
การรักษา
การรักษาแบบปรับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และการรักษาแบบปรับความคิดและพฤติกรรม
โดยการรักษารูปแบบแรกมุ่งไปทีการแก้ไข
ปญหาระหว่าง ผู้ปวยกับคนรอบข้างทีอาจเปน
สาเหตุและกระตุ้นให้เกิดความซึมเศร้า ส่วนการ
รักษาแบบหลังจะช่วยให้ผู้ปวยเปลียนความคิด
และพฤติกรรมในแง่ลบกับตนเอง
การรักษาอีก 2 รูปแบบต่อไปทีมีการศึกษา
แล้วว่า สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดี คือ
แนวทาง
การรักษา
ส่วนการรักษาโดยอาศัยทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ก็นํา
มารักษาโรคนี โดยช่วยผู้ปวยค้นหาปญหาข้อ
ขัดแย้งภายในจิตใจผู้ปวย ซึงอาจมีรากฐานมา
จากประสบการณ์ตังแต่เด็ก โดยทัวไปสําหรับผู้
ปวยทีเปนโรคซึมเศร้ารุนแรง มีอาการกําเริบ
ซําๆ จะต้องการการรักษาด้วยยาร่วมกับการ
รักษาทางจิตใจควบคู่กัน เพือผลการรักษาใน
ระยะยาวทีดีทีสุด
การรักษาอีก 2 รูปแบบต่อไปทีมีการศึกษา
แล้วว่า สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดี คือ
แนวทาง
การรักษา
การปองกัน
การปองกันโรคซึมเศร้า
ทําได้โดยปฏิบัติหลักสุขศึกษา คือ
อาหาร ให้กินอาหารครบ 5 หมู่ หากขาด
สารอาหารบางอย่างไปจะทําให้มีความเสียง
เปนโรคซึมเศร้ามากขึน เช่น โอเมก้า 3
วิตามิน อี ซี ดี ทองแดง ธาตุเหล็ก
การออกกําลังกาย ควรออกกําลังกาย
สัปดาห์ละอย่างน้อย 4 วันต่อสัปดาห์ ต่อ
เนืองกัน 30-40 นาที เปนการออกกําลัง
กายเบาๆ เช่น เดินเร็วก็ได้
การปองกัน
การปองกันโรคซึมเศร้า
ทําได้โดยปฏิบัติหลักสุขศึกษา คือ
การทําสมาธิ (Mindfulness) เพือ
ผ่อนคลายจิตใจ มีงานวิจัยมากมาย
พบว่าการทําสมาธิช่วยให้สมองผ่อน
คลาย ลดความเครียดได้
การฝกคิดบวก ปอนความคิดทาง
บวกให้กับตัวเองอยู่เสมอเพือสร้างให้
จิตใจมีความเข้มแข็ง เอาชนะอุปสรรค
ในชีวิตได้
การปองกัน
การปองกันโรคซึมเศร้า
ทําได้โดยปฏิบัติหลักสุขศึกษา คือ
การพักผ่อน นอนหลับให้เพียงพอกับ
ทีร่างกายต้องกาย ให้ตืนขึนมาแล้ว
รู้สึกสดชืน ไม่ง่วงหรือยังเพลียอยู่
ศาสตราจารย์นายแพทย์มาโนช หล่อตระกูล
โรคซึมเศร้า เปนโรคทางจิตเวชที
มีผู้เปนจํานวนไม่น้อย แต่ยังมีผู้
รู้จักโรคนีไม่มากนัก บางคนเปน
โดยทีตัวเองไม่ทราบ คิดว่าเปน
เพราะตนเองคิดมากไปเองก็มี
ทําให้ไม่ได้รับการรักษาทีเหมาะ
สม และทันท่วงที
ศาสตราจารย์นายแพทย์มาโนช หล่อตระกูล
จะรู้ได้อย่างไรว่าเปนโรคนีหรือเปล่า
บางคนทีอ่านถึงตอนนีอาจรู้สึกว่าตนเองก็มีอะไรหลายๆ อย่างเข้ากันได้กับโรคซึม
เศร้าทีว่า แต่ก็มีหลายๆ อย่างทีไม่เหมือนทีเดียวนัก ทําให้อาจสงสัยว่าจะรู้ได้อย่างไรว่า
ตนเองเปนหรือเปล่า
อาการซึมเศร้านันมีด้วยกันหลายระดับตังแต่น้อยๆ ทีเกิดขึนได้ในชีวิตประจําวัน
ไปจนเริมมีผลกระทบต่อการดํารงชีวิตประจําวัน และบางคนอาจเปนถึงระดับของโรคซึม
เศร้า อาการทีพบร่วมอาจเริมตังแต่รู้สึกเบือหน่าย ไปจนพบอาการต่างๆ มากมาย ดังได้
กล่าวในบทต้นๆ
ศาสตราจารย์นายแพทย์มาโนช หล่อตระกูล
จะรู้ได้อย่างไรว่าเปนโรคนีหรือเปล่า
แบบสอบถามภาวะอารมณ์เศร้า (Patient Health Questionnaire; PHQ9) เปน
แบบสอบถามทีใช้เพือช่วยในการประเมินว่าผู้ตอบมีมีภาวะซึมเศร้าหรือไม่ รุนแรงมาก
น้อยเพียงใด เปนมากจนถึงระดับทีไม่ควรจะปล่อยทิงไว้หรือไม่ แบบสอบถามนีไม่ได้บอก
ว่าเปนโรคอะไร เพียงแต่ช่วยบอกว่าภาวะซึมเศร้าทีมีอยู่ในระดับไหนเท่านัน ในการวินิจฉัย
ว่าเปนโรคซึมเศร้าหรือไม่นัน ผู้ทีมีอารมณ์ซึมเศร้ายังต้องมีอาการทีเข้าตามเกณฑ์การ
วินิจฉัยด้านล่าง
ศาสตราจารย์นายแพทย์มาโนช หล่อตระกูล
จะรู้ได้อย่างไรว่าเปนโรคนีหรือเปล่า
ข้อดีอย่างหนึงของแบบสอบถามนีคือสามารถใช้ช่วยในการประเมินระดับความ
รุนแรงของอาการได้ ว่าแต่ละขณะเปนอย่างไร อาการดีขึนหรือเลวลง การรักษาได้ผล
หรือไม่ ผู้ปวยอาจทําและจดบันทึกไว้ทุก 1-2 สัปดาห์ โดยถ้าการรักษาได้ผลดีก็จะมีการ
เปลียนแปลงในทางทีดีขึนโดยมีค่าคะแนนลดลงตามลําดับ
โรคอืนทีมีอาการ
คล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้า
ภาวะอารมณ์ซึมเศร้าจากการปรับตัว
ไม่ได้กับปญหาทีมากระทบ
ปนภาวะทีเกิดจากการปรับตัวไม่ได้กับปญหาต่างๆ ที
เข้ามากระทบ เช่น ย้ายบ้าน ตกงาน เกษียน เปนต้น
โดยจะพบอาการซึมเศร้าร่วมด้วยได้ แต่มักจะไม่
รุนแรง ถ้ามีคนมาพูดคุย ปลอบใจก็จะดีขึนบ้าง อาจ
มีเบืออาหารแต่เปนไม่มาก ยังพอนอนได้ เมือเวลา
ผ่านไป ค่อยๆ ปรับตัวได้กับสถานการณ์ทีเปลียนไป
ภาวะอารมณ์ซึมเศร้าทีมีก็จะทุเลาลง
โรคอืนทีมีอาการ
คล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้า
โรคอารมณ์สองขัว
ในโรคอารมณ์สองขัว ผู้ปวยจะมีอาการเหมือนกับโรคซึมเศร้า
อยู่ช่วงหนึง และมีอยู่บางช่วงทีมีอาการออกมาในลักษณะ
ตรงกันข้ามกับอาการซึมเศร้า เช่น อารมณ์ดีเบิกบานมากผิด
ปกติ พูดมาก ขยันมาก เชือมันตัวเองมากกว่าปกติ ใช้เงิน
เปลือง เปนต้น ซึงทางการแพทย์เรียกระยะนีว่า ระยะแมเนีย
ผู้ทีเปนโรคอารมณ์สองขัวบางครังจะมีอาการของโรคซึมเศร้า
บางครังก็มีอาการของภาวะแมเนีย
โรคอืนทีมีอาการ
คล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้า
โรควิตกกังวล
พบบ่อยว่าผู้ทีเปนโรคซึมเศร้ามักจะมีอาการวิตกกังวล ห่วง
โน่นห่วงนี ซึงเปนอาการหลักของโรควิตกกังวล ทีต่างกันคือ
ในโรควิตกกังวลนัน จะมีอาการหายใจไม่อิม ใจสัน สะดุ้ง
ตกใจง่าย ร่วมด้วย อาการเบืออาหารถึงมีก็เปนไม่มาก นํา
หนักไม่ลดลงมากเหมือนผู้ปวยโรคซึมเศร้า และโรคซึมเศร้า
นันนอกจากอาการวิตกกังวลแล้วก็จะพบอาการซึมเศร้า
ท้อแท้ เบือหน่ายชีวิต ร่วมด้วยโดยทีอาการอารมณ์เศร้านีจะ
เห็นเด่นชัดกว่าอาการวิตกกังวล
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีอาการดังต่อไปนี 5 อาการหรือมากกว่า
มีอารมณ์ซึมเศร้าแทบทังวัน (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเปน
อารมณ์หงุดหงิดก็ได้)
ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่างๆ แทบ
ทังหมดลดลงอย่างมากแทบทังวัน
นําหนักลดลงหรือเพิมขึนมาก (นําหนักเปลียนแปลง
มากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบืออาหารหรือ
เจริญอาหารมาก
นอนไม่หลับ หรือหลับมากไป
1.
2.
3.
4.
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีอาการดังต่อไปนี 5 อาการหรือมากกว่า
5.กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชืองช้าลง
6.อ่อนเพลีย ไร้เรียวแรง
7.รู้สึกตนเองไร้ค่า
8.สมาธิลดลง ใจลอย หรือลังเลใจไปหมด
9.คิดเรืองการตาย คิดอยากตาย
* ต้องมีอาการในข้อ 1 หรือ 2 อย่างน้อย 1 ข้อ
* ต้องมีอาการเปนอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึนไป และต้องมีอาการเหล่านีอยู่
เกือบตลอดเวลา แทบทุกวัน ไม่ใช่เปนๆ หายๆ เปนเพียงแค่วันสองวัน
หายไปแล้วกลับมาเปนใหม่
บรรณานุกรม
https://www.the101.world/depression-and-
ageing-society/
https://www.bangkokhospital.com/th/dise
ase-treatment/depression
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/ge
neralknowledge/general/09042014-1017
https://www.phyathai.com/article_detail/
2876/th/โรคซึมเศร้า_โรคฮิตหรือแค่คิดไปเอง
บรรณานุกรม
https://www.bumrungrad.com/th/conditio
ns/depression
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/ge
neralknowledge/general/09042014-1017
https://www.bangkokhospital.com/th/dise
ase-treatment/depression

More Related Content

Similar to Mameyah

Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
svuthiarpa
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
อำพร มะนูรีม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
อำพร มะนูรีม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
อำพร มะนูรีม
 

Similar to Mameyah (9)

คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
คู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวชคู่มือดูแลจิตเวช
คู่มือดูแลจิตเวช
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
 
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdfตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
โรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไรโรควิตกกังวลคืออะไร
โรควิตกกังวลคืออะไร
 

Mameyah