SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
การสื่อสารข้อมูล (Data
Communication)
ฝึกคิด
การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
ยกตัวอย่างมา 5 ตัวอย่าง
• ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้เราหันมาให้
ความสาคัญต่อการติดต่อสื่อสาร ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เรา
สามารถติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้ทั่วโลก ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ
อินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ
ก่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆ
เป็นการนาความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการ
ตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจต่าง ๆ ส่งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลด
เวลาในการติดต่อสื่อสาร ส่งเสริมให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน
ซึ่งเหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันที่ต้องการการแข่งขันที่ค่อนข้าง
สูง
• การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) หมายถึง กระบวนการ
ถ่ายโอนข้อมูล(Transmission) กันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่าน
ช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์เป็น
ตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความใจซึ่งกันและกัน
โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง
เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สาหรับการควบคุมการส่งและการไหลของ
ข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
กิจกรรมที่ 2 การสื่อสารข้อมูลมีความหมายว่า
อย่างไร
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
ผู้ส่งTower box ผู้รับ
Tower box
ข้อมูล
สื่อนำข้อมูล
ขั้นตอน 1 :
ขั้นตอน 2 :
……...
โปรโตคอล
ขั้นตอน 1 :
ขั้นตอน 2 :
……...
โปรโตคอล
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
• ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (sender) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยัง
จุดหมายที่ต้องการข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ต้นทางจะต้องจัดเตรียมนาเข้าสู่อุปกรณ์
สาหรับส่งข้อมูล ได้แก่ เครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์ควบคุมต่างๆ จานไมโครเวฟ
จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถส่ง
ข้อมูลนั้นได้ก่อน
• ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่ง
มาให้ ข้อมูลที่ถูกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึงปลายทางก็จะมี
จะมีอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อไป
อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์ จานดาวเทียม เป็นต้น
• ข้อมูล (data) คือ ข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล ข้อมูล
อาจอยู่ในรูปของข้อความ รูปภาพ เสียง
• สื่อนาข้อมูล (Medium) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่าย
ข้อมูลจากผู้ส่งข้อมูลไปยังผู้รับข้อมูล เช่น สายไฟ ขดลวด สายเคเบิล
สายใยแก้วนาแสง อากาศ เป็นต้น
• โปรโตคอล (Protocol) คือ กฎหรือวิธีที่กาหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล
ซึ่งผู้ส่งข้อมูลจะต้องส่งข้อมูลในรูปแบบตามวิธีการสื่อสารที่ตกลงไว้กับผู้รับ
ผู้รับข้อมูล จึงจะสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้ซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกใช้เช่น
เช่น TCP/IP , X.25 , SDLC
• ซอฟแวร์ (Software) คือ การส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมี
โปรแกรมสาหรับดาเนินการ และควบคุมการส่งข้อมูลเพื่อให้เลือกใช้ข้อมูล
ข้อมูลตามที่กาหนดไว้ได้แก่ Netware , UNIX,Windows NT เป็นต้น
กิจกรรมที่ 3 การสื่อสารข้อมูลมีกี่องค์ประกอบ
อะไรบ้าง
วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อสารข้อมูล
1. เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น ฐานข้อมูล ตัวประมวลผล และฮาร์ดดิสก์เป็นต้น
2. เพื่อให้มีการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
3. เพื่อเพิ่มความเชื่อถือ (Reliability) ของระบบการประมวลผล โดยมีการสารอง
ระบบตลอดจนความซ้าซ้อนของระบบ
4. เพื่อช่วยให้สามารถประมวลผลแบบกระจายได้ ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะ
ช่วยให้มีการกระจายการทางานจากคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ ไปสู่คอมพิวเตอร์
เครื่องเล็กๆ ซึ่งราคาไม่แพงมาก
5. เพื่อให้สามารถควบคุมและจัดสรรทรัพยากรจากส่วนกลาง ไปสู่แต่ละระบบ
ย่อยที่อยู่ห่างไกลกัน
6. เพื่อช่วยให้อุปกรณ์ที่มีความแตกต่างกันสามารถใช้งานร่วมกันได้
กิจกรรมที่ 4 การนาการสื่อสารข้อมูลมาประยุกต์ใช้
ในปัจจุบันมีวัตถุประสงค์อย่างไร
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
• สัญญาณอนาล็อก(Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มี
ลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความ
เข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับ
สัญญาณและแปลงสัญญาณ ก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการได้ตัวอย่างของการส่ง
ข้อมูลที่มีสัญญาณแบบอนาลอก คือ การส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์
• เฮิรตซ์ (Hertz : Hz) คือ หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบ
อนาลอก วิธีวัดความถี่จะนับจานวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน
1 วินาที เช่น สัญญาณข้อมูลที่มีความถี่60 Hertz หมายถึง ใน 1
วินาที สัญญาณมีการเปลี่ยนแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ (ขึ้นและลง
นับเป็น 1 รอบ)
• สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปแบบ
สัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณอนาลอก ใน
ในการสื่อสารด้วยสัญญาณดิจิตอลข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง
เลขฐานสอง (0 และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิตอล การแทนข้อมูล
ดิจิตอลด้วยสัญญาณดิจิตอลมีหลายแบบ วิธีที่แทนบิตข้อมูล 0 ด้วย
สัญญาณไฟฟ้ าที่เป็นกลาง และบิตข้อมูล 1 ด้วยสัญญาณไฟฟ้ าที่เป็นบวก
บวก
• rate เป็นอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วิธีวัดความเร็วจะ
นับจานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400 bps
หมายถึงมีความเร็วในการส่งข้อมูลจานวน 14,400 บิต ในระยะเวลา 1
วินาที
กิจกรรมที่ 5 สัญญาณแบบอนาล็อกต่างจาก
สัญญาณแบบดิจิตอลอย่างไร
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน

More Related Content

Similar to 1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
frankenjay
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
btusek53
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
patchu0625
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
G'ad Smile
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Kriangx Ch
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
Kriangx Ch
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
ratiporn555
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
amphaiboon
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
amphaiboon
 

Similar to 1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
คำอธิบายรายวิชา เทคโน4
คำอธิบายรายวิชา เทคโน4คำอธิบายรายวิชา เทคโน4
คำอธิบายรายวิชา เทคโน4
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12หน่วยที่ 12
หน่วยที่ 12
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคต
ไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคตไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคต
ไอซีที กับ การเรียนรู้ในอนาคต
 

1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน

  • 3. • ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ทาให้เราหันมาให้ ความสาคัญต่อการติดต่อสื่อสาร ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เรา สามารถติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันได้ทั่วโลก ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ อินเทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ ก่อให้เกิดการนาเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในวงการธุรกิจต่าง ๆ เป็นการนาความรู้จากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมาสร้างทางเลือกในการ ตัดสินใจในการดาเนินธุรกิจต่าง ๆ ส่งผลให้เราสามารถลดต้นทุน ลด เวลาในการติดต่อสื่อสาร ส่งเสริมให้เกิดการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน ซึ่งเหมาะกับสภาพขององค์กรในปัจจุบันที่ต้องการการแข่งขันที่ค่อนข้าง สูง
  • 4. • การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) หมายถึง กระบวนการ ถ่ายโอนข้อมูล(Transmission) กันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่าน ช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์เป็น ตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความใจซึ่งกันและกัน โดยใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีตัวกลาง เช่น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สาหรับการควบคุมการส่งและการไหลของ ข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง
  • 6. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล ผู้ส่งTower box ผู้รับ Tower box ข้อมูล สื่อนำข้อมูล ขั้นตอน 1 : ขั้นตอน 2 : ……... โปรโตคอล ขั้นตอน 1 : ขั้นตอน 2 : ……... โปรโตคอล
  • 7. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล • ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (sender) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูลไปยัง จุดหมายที่ต้องการข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ต้นทางจะต้องจัดเตรียมนาเข้าสู่อุปกรณ์ สาหรับส่งข้อมูล ได้แก่ เครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์ควบคุมต่างๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถส่ง ข้อมูลนั้นได้ก่อน
  • 8. • ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่ง มาให้ ข้อมูลที่ถูกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึงปลายทางก็จะมี จะมีอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลเหล่านั้นเพื่อนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์ จานดาวเทียม เป็นต้น
  • 9. • ข้อมูล (data) คือ ข้อมูลที่ผู้ส่งข้อมูลต้องการส่งไปยังผู้รับข้อมูล ข้อมูล อาจอยู่ในรูปของข้อความ รูปภาพ เสียง • สื่อนาข้อมูล (Medium) คือ สิ่งที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการขนถ่าย ข้อมูลจากผู้ส่งข้อมูลไปยังผู้รับข้อมูล เช่น สายไฟ ขดลวด สายเคเบิล สายใยแก้วนาแสง อากาศ เป็นต้น • โปรโตคอล (Protocol) คือ กฎหรือวิธีที่กาหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล ซึ่งผู้ส่งข้อมูลจะต้องส่งข้อมูลในรูปแบบตามวิธีการสื่อสารที่ตกลงไว้กับผู้รับ ผู้รับข้อมูล จึงจะสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้ซึ่งมีหลายชนิดให้เลือกใช้เช่น เช่น TCP/IP , X.25 , SDLC
  • 10. • ซอฟแวร์ (Software) คือ การส่งข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมี โปรแกรมสาหรับดาเนินการ และควบคุมการส่งข้อมูลเพื่อให้เลือกใช้ข้อมูล ข้อมูลตามที่กาหนดไว้ได้แก่ Netware , UNIX,Windows NT เป็นต้น
  • 12. วัตถุประสงค์หลักของการนาการสื่อสารข้อมูล 1. เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น ฐานข้อมูล ตัวประมวลผล และฮาร์ดดิสก์เป็นต้น 2. เพื่อให้มีการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ 3. เพื่อเพิ่มความเชื่อถือ (Reliability) ของระบบการประมวลผล โดยมีการสารอง ระบบตลอดจนความซ้าซ้อนของระบบ 4. เพื่อช่วยให้สามารถประมวลผลแบบกระจายได้ ซึ่งการประมวลผลแบบนี้จะ ช่วยให้มีการกระจายการทางานจากคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ ไปสู่คอมพิวเตอร์ เครื่องเล็กๆ ซึ่งราคาไม่แพงมาก 5. เพื่อให้สามารถควบคุมและจัดสรรทรัพยากรจากส่วนกลาง ไปสู่แต่ละระบบ ย่อยที่อยู่ห่างไกลกัน 6. เพื่อช่วยให้อุปกรณ์ที่มีความแตกต่างกันสามารถใช้งานร่วมกันได้
  • 14. ชนิดของสัญญาณข้อมูล • สัญญาณอนาล็อก(Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มี ลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยที่แต่ละคลื่นจะมีความถี่และความ เข้มของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับ สัญญาณและแปลงสัญญาณ ก็จะได้ข้อมูลที่ต้องการได้ตัวอย่างของการส่ง ข้อมูลที่มีสัญญาณแบบอนาลอก คือ การส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์
  • 15. • เฮิรตซ์ (Hertz : Hz) คือ หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบ อนาลอก วิธีวัดความถี่จะนับจานวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น สัญญาณข้อมูลที่มีความถี่60 Hertz หมายถึง ใน 1 วินาที สัญญาณมีการเปลี่ยนแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ (ขึ้นและลง นับเป็น 1 รอบ)
  • 16. • สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปแบบ สัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณอนาลอก ใน ในการสื่อสารด้วยสัญญาณดิจิตอลข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง เลขฐานสอง (0 และ 1) จะถูกแทนด้วยสัญญาณดิจิตอล การแทนข้อมูล ดิจิตอลด้วยสัญญาณดิจิตอลมีหลายแบบ วิธีที่แทนบิตข้อมูล 0 ด้วย สัญญาณไฟฟ้ าที่เป็นกลาง และบิตข้อมูล 1 ด้วยสัญญาณไฟฟ้ าที่เป็นบวก บวก
  • 17. • rate เป็นอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วิธีวัดความเร็วจะ นับจานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400 bps หมายถึงมีความเร็วในการส่งข้อมูลจานวน 14,400 บิต ในระยะเวลา 1 วินาที