SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
สถาปัตยกรรมเครือข่ายรูปแบบ OSI
สัปดาห์ที่ 4
วิชาการสื่อสารข้อูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จุดเริ่มต้นมาตรฐานและสถาปัตยกรรมเครือข่าย
 ในปี ค.ศ.1977 องค์กร ISO (International Organization for
Standard) ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบ
มาตรฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย และในปี ค.ศ.1983 องค์กร ISO ก็ได้
ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่ายมาตรฐาน ในชื่อของ “รูปแบบ OSI”
(Open System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบ
มาตรฐานในการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ อักษร “O” หรือ “Open” หมายถึง
การที่คอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่ง สามารถเปิดกว้างให้คอมพิวเตอร์ หรือระบบ
คอมพิวเตอร์อื่น ที่ใช้มาตรฐาน OSI เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหาสู่ระหว่างกันได้
จุดมุ่งหมายของการกาหนดมาตรฐานรูปแบบ OSI
 ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็ นเลเยอร์ ๆ มากจนเกินไป
 แต่ละเลเยอร์จะต้องมีหน้าที่การทางานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี
 จัดกลุ่มหน้าที่การทางานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน
 เลือกเฉพาะการทางานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสาเร็จมาแล้ว
 กาหนดอินเทอร์เฟชมาตรฐาน
 ให้มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์
 สาหรับเลเยอร์ย่อยของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน
โครงสร้างของสถาปัตยกรรมรูปแบบ OSI
แบบจาลอง OSI Model
มีกรอบการทางานด้วยการแบ่งชั้น เป็นชั้นการสื่อสารที่เรียกว่า Layer ซึ่ง
จะแตกต่างทั้งชื่อเรียกและฟังก์ชั่นหน้าที่การทางาน มีทั้งหมด 7 ชั้นด้วยกัน
1. Physical Layer
2. Data Link Layer
3. Network Layer
4. Transport Layer
5. Session Layer
6. Presentation Layer
7. Application Layer All
People
Seem
To
Need
Data
Processing
1.ชั้นสื่อสารฟิสิคัล (Physical Layer) ซึ่งจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปแบบ
สัญญาณดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model)
ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารฟิสิคัลก็คือ การเคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
2.ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ (Data Link Layer) ทาหน้าที่เหมือนเป็นผู้บริการส่ง
ข้อมูลและรวบรวมข้อมูลจากชั้นสื่อสารฟิสิคัลและกาหนดรูปแบบของข้อมูลที่
ส่งผ่านภายในเครือข่ายให้อยู่ในรูปแบบของ เฟรม (Frame)
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ก็คือ การเคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
- ฟิสิคัลแอดเดรส (Physical Address) เช่น หมายเลขการ์ดเครือข่าย Mac
Address ซึ่งใช้ระบุถึงตาแหน่งของโหนดนั้นๆ บนเครือข่าย คาสั่งที่ใช้หา
Physical Address หรือ
Mac Address คือ
ipconfig /all หรือ getmac
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
3.ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก (Network Layer) ทาหน้าที่จัดการกับรูปแบบ
ข้อมูลที่เรียกว่า Packet ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและ
ปลายทางโดยผ่านจุดต่าง ๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตามเส้นทางที่กาหนด
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์กก็คือ การส่งมอบ Packet จาก Host ต้นทางไปยัง Host ปลายทาง
- ลอจิคัลแอดเดรส (Logical Address) ทางานอยู่ในชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก
โดยนามาระบุตาแหน่งของอุปกรณ์ แต่ลอจิคัลแอดเดรสจะไม่ยึดติดกับ
อุปกรณ์สามารถนาไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ ตัวอย่างเช่น IP
Address คาสั่ง ใช้หา IP Address คือ ipconfig /all
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
- การเลือกเส้นทาง(Routing) เครือข่าย internet จึงจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่
เรียกว่าRouter ซึ่งเป็นอุปกรณ์สาคัญใช้กาหนดเส้นทางการส่งข้อมูลบน
เครือข่าย
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
4.ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) ทาหน้าที่ตรวจสอบและ
ควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทาง ให้ถูกต้อง
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
ภาระหน้าที่ของชั้นทรานสปอร์ตก็คือ การส่งมอบข่าวสารจาก Process ต้นทางไปยัง Process ปลายทาง
5.ชั้นสื่อสารเซสชั่น (Session Layer) ทาหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้น
ทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูล ระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมี
ประสิทธิภาพ เช่น
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
ภาระหน้าที่ของชั้นเซสชั่นก็คือ การควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์
การล็อคอิน การกรอกรหัสผ่าน การใช้โฮสต์ การออกจากระบบ
6.ชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่น (Presentation Layer) ทาหน้าที่แปลงข้อมูลที่ส่งมา
ให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนาเสนอ
ข้อมูล โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องผู้ส่งให้เครื่อง
ผู้รับเข้าใจ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่นก็คือ การแปลงข้อมูล การเข้ารหัสข้อมูลและการบีบอัดข้อมูล
7.ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น (Application Layer) เป็นส่วนติดต่อระหว่าง
โปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์ จะแปลงข้อมูลที่ได้จากผู้ใช้
เข้าสู่ระบบ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่นก็คือ การจัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้
ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
สรุป OSI Model
Application
Presentation
Session
Transport
Network
Data Link
Physical
To transmit bits over a medium;
to provide mechanical and
electrical specifications
To organize bits into frames;
to provide hop-to-hop
delivery
To move packets from source to
destination; to provide
internetworking
To provide reliable process-
to-process message delivery
and error recovery
To establish, manage, and
terminate sessions
To translate, encrypt, and
compress data
To allow access to network
resources
เปรียบเทียบแบบจาลอง OSI กับชีวิตประจาวัน
แบบจาลอง OSI ภาระหน้าที่ เปรียบเทียบกับตัวอย่าง
การดาเนินงานทางธุรกิจ
7. Application Layer โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่อานวยความสะดวก
ให้แก่ผู้ใช้ตามความต้องการ
สินค้าสาเร็จรูป ที่ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อได้ตาม
ความต้องการ
6. Presentation Layer การนาเสนอข้อมูล ให้เข้าใจ ความหมายตรงกัน
ทั้งสองฝั่ง
เคาน์เตอร์แสดงสินค้า
5. Session Layer ควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและ
ปลายทางให้สามารถสื่อสารได้จนสาเร็จ
เจ้าของร้านโทรศัทพ์ติดต่อกับลูกค้าเพื่อ
สอบถามยืนยันถึงสินค้าที่ได้จัดส่งไป
4. Transport Layer การรับประกันการส่งข้อมูลให้ถึงมือผู้รับอย่าง
แน่นอน
การจัดส่งสินค้า หรือ การส่งพัสดุลงทะเบียน
ไปรษณีย์
3. Network Layer การกาหนดเส้นทางเพื่อการส่งข้อมูลไปยัง
ปลายทาง
การกระจายสินค้าไปตามแต่ละพื้นที่
2. Data Link Layer การจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของเฟรมข้อมูล การบรรจุสินค้าลงในหีบห่อพร้อมระบุที่อยู่
ปลายทาง
1. Physical Layer อุปกรณ์ฮาร์ตแวร์ สายสัญญาณ และอุปกรณ์
เชื่อมต่อ
รถบรรทุกส่งของ และ ถนน
ได้ถูกพัฒนาก่อนแบบจาลอง OSI แต่หลักการทางานคล้ายคลึงกันโดย
ประกอบด้วย 5 ชั้นสื่อสาร คือ
1. Physical ชั้นของการกาหนดคุณสมบัติฮาร์ดแวร์
2. Data Link ชั้นของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ซึ่งทางานด้านเชื่อมโยงเข้ากับ
สายสื่อสาร
3. Network Layer เลือกเส้นทางเพื่อส่งข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง
4. Transport Layer จัดเตรียมการส่งข้อมูลระหว่างต้นทางปลายทาง
5. Application Layer เป็นส่วนของผู้ใช้งานที่ใช้ติดต่อกับระบบ
แบบจาลอง TCP/IP (TCP/IP Model)
กิจกรรมที่ 9
สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI มีประวัติความเป็นมาอย่างไร
หลักเกณฑ์การกาหนดรูปแบบสถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI
มีอะไรบ้าง
อธิบายหน้าที่ของเลเยอร์ว่าแต่ละเลเยอร์มีหน้าที่อย่างไร
ทากิจกรรมทบทวน
ยกเก้าอี้เก็บทุกตัว

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5Nuttie Naa
 
ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มี
ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มีในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มี
ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มีKaen Kaew
 
ใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
ใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
ใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลpwwk2009
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2Noofang DarkAnegl
 
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2Naphatsorn Keadmongkol
 

What's hot (15)

1
11
1
 
4.2
4.24.2
4.2
 
4.2
4.24.2
4.2
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Mission1
Mission1Mission1
Mission1
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มี
ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มีในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มี
ในการออกแบบระบบเครือข่ายข้างต้น​ มี
 
Osi reference mode
Osi  reference modeOsi  reference mode
Osi reference mode
 
Osi reference mode
Osi  reference modeOsi  reference mode
Osi reference mode
 
2
22
2
 
ใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
ใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
ใบงาน ที่ 1 เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล
 
Osi
OsiOsi
Osi
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
 
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
กิจกรรมที่ 5ข้อ 2
 

Viewers also liked

Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2
Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2
Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2Jackie Cruz
 
MANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION II
MANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION IIMANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION II
MANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION IILeidy Uzcategui
 
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 23 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2Sumet Ratprachum
 
Resume Job Kitchen and Food Beverage
Resume Job Kitchen and Food BeverageResume Job Kitchen and Food Beverage
Resume Job Kitchen and Food BeverageJan Aldrin Lontoc
 
Avakasha canon
Avakasha canonAvakasha canon
Avakasha canonAby Isaac
 
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสารSumet Ratprachum
 
industrial construction jobs
industrial construction jobsindustrial construction jobs
industrial construction jobsmehwish khan
 
commercial drywall jobs drywall installer job
commercial drywall jobs drywall installer jobcommercial drywall jobs drywall installer job
commercial drywall jobs drywall installer jobmehwish khan
 
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันSumet Ratprachum
 
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสารSumet Ratprachum
 

Viewers also liked (16)

Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2
Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2
Concepto salud-enfermedad-desde-la-perspectiva-cultural-2
 
MANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION II
MANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION IIMANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION II
MANUAL DE PROFIT PLUS_ LEIDY UZCATEGUI_ COMPUTACION II
 
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 23 สื่อกลางนำข้อมูล 2
3 สื่อกลางนำข้อมูล 2
 
Fútbol
FútbolFútbol
Fútbol
 
Para ximena
Para ximenaPara ximena
Para ximena
 
Presentación
PresentaciónPresentación
Presentación
 
Resume Job Kitchen and Food Beverage
Resume Job Kitchen and Food BeverageResume Job Kitchen and Food Beverage
Resume Job Kitchen and Food Beverage
 
Avakasha canon
Avakasha canonAvakasha canon
Avakasha canon
 
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
 
nam
namnam
nam
 
industrial construction jobs
industrial construction jobsindustrial construction jobs
industrial construction jobs
 
commercial drywall jobs drywall installer job
commercial drywall jobs drywall installer jobcommercial drywall jobs drywall installer job
commercial drywall jobs drywall installer job
 
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
 
India wildlife
India wildlifeIndia wildlife
India wildlife
 
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
2รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสาร
 
Hongkong
HongkongHongkong
Hongkong
 

Similar to 4สัปดาห์ที่ 4

หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายTa Khanittha
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง OsiPituk Sense
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)Khon Kaen University
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)Khon Kaen University
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายtaenmai
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2Noofang DarkAnegl
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2Noofang DarkAnegl
 
Technology7
Technology7Technology7
Technology7vizaa
 
Charpter 5 2
Charpter 5 2Charpter 5 2
Charpter 5 2monnoonan
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตSamart Phetdee
 

Similar to 4สัปดาห์ที่ 4 (20)

หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
หน่วยที่3 มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
 
1
11
1
 
Mission1
Mission1Mission1
Mission1
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osi
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
 
โครงงานคอม57
โครงงานคอม57โครงงานคอม57
โครงงานคอม57
 
Chapter5.2
Chapter5.2Chapter5.2
Chapter5.2
 
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่ายสถาปัตยกรรมเครือข่าย
สถาปัตยกรรมเครือข่าย
 
Bweb
BwebBweb
Bweb
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
 
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
ภารกิจการเรียนรู้ที่ 5.2
 
Technology7
Technology7Technology7
Technology7
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Charpter 5 2
Charpter 5 2Charpter 5 2
Charpter 5 2
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
123
123123
123
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 

4สัปดาห์ที่ 4

  • 2. จุดเริ่มต้นมาตรฐานและสถาปัตยกรรมเครือข่าย  ในปี ค.ศ.1977 องค์กร ISO (International Organization for Standard) ได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นกลุ่มหนึ่ง เพื่อทาการศึกษาจัดรูปแบบ มาตรฐาน และพัฒนาสถาปัตยกรรมเครือข่าย และในปี ค.ศ.1983 องค์กร ISO ก็ได้ ออกประกาศรูปแบบของสถาปัตยกรรมเครือข่ายมาตรฐาน ในชื่อของ “รูปแบบ OSI” (Open System Interconnection Model) เพื่อใช้เป็นรูปแบบ มาตรฐานในการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ อักษร “O” หรือ “Open” หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หนึ่ง สามารถเปิดกว้างให้คอมพิวเตอร์ หรือระบบ คอมพิวเตอร์อื่น ที่ใช้มาตรฐาน OSI เหมือนกันสามารถติดต่อไปมาหาสู่ระหว่างกันได้
  • 3. จุดมุ่งหมายของการกาหนดมาตรฐานรูปแบบ OSI  ไม่แบ่งโครงสร้างออกเป็ นเลเยอร์ ๆ มากจนเกินไป  แต่ละเลเยอร์จะต้องมีหน้าที่การทางานแตกต่างกันทั้งขบวนการและเทคโนโลยี  จัดกลุ่มหน้าที่การทางานที่คล้ายกันให้อยู่ในเลเยอร์เดียวกัน  เลือกเฉพาะการทางานที่เคยใช้ได้ผลประสบความสาเร็จมาแล้ว  กาหนดอินเทอร์เฟชมาตรฐาน  ให้มีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลในแต่ละเลเยอร์  สาหรับเลเยอร์ย่อยของแต่ละเลเยอร์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน
  • 5. แบบจาลอง OSI Model มีกรอบการทางานด้วยการแบ่งชั้น เป็นชั้นการสื่อสารที่เรียกว่า Layer ซึ่ง จะแตกต่างทั้งชื่อเรียกและฟังก์ชั่นหน้าที่การทางาน มีทั้งหมด 7 ชั้นด้วยกัน 1. Physical Layer 2. Data Link Layer 3. Network Layer 4. Transport Layer 5. Session Layer 6. Presentation Layer 7. Application Layer All People Seem To Need Data Processing
  • 6. 1.ชั้นสื่อสารฟิสิคัล (Physical Layer) ซึ่งจะทาหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปแบบ สัญญาณดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้ ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารฟิสิคัลก็คือ การเคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
  • 7. 2.ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ (Data Link Layer) ทาหน้าที่เหมือนเป็นผู้บริการส่ง ข้อมูลและรวบรวมข้อมูลจากชั้นสื่อสารฟิสิคัลและกาหนดรูปแบบของข้อมูลที่ ส่งผ่านภายในเครือข่ายให้อยู่ในรูปแบบของ เฟรม (Frame) ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ก็คือ การเคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
  • 8. - ฟิสิคัลแอดเดรส (Physical Address) เช่น หมายเลขการ์ดเครือข่าย Mac Address ซึ่งใช้ระบุถึงตาแหน่งของโหนดนั้นๆ บนเครือข่าย คาสั่งที่ใช้หา Physical Address หรือ Mac Address คือ ipconfig /all หรือ getmac ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
  • 9. 3.ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก (Network Layer) ทาหน้าที่จัดการกับรูปแบบ ข้อมูลที่เรียกว่า Packet ควบคุมการส่งผ่านข้อมูลระหว่างต้นทางและ ปลายทางโดยผ่านจุดต่าง ๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตามเส้นทางที่กาหนด ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์กก็คือ การส่งมอบ Packet จาก Host ต้นทางไปยัง Host ปลายทาง
  • 10. - ลอจิคัลแอดเดรส (Logical Address) ทางานอยู่ในชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ก โดยนามาระบุตาแหน่งของอุปกรณ์ แต่ลอจิคัลแอดเดรสจะไม่ยึดติดกับ อุปกรณ์สามารถนาไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้ ตัวอย่างเช่น IP Address คาสั่ง ใช้หา IP Address คือ ipconfig /all ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
  • 11. - การเลือกเส้นทาง(Routing) เครือข่าย internet จึงจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่ เรียกว่าRouter ซึ่งเป็นอุปกรณ์สาคัญใช้กาหนดเส้นทางการส่งข้อมูลบน เครือข่าย ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ)
  • 12. 4.ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) ทาหน้าที่ตรวจสอบและ ควบคุมการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทาง ให้ถูกต้อง ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) ภาระหน้าที่ของชั้นทรานสปอร์ตก็คือ การส่งมอบข่าวสารจาก Process ต้นทางไปยัง Process ปลายทาง
  • 13. 5.ชั้นสื่อสารเซสชั่น (Session Layer) ทาหน้าที่สร้างการติดต่อระหว่างเครื่องต้น ทางและปลายทาง ตลอดจนดูแลการส่งข้อมูล ระหว่างเครื่องทั้งสองให้ถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ เช่น ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) ภาระหน้าที่ของชั้นเซสชั่นก็คือ การควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์ การล็อคอิน การกรอกรหัสผ่าน การใช้โฮสต์ การออกจากระบบ
  • 14. 6.ชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่น (Presentation Layer) ทาหน้าที่แปลงข้อมูลที่ส่งมา ให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ รวมทั้งการจัดรูปแบบและนาเสนอ ข้อมูล โดยกาหนดรูปแบบภาษา ชนิด และวิธีการเข้าถึงข้อมูลของเครื่องผู้ส่งให้เครื่อง ผู้รับเข้าใจ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่นก็คือ การแปลงข้อมูล การเข้ารหัสข้อมูลและการบีบอัดข้อมูล
  • 15. 7.ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น (Application Layer) เป็นส่วนติดต่อระหว่าง โปรแกรมประยุกต์ของเครือข่ายกับผู้ใช้ โดยคอมพิวเตอร์ จะแปลงข้อมูลที่ได้จากผู้ใช้ เข้าสู่ระบบ เช่น การนาเสนอผ่านเว็บ การเข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่นก็คือ การจัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้
  • 16. ชั้นสื่อสารในแบบจาลอง OSI (OSI Model) (ต่อ) สรุป OSI Model Application Presentation Session Transport Network Data Link Physical To transmit bits over a medium; to provide mechanical and electrical specifications To organize bits into frames; to provide hop-to-hop delivery To move packets from source to destination; to provide internetworking To provide reliable process- to-process message delivery and error recovery To establish, manage, and terminate sessions To translate, encrypt, and compress data To allow access to network resources
  • 17. เปรียบเทียบแบบจาลอง OSI กับชีวิตประจาวัน แบบจาลอง OSI ภาระหน้าที่ เปรียบเทียบกับตัวอย่าง การดาเนินงานทางธุรกิจ 7. Application Layer โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่อานวยความสะดวก ให้แก่ผู้ใช้ตามความต้องการ สินค้าสาเร็จรูป ที่ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อได้ตาม ความต้องการ 6. Presentation Layer การนาเสนอข้อมูล ให้เข้าใจ ความหมายตรงกัน ทั้งสองฝั่ง เคาน์เตอร์แสดงสินค้า 5. Session Layer ควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและ ปลายทางให้สามารถสื่อสารได้จนสาเร็จ เจ้าของร้านโทรศัทพ์ติดต่อกับลูกค้าเพื่อ สอบถามยืนยันถึงสินค้าที่ได้จัดส่งไป 4. Transport Layer การรับประกันการส่งข้อมูลให้ถึงมือผู้รับอย่าง แน่นอน การจัดส่งสินค้า หรือ การส่งพัสดุลงทะเบียน ไปรษณีย์ 3. Network Layer การกาหนดเส้นทางเพื่อการส่งข้อมูลไปยัง ปลายทาง การกระจายสินค้าไปตามแต่ละพื้นที่ 2. Data Link Layer การจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบของเฟรมข้อมูล การบรรจุสินค้าลงในหีบห่อพร้อมระบุที่อยู่ ปลายทาง 1. Physical Layer อุปกรณ์ฮาร์ตแวร์ สายสัญญาณ และอุปกรณ์ เชื่อมต่อ รถบรรทุกส่งของ และ ถนน
  • 18. ได้ถูกพัฒนาก่อนแบบจาลอง OSI แต่หลักการทางานคล้ายคลึงกันโดย ประกอบด้วย 5 ชั้นสื่อสาร คือ 1. Physical ชั้นของการกาหนดคุณสมบัติฮาร์ดแวร์ 2. Data Link ชั้นของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ซึ่งทางานด้านเชื่อมโยงเข้ากับ สายสื่อสาร 3. Network Layer เลือกเส้นทางเพื่อส่งข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทาง 4. Transport Layer จัดเตรียมการส่งข้อมูลระหว่างต้นทางปลายทาง 5. Application Layer เป็นส่วนของผู้ใช้งานที่ใช้ติดต่อกับระบบ แบบจาลอง TCP/IP (TCP/IP Model)
  • 19. กิจกรรมที่ 9 สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI มีประวัติความเป็นมาอย่างไร หลักเกณฑ์การกาหนดรูปแบบสถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI มีอะไรบ้าง อธิบายหน้าที่ของเลเยอร์ว่าแต่ละเลเยอร์มีหน้าที่อย่างไร

Editor's Notes

  1. Processing = ประมวลผล Data = ข้อมูล Need = จำเป็น To = ไปยัง Seem = เหมือน People = ประชากร All = ทั้งหมด