SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
บทที่1 
บทนำ 
1.1 ทมี่ำและควำมสำคัญของโครงงำน 
เครือขา่ยคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ 
ระบบการสื่อสารระหวา่งคอมพิวเตอร์จา นวนตั้งแตส่องเครื่องขึ้นไป เพื่อสะดวกตอ่การร่วมใช้ข้อมูล, 
โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอา นวยความสะดวกในการติดตอ่แลกเปลี่ยนข้อมูล 
ระหวา่งเครื่องได้ตลอดเวลา 
การที่ระบบเครือขา่ยมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน 
เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อยา่งแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมตอ่คอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกนั 
การโอนย้ายข้อมูลระหวา่งกนัในเครือขา่ย ทา ให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น 
การแบง่การใช้ทรัพยากร เชน่ หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา , หน่วยจัดเก็บข้อมูล,โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
และอุปกรณ์ตา่ง ๆ ที่มีราคาแพงและไมส่ามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เชน่ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ 
ทา ให้ลดต้นทุนของระบบลงได้ 
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำน 
1. เพื่อศึกษาค้นควา้เรื่องที่สนใจเกยี่วกับระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้งานระบบเครือขา่ย 
3. ประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 
4. เพื่อให้สามารถติดตอ่สื่อสารกนัได้ระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป 
1.3 ขอบเขตของโครงงำน 
1. เพื่อศึกษาเกยี่วระบบเครือขา่ย 
2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของระบบเครือขา่ย 
1.4 นิยำมศัพท์เฉพำะ 
1. คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ 
ระบบการสื่อสารระหวา่งคอมพิวเตอร์จา นวนตั้งแตส่องเครื่องขึ้นไป เพื่อสะดวกตอ่การร่วมใช้ข้อมูล, 
โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ 
และยังสามารถอา นวยความสะดวกในการติดตอ่แลกเปลี่ยนข้อมูลระหวา่งเครื่องได้ตลอดเวลา 
1.5ประโยชน์ทคี่ำดว่ำจะได้รับ 
1. การเพิ่มขีดความสามารถในการใช้งานระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ โดยเกิดจากความรู้ความเข้าใจ
2. การลดปัญหาการสื่อสารระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป 
3. การประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น กอ่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
บทที่2 
เอกสำรทเี่กี่ยวข้อง 
ในการจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
คณะผู้จัดทา โครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ตา่งๆ ที่เกยี่วข้องดังตอ่ไปนี้ 
2.1 ระบบเครือข่ำยมีสำย 
เครือขา่ยคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ 
ระบบการสื่อสารระหวา่งคอมพิวเตอร์จา นวนตั้งแตส่องเครื่องขึ้นไป เพื่อสะดวกตอ่การร่วมใช้ข้อมูล, 
โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอา นวยความสะดวกในการติดตอ่แลกเปลี่ยนข้อมูล 
ระหวา่งเครื่องได้ตลอดเวลา 
การที่ระบบเครือขา่ยมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อยา่งแพร่หลาย 
จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหลา่นั้นถึงกนั การโอนย้ายข้อมูลระหวา่งกนัในเครือขา่ย 
ทา ให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบง่การใช้ทรัพยากร เชน่ หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา , 
หน่วยจัดเก็บข้อมูล,โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตา่ง ๆ 
ที่มีราคาแพงและไมส่ามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เชน่ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ 
ทา ให้ลดต้นทุนของระบบลงได้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ 
1. เครือข่ำยท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) 
เป็นเครือขา่ยระยะใกล้ ใช้กนัอยูใ่นบริเวณไมก่วา้งนัก อาจอยูใ่นองค์กรเดียวกนั หรืออาคารที่ใกล้กนั เชน่ 
ภาพในสานักงาน ภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ระบบเครือขา่ยท้องถิ่นจะชว่ยให้ติดต่อกนัได้สะดวก 
ชว่ยลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานอุปกรณ์ตา่งๆ 
2. เครือข่ำยระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) 
เป็นเครือขา่ยขนาดกลาง ใช้ภายในเมือง หรือจังหวดัที่ใกล้เคียงกนั เชน่ 
ระบบเคเบิลทีวีที่มีสมาชิกตามบ้านทั่วไปที่เราดูกนัอยู่ทุกวนัก็จัดเป็นระบบเครือขา่ยแบบ MAN 
3. เครือข่ำยระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) 
เป็นระบบเครือขา่ยขนาดใหญ่ใช้ติดตั้งบริเวณกวา้ง มีสถานนีหรือจุดเชื่อมตอ่มากมาย มากกวา่ 1 แสนจุด 
ใช้สื่อกลางหลายชนิด เชน่ ระบบคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม 
4. เครือข่ำยระหว่ำงประเทศ (International Network ) 
เป็นเครือขา่ยที่ใช้ติดตอ่ระหวา่งประเทศ โดยใช้สายเคเบิล หรือ ดาวเทียม
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือขา่ยแลนนั้น 
มีจุดมุง่หมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสารข้อมูลระหวา่งกนัได้ทั้งหมดหากนาเครื่องคอมพิวเต 
อร์สองเครื่องตอ่สายสัญญาณเข้าหากนั 
จะทา ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกนัได้ครั้นจะนาเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามตอ่ 
รวมด้วย เริ่มจะมีข้อยุง่ยากเพิ่มขึ้น และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจา นวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุง่ยาก 
ที่จะทา ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดสื่อสารกนัได้ ด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือขา่ยคอมพิวเตอร์จึงต้อง 
หาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือขา่ยแบบตา่งๆ เพื่อลดข้อยุง่ยาก ในการเชื่อมโยงสายสัญญาณ 
โดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนาไปใช้งานได้ ทั้งนี้เพราะข้อจา กดัของการใช้ 
สายสัญญาณเป็นเรื่องสาคัญมากบริษัทผู้พัฒนาระบบเครือขา่ย
คอมพิวเตอร์ ได้พยายามคิดหาวิธี และใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือขา่ยแลน 
ออกมาหลายระบบ ระบบใดได้รับการ ยอมรับก็มีการตั้งมาตรฐานกลาง เพื่อวา่จะได้มีผู้ผลิตที่สนใจ 
การผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่เครือขา่ย เทคโนโลยีเครือขา่ยแลนจึงมีหลากหลาย เครือขา่ยแลนที่น่าสนใจ 
เชน่ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) โทเก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching) 
LAN โปรโตคอล 
โปรโตคอล (Protocol) คือระเบียบพิธีการในการติดตอ่สื่อสาร 
เมื่อมาใช้กบัเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม จึงหมายถึงขั้นตอนการติดตอ่สื่อสาร ซึ่งรวมถึง กฎ ระเบียบ 
และข้อกา หนดตา่ง ๆ รวมถึงมาตรฐานที่ใช้ 
เพื่อให้ตัวรับและตัวส่งสามารถดา เนินกิจกรรมทางด้านสื่อสารได้สาเร็จ 
การที่คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจะส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งได้นั้น 
จะต้องอาศัยกลไกหลายๆอยา่งร่วมกนัทา งานตา่งหน้าที่กนัและเชื่อมตอ่เป็นเครือขา่ยเข้าด้วยกนั 
ปัญหาที่เกิดขึ้นคือการเชื่อมต่อมีความแตกตา่ง ระหวา่งระบบและอุปกรณ์หรือเป็นผู้ผลิตคนละรายกัน 
ซึ่งเป็นสิ่งที่ทา ให้การสร้างเครือขา่ยเป็นเรื่องยากมาก เนื่องจากขาดมาตรฐานกลางที่จา เป็นในการเชื่อมตอ่ 
จึงได้เกิดหน่วยงานกา หนมาตรฐานสากลขึ้นคือ International Standards Organization 
ขึ้นและทา การกา หนดโครงสร้างทั้งหมดที่จา เป็นต้องใช้ในการสื่อสารข้อมูลและเป็นระบบเปิด 
เพื่อให้ผู้ผลิตตา่งๆสามารถแยกผลิตในส่วนที่ตัวเองถนัด แตส่ามารนาไปใช้ร่วมกนัได้ 
ระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์สมัยใหมจ่ะถูกออกแบบให้มีโครงสร้างทีแน่นอน 
และเพื่อเป็นการลดความซับซ้อน ระบบเครือขา่ยส่วนมากจึงแยกการทา งานออกเป็นชั้นๆ (layer) 
โดยกา หนดหน้าที่ในแตล่ะชั้นไวอ้ยา่งชัดเจน แบบจา ลองสาหรับอ้างอิงแบบ OSI (Open System 
Interconnection Reference Model) หรือที่นิยมเรียกกนัทั่วไปวา่ OSI Reference Model ของ ISO 
เป็นแบบจา ลองที่ถูกเสนอและพัฒนาโดองค์กร International Standard Organization (ISO) 
โดยจะบรรยายถึงโครงสร้างของสถาปัตยกรรมเครือขา่ยในอุดมคติ 
ซึ่งระบบเครือขา่ยที่เป็นไปตามสถาปัตยกรรมนี้จะเป็นระบบเครือขา่ยแบบเปิด 
และอุปกรณ์ทางเครือขา่ยจะสามารถติดต่อกนัได้โดยไมข่ึ้นกับวา่เป็นอุปกรณ์ของผู้ขายรายใด ด้วยแนวคิดนี้ 
องค์กรวา่ด้วยเครื่องมาตรฐานระหวา่งประเทศ จึงได้วางมาตรฐานโปรโตคอลไวเ้ป็นระดับ
เพื่อให้การสื่อสารตา่ง ๆ ยึดหลักการนี้และเรียกมาตรฐานโปรโตคอลนี้วา่ OSI PROTOCOL 
โดยวางเป็นระดับ 7 ชั้น 
วิธีการถา่ยโอนข้อมูลเป็นการส่งสัญญาณออกจากเครื่องและรับสัญญาณเข้าไปในเครื่อง 
การถา่ยโอนข้อมูลสามารถจา แนกได้ 2 แบบ คือ การถา่ยโอนข้อมูลแบบขนาน 
การถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรม 
1. กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน 
การถา่ยโอนข้อมูลแบบขนาน ทา ได้โดยการส่งข้อมูลออกทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 
บิตจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ 
อุปกรณ์ตัวกลางระหวา่งสองเครื่องจึงต้องมีชอ่งทางให้ข้อมูลเดินทางอยา่งน้อย 8 ชอ่งทาง 
เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผา่นโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน 
ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหวา่งสองเครื่องไมค่วรยาวเกิน 100 ฟุต 
เพราะอาจทา ให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไปกบัความต้านทานของสาย 
นอกจากนี้อาจมีปัญหาที่เกิดจากระดับไฟฟ้าสายดินที่จุดรับผิดไปจากจุดส่ง
ทา ให้เกิดการผิดพลาดในการรับสัญญาณทางฝ่ายรับ 
นอกจากแกนหลักแล้วอาจจะมีทางเดินของสัญญาณควบคุมอื่น ๆ อีก เชน่ บิตพาริตี 
ที่ใช้ในการตรวจสอบความผิดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทางหรือสายที่ควบคุมการโต้ตอบ (hand-shake) 
2. กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม 
ในการถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหวา่งจุดส่งและจุดรับ 
การส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากวา่แบบขนาน 
การถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการตัวกลางสาหรับการสื่อสารเพียงชอ่งเดียวหรือสายเพียงคูเ่ดียว 
คา่ใช้จา่ยจะถูกกวา่แบบขนานสาหรับการส่งระยะทางไกลๆ 
โดยเฉพาะเมอื่เรามีระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์ไวใ้ช้งานอยูแ่ล้ว 
ยอ่มจะเป็นการประหยัดกวา่ที่จะทา การติดต่อสื่อสารทีละ 8 ชอ่ง เพื่อการถา่ยโอนข้อมูลแบบขนาน 
การถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มโดยข้อมูลจากจุดส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณอนุกรมเสียกอ่น 
แล้วคอยทยอยส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ และที่จุดรับจะต้องมีกลไกในการเปลี่ยนข้อมูลที่ส่งมาทีละบิต 
ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่งลงตัวพอดี เชน่ บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลที่ส่งมาทีละบิต 
ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่งลงตัวพอดี เชน่ บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นที่ 1 ดังแสดงในรูป 
Gigabit Ethernet (IEEE802.3z)เป็นมาตรฐานใหมข่องเทคโนโลยีเครือขา่ยท้องถิ่น (LAN-Local 
Area-Network) ที่พัฒนามาจาก เครือขา่ยแบบ Ethernet แบบเกา่ที่มีความเร็ว 10 Mbps 
ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ระดับความเร็ว 1 Gbps ทั้งนี้เทคโนโลยีนี้ ยังคงใช้กลไก CSMS/CD 
ในการร่วมใช้สื่อเหมือนEthernet แบบเกา่ 
หากแตมี่การพัฒนาและดัดแปลงให้สามารถรองรับความเร็วในระดับ 1 Gbps ได้
Gigabit Ethernet เป็นส่วนเพิ่มขยายจาก 10 Mbps และ 100 Mbps Ethernet (มาตราฐาน IEEE 802.3 และ 
IEEE802.3u ตามลา ดับ) โดยที่มนัยังคงความเข้ากนัได้กบัมาตราฐานแบบเกา่อยา่ง100% Gigabit Ethernet 
ยังสนับสนุนการทา งานใน mode full-duplex โดยจะเป็นการทา งานในการเชื่อมตอ่ระหวา่ง Switch กบั 
Switch และระหวา่ง Switch กบั End Station ส่วนการเชื่อมตอ่ผา่น Repeater, Hub 
ซึ่งจะเป็นลักษณะของShared-media (ซึ่งใช้กลไก CSMA/CD) Gigabit Ethernet จะทา งานใน mode Half-duplex 
ซึ่งสามารถจะใช้สายสัญญาณได้ทั้งสายทองแดงและเส้นใยแกว้นาแสง 
ปกติระบบ LAN จะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งการ์ด LAN อุปกรณ์กระจายสัญญาณที่เรียกวา่ 
Hub และสายที่ตอ่ระหวา่งเครื่องกบั Hub ซึ่งแตส่่วนมีรายละเอียดดังนี้ 
กำร์ดแลน LAN (Network Interface Card:NIC) 
เครื่องพีซีจะเชื่อตอ่กนัเป็นระบบ LAN ขึ้นมานั้น แตล่ะเครื่องต้องติดตั้งการ์ด LAN 
เครื่องรุ่นใหมๆ่อาจจะมีการ์ด LAN ฝังตัวอยูใ่นบอร์ดให้แล้ว (Lan Onboard) 
หรือในโน๊ตบุ๊คใหมๆ่ก็มกัจะมีพอร์ต LAN มาให้แล้ว โดยส่วนใหญจ่ะมีความเร็ว 1000หรือ100 เมกกะบิต
(ถ้าเป็นรุ่นเกา่จะมีความเร็วเพียง 10 เมกกะบิตตอ่วินาทีเทา่นั้น) เรียกวา่เป็น Fast Ethernet 
และบางแบบก็อาจใช้ได้ทั้ง 2 ความเร็วโดยสามารถปรับแบบอัตโนมตัิแล้วแตจ่ะไปเชื่อมตอ่กบัอุปกรณ์ Hub 
หรือ Switch แบบใดการ์ด LAN รุ่นใหมจ่ะมีคุณสมบัติ Plug&Play หรือ PnP มกัเสียบเข้ากบัสล๊อตแบบ PCI 
(การ์ดรุ่นเกา่จะใช้กบัสล๊อตแบบ ISA ซึ่งไมค่อ่ยพบแล้ว จึงไมข่อกลา่วถึง) 
โดยมีชอ่งด้านหลังเครื่องให้เสียบสายได้ 
อุปกรณ์กระจำยสัญญำณ Hub และ Switch 
โครงสร้างของระบบ LAN ทั่วไปจะประกอบด้วยอุปกรณ์ที่เรียกวา่ Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมตอ่ 
โดยใช้สายชนิดที่เรียกวา่ UTP เป็นตัวเชื่อมตอ่ ซึ่งในการทา งานจริงข้อมูลที่ส่งออกมาจากการ์ด LAN 
ของแตล่ะเครื่องจะถูกกระจายตอ่ไปยังทุกเครื่องที่ตอ่กบั HUB นั้น เหมือนกบัการกระจายเสียงหรือ 
broadcast ไปให้ทุกคนรับรู้แตเ่ฉพาะเครื่องที่ถูกเจาะจงให้เป็นผู้รับเทา่นั้นจึงจะรับข้อมูลไปอา่น 
แตส่ายทุกเส้นจะต้องมีข้อมูลนี้วิ่งไปด้วย คือส่งได้ทีละเครื่องเทา่นั้น นอกจาก Hub 
แล้วยังมีอุปกรณ์อื่นๆเชน่ Switch ซึ่งใช้เชื่อมตอ่ใน Lan ได้เชน่เดียวกนั แตมี่ประสิทธิภาพดีกวา่ เพราะ 
Switch จะดูวา่เครื่องใดเป็นผู้รับแล้วส่งตอ่เฉพาะสายเส้นที่ไปยังเครื่องนั้น 
สายของเครื่องอื่นๆจึงวา่งพอที่จะรับส่งข้อมูลอื่น ได้พร้อมกนัหลายๆชุด 
สำย UTP (Unshield Twisted Pair)
สายที่ใช้กบั LAN เรียกวา่สาย UTP (Unshield Twisted Pair) ซึ่งใช้หัวตอ่แบบ RJ-45 ซึ่งมีทั้งหมด 8 ขา 
สายแบบนี้ที่เข้าหัวไวแ้ล้วจะหาซื้อได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป 
หรือจะซื้อแบบเป็นมว้นมาตัดเข้าหัวเองก็ได้ แตต่้องมีเครื่องมือหรือคีมเข้าหัว RJ-45 โดยเฉพาะ 
มีข้อจา กดัคือ จะต้องยาวไมเ่กิน 100 เมตร จากเครื่องไปยัง Switch และแบง่ได้เป็น 2 
ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ 
• สายตรง (Straight-through Cable) คือสายปกติที่ใช้เชื่อมระหวา่งการ์ด LAN และ Hub / Switch 
• สายไขว้(Crossover Cable) ใช้ตอ่การ์ด LAN บนคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องหรือพอร์ตของ Hub หรือ Switch 
2 ตัวโดยตรง เพื่อเพิ่มขยายพอร์ต ซึ่งวิธีการเข้าหัวจะตา่งจากปกติ 
อินเทอร์เน็ต 
ตัวอยา่งการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกลา่วตอ่ไปนี้เป็นเพียงตัวอยา่งที่แพร่หลายและใช้กนัมากเทา่นั้น 
แตยั่งมีการใช้งานอื่น ๆ อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา 
1. กำรรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 
เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผา่นคอมพิวเตอร์ 
ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร แล้วจา่หน้าซองที่อยูข่องผู้รับที่เรียกวา่ แอดเดรส 
ระบบจะนาส่งให้ทันทีอยา่งรวดเร็ว ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกนั 
เชน่ sombat@nontri.ku.ac.th การติดตอ่บนอินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตา แหน่งให้เองโดยอัตโนมตัิ 
และนาส่งไปปลายทางได้อยา่งถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email) 
กา ลังเป็นที่นิยมอยา่งแพร่หลาย 
2. กำรโอนย้ำยแฟ้มข้อมูลระหว่ำงกัน 
เป็นระบบที่ทา ให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหวา่งกนัหรือมีสถานีให้บริการ 
เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยูใ่นที่ตา่ง ๆ และให้บริการ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้
3. กำรใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในทหี่่ำงไกล 
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากบัเครือข่าย ทา ให้เราสามารถ 
เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้ 
ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยูใ่นเครือขา่ย โดยไมต่้องเดินทางไปเอง 
4. กำรเรียกค้นข้อมูลข่ำวสำร 
ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไวใ้ห้ใช้งานจา นวนมาก 
ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอา่น หรือนามาพิมพ์ 
ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญอ่ยูภ่ายในเครือข่าย 
ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกวา่ 
เครือขา่ยใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW) เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกนัทั่วโลก 
5. กำรอ่ำนจำกกลุ่มข่ำว 
ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุม่ขา่วเป็นกลุม่ ๆ แยกตามความสนใจ แตล่ะกลุม่ขา่ว 
อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ 
กลุม่ขา่วนี้จึงแพร่หลายกระจายขา่วได้รวดเร็ว 
6. กำรสนทนำบนเครือข่ำย 
เครือขา่ยอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง ในการติดตอ่สนทนากนัได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ 
ตอ่มา พัฒนาให้ใช้เสียงได้ 
ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากนัและกนับนจอภาพได้ 
7. กำรบริกำรสถำนีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่ำย 
ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือขา่ยอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี 
ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ 
ขณะเดียวกนัก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือขา่ยด้วย
2.2 ระบบเครือข่ำยไร้สำย 
ระบบเครือขา่ยไร้สาย (Wireless LAN) เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1971 บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ 
ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อวา่ “ALOHNET” ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ Bi-directional 
ส่งไป-กลับง่ายๆ ผา่นคลื่นวิทยุ สื่อสารกนัระหวา่งคอมพิวเตอร์ 7 เครื่อง ซึ่งตั้งอยูบ่นเกาะ 4 
เกาะโดยรอบ และมีศูนย์กลางการเชื่อมตอ่อยู่ที่เกาะๆหนึ่ง ที่ชื่อวา่ Oahu 
ระบบเครือข่ำยไร้สำย (WLAN = Wireless Local Area Network) คือ 
ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีความคล่องตัวมาก 
ซึ่งอาจจะนามาใช้ทดแทนหรือเพิ่มตอ่กบัระบบเครือขา่ยแลนใช้สายแบบดั้งเดิม 
โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในยา่นวิทยุ RF และ คลื่นอินฟราเรด 
ในการรับและส่งข้อมูลระหวา่งคอมพิวเตอร์แตล่ะเครื่อง ผา่นอากาศ, ทะลุกา แพง, 
เพดานหรือสิ่งกอ่สร้างอื่นๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย 
นอกจากนั้นระบบเครือขา่ยไร้สายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมทุกอยา่งเหมือนกับระบบ LAN แบบใช้สาย 
ที่สาคัญก็คือ การที่มนัไมต่้องใช้สายทา ให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานทา ได้โดยสะดวก ไมเ่หมือนระบบ LAN 
แบบใช้สาย ที่ต้องใช้เวลาและการลงทุนในการปรับเปลี่ยนตา แหน่งการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ปัจจุบันนี้ โลกของเราเป็นยุคแห่งการติดตอ่สื่อสาร เทคโนโลยีตา่งๆ เชน่โทรศัพท์มือถือ 
เป็นสิ่งจา เป็นตอ่การดา เนินธุรกิจและการใช้ชีวิตประจา วนั ความต้องการข้อมูลและการบริการตา่งๆ 
มีความจา เป็นสาหรับนักธุรกิจ เทคโนโลยีที่สนองตอ่ความต้องการเหลา่นั้น มีมากมาย เชน่ โทรศัพท์มือถือ 
เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุค เครื่องปาล์ม ได้ถูกนามาใช้เป็นอยา่งมากและ ผู้ที่น่าจะได้ประโยชน์จากการใช้ 
ระบบเครือขา่ยไร้สาย มีมากมายไมว่า่จะเป็น
- หมอหรือพยาบาลในโรงพยาบาล เพราะสามารถดึงข้อมูลมารักษาผู้ป่วยได้จาก เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุค 
ที่เชื่อมตอ่กบั ระบบเครือขา่ยไร้สายได้ทันที 
- นักศึกษาในมหาวิทยาลัยก็สามารถใช้งานโน๊ตบุ๊คเพื่อค้นควา้ข้อมูลในห้องสมุดของมหาวิทยาลัย 
หรือใช้อินเตอร์เน็ท จากสนามหญ้าในมหาลัยได้ 
- นักธุรกิจที่มีความจา เป็นต้องใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์นอกสถานที่ที่ทา งานปกติ 
ไมว่า่จะเป็นการนาเสนองานยังบริษัทลูกค้า 
หรือการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ติดตัวไปงานประชุมสัมมนาตา่งๆ 
บุคคลเหลา่นี้มีความจา เป็นที่จะต้องเชื่อมต่อเข้ากับเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
ไมว่า่จะเป็นเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ขององค์กรซึ่งอยูห่่างออกไปหรือเครือขา่ยคอมพิวเตอร์สาธารณะ 
เชน่เครือขา่ยอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีเครือขา่ยไร้สายจึงน่าจะอา นวยความสะดวกให้กบับุคคลเหลา่นี้ได้ 
ซึ่งในปัจจุบันได้มีการเปิดให้บริการเชื่อมต่อเครือขา่ยอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย ตามสนามบินใหญทั่่วโลก 
และนามาใช้งานแพร่หลายในห้างสรรพสินค้า และโรงแรมตา่งๆแล้ว 
การใช้งานคอมพิวเตอร์เปลี่ยนรูปแบบมาเป็นงานที่ต้องเชื่อมโยงกับเครือขา่ยโดยเฉพาะอินเทอร์เน็ 
ต การเชื่อมตอ่เครือขา่ยจึงมีพัฒนาการอยา่ง ตอ่เนื่อง โดยเฉพาะระบบการเชื่อมโยงแบบต้องใช้สาย 
ซึ่งมีแลนแบบอีเทอร์เน็ตเป็นฐานใหญ่โดยเฉพาะการเชื่อมตอ่ด้วยสายยูทีพีผา่นฮัพ ทา ให้เข้าสู่ 
เครือขา่ยด้วยความเร็วสูงถึง 100 เมกะบิตตอ่วินาที 
อีกด้านหนึ่งคือการเชื่อมด้วยสายโทรศัพท์โดยเฉพาะการใช้โมเด็ม และ ADSL ที่เปิดบริการกนัมาก 
อยูใ่นขณะนี้ 
ดเดน่ของระบบแลนไร้สายมีหลายประการ โดยเฉพาะในอดีตปัญหาทางเทคโนโลยีเป็นข้อจา กัด 
เพราะไมส่ามารถสร้างระบบ VLSI (วงจรรวมขนาดใหญม่าก) ที่ใช้งานยา่นความถี่สูงมาก กินกา ลังไฟฟ้าต่า 
มีขนาดเล็กและเบา ปัจจุบันสามารถพัฒนาวงจร CMOS ซึ่งเป็นหัวใจของ การผลิตชิปที่มีวงจรซับซ้อน 
ให้กินกา ลังงานไฟฟ้าต่า มาก และใช้กบัความถี่สูงยา่นไมโครเวฟได้ 
เมอื่เป็นเชน่นี้ระบบแลนไร้สายจึงตอบสนอง ความต้องการเดน่ ๆ ตอ่ไปนี้ได้ 
ควำมยืดหยุ่นในกำรใช้งำน 
สภาพปัจจุบันผู้ใช้งานมีเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่เรียกวา่โน้ตบุ๊คกนัเป็นส่วนใหญ่โน้ตบุ๊คมีขนาด 
เล็กลงจนสามารถนาติดตอ่ไปใช้ที่ต่าง ๆ ได้สะดวก การนาโน้ตบุ๊คตอ่กบัสายแลนจึงไมส่ะดวก
การนาโน้ตบุ๊คตอ่กบัสายแลนจึงไมส่ะดวก อีกทั้งสภาพ การทา งานเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา 
ทา ให้ผู้ใช้ไมถู่กยึดติดอยูกั่บที่ เชน่ การนาโน้ตบุ๊คเข้าประชุม การปรึกษาหรือระหวา่งกลุม่ย่อย 
แลนที่ใช้ถ้าเป็น ระบบสายจะยุง่ยากในการปรับเปลี่ยน แตส่าหรับแลนไร้สายจะประกอบด้วย 
การ์ดไคลเอนต์ ซึ่งเป็นแผนวงจรขนาดเล็ก ขนาด PCMCIA ที่ตอ่เข้ากบั โน้ตบุ๊คเทา่นั้น 
และส่วนที่เป็นแอ็กเซสพอยต์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมตอ่ที่นาไปวางไว้ที่ใดก็ได้ หรือจะติดยึดกบัฝาผนัง ฝ้า เพดาน 
หรือจะเคลื่อนย้ายไปที่ใด ก็ได้ โดยด้านหนึ่งรับสัญญาณวิทยุ 
อีกด้านหนึ่งเป็นสายตอ่เชื่อมเข้าสู่ระบบเครือขา่ย การติดตั้งแลนไร้สายจึงทา ได้ง่ายกวา่มาก 
ความยืดหยุน่จึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการติดตั้งทา ได้ง่าย 
โดยเฉพาะการดา เนินงานเพื่อให้ตอบสนองตอ่ความต้องการของผู้ใช้ 
กำรนำติดตัว (Mobility) 
การเคลื่อนย้ายของผู้ใช้อาจไมเ่ฉพาะเจาะจงอยูใ่นที่ทา งานอยา่งเดียว อาจครอบคลุมเลยไปยังที่ตา่ง ๆ เชน่ 
การจัดประชุมสัมมนาการเดินทางไปยังสถานที่ตา่ง ๆ 
โดยผู้ใช้ติดตั้งไปเฉพาะโน้ตบุ๊คก็สามารถเข้าถึงเครือขา่ยได้ 
กำรขยำยเครือข่ำยได้ง่ำย 
เครือขา่ยแบบแลนไร้สายทา ให้เครือขา่ยองค์กรปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่ายไมยุ่ง่ยากในเรื่อง 
การเดินสายสื่อสาร ซึ่งมีปัญหาในเรื่องสถานที่ 
การปรับปรุงสถานที่เพื่อเดินสายสัญญาณเป็นเรื่องไมพึ่งปรารถนาเครือขา่ยไร้สายสามารถครอบคลุม 
พื้นที่เป็นเซลเล็ก ๆ โดยมีการเชื่อมโยงระหวา่งอาคารได้ด้วยระบบแบบจุดไปจุด 
ทา ให้ดา เนินการได้เร็วและสะดวกตอ่การติดตั้ง 
ให้ผลคุ้มค่ำ 
การออกแบบสร้างเครือขา่ยแลนแบบไร้สาย เริ่มให้ผลตอบแทนต้องการลงทุนคุ้มคา่มากขึ้น 
ทั้งนี้เพราะอุปกรณ์เชื่อมโยง ระบบแลนไร้สายมีแนวโน้มที่ถูกลง 
จึงสามารถชดเชยกบัสิ่งที่เรียกวา่การลงทุนการเดินสายสัญญาณและความคลอ่งตัวในการออกแบบ 
ปัจจุบันมูลคา่ ของการ์ดแลนมีราคาขายในท้องตลาดทั่วไปประมาณ 200 เหรียญสหรัฐ 
แนวโน้มนี้ยังคงมีราคาลดลงอีก สาหรับอุปกรณ์ที่เป็นแอ็กเซสพอยต์ก็มี แนวโน้มที่ลดลงเชน่กนั 
ระบบแลนไร้สายแบบจุดไปจุดสามารถเชื่อมตอ่ได้ด้วยระยะทางไกลถึง 25 ไมล์ 
ซึ่งทา ให้ประหยัดในเรื่องคา่ใช้จา่ยด้านตา่ง ๆ ลงไปได้มาก
1. Boot ROM (ROM ยอ่มาจาก Read-Only Memory) หรือหน่วยความจา สาหรับเริ่มต้นระบบ 
และพื้นที่หน่วยความจา ระบบ จะควบคุมการทา งานและกา หนดเส้นทางตา่ง ๆ 
ของการทา งานเริ่มตั้งแตเ่ราเปิดคอมพิวเตอร์ที่มีการ์ดนี้ทา งานอยู่ด้านในเครื่อง 
นอกจากนี้ยังมีคา สั่งพื้นฐานสาหรับการทา งานของการ์ด ในตัวอยา่งนี้จะมีคา สั่งสาหรับการ์ดแบบ 
ไร้สาย PCMCIA ซึ่งมีขนาดเทา่กบับัตรเครดิตและเสียบอยูที่่สลอต (Slot) เฉพาะในคอมพิวเตอร์ 
แล็ปทอป การ์ดเครือขา่ยไร้สายสามารถติดตอ่กับอินเทอร์เน็ตได้หลายทาง ในกรณีของคอมพิวเตอร 
์์แบบตั้งโต๊ะ หรือเดสก์ทอบ (Desktop) 
การ์ดจะเสียบอยูก่บัสลอดด้านในคอมพิวเตอร์ สาหรับคอมพิวเตอร์แล๊ปทอป (Laptop) ที่จะเสียบสลอต 
PCMCIA ทั้งคอมพิวเตอร์เดสก์ทอปและแล็ปทอปสามารถที่จะใช้การ์ดไร้สายแบบ USB ได้ 
โดยการเสียบเข้าไปที่ ชอ่ง USB ของคอมพิวเตอร์ รูปที่เห็นแสดงการ์ด PCMCIA และตัวตอ่ PCMCIA 
2. การ์ดจะมีเสาอากาศเล็ก ๆ ที่ใช้สาหรับรับและส่งข้อมูลจากสถานีฐานของระบบไร้สาย 
3. อุปกรณ์รับส่งคลื่นวิทยุจะถูกเชื่อมตอ่กบัเสาอากาศ โดยจะทา หน้าที่โมดูเลตข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 
ไปกบัคลื่นความถี่วิทยุ และทา การดีโมดูเลตคลื่นที่รับจากเสาอากาศเพื่อนาข้อมูลที่มากบัคลื่นความถี่ 
วิทยุที่ได้รับมาไปเป็นสัญญาณดิจิตอลที่การ์ด PCMCIA และคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสาร 
เข้าใจกนัได้เพราะอุปกรณ์นี้ที่ทา หน้าที่ทั้งรับและส่งแบบไร้สาย 
4. สมองของการ์ดคือตัวควบคุม (Controller) จะรับข้อมูลจากอุปกรณ์รับส่งสัญญาณ ประมวลผล 
และทา งานในการเชื่อมตอ่ระหวา่งเครือขา่ยกบัคอมพิวเตอร์ 
และยังส่งมูลกลับไปพร้อมกับหน่วยความจา ถ้ามีความจา เป็นต้องทา 
หลังจากที่ได้รับข้อมูลจากคลื่นวิทยุก็จะทา การประมวลผล 
เมอื่คอมพิวเตอร์เข้าใจสัญญาณแล้วก็จะส่งตอ่ไปยังการ์ดอินเตอร์เฟช PCMCIA 
5. ข้อมูลเริ่มต้นมาจากคอมพิวเตอร์ และส่งทางอินเตอร์เฟช PCMCIA ไปยังตัวควบคุมการ์ด หรือ
Card Controller และส่งตอ่ไปยังตัวรับส่งข้อมูล และส่งตอ่ไปที่เครือขา่ยโดยเสาอากาศ 
1. Peer-to-peer ( ad hoc mode ) 
รูปแบบการเชื่อมตอ่ระบบแลนไร้สายแบบ Peer to Peer เป็นลักษณะ 
การเชื่อมตอ่แบบโครงขา่ยโดยตรงระหวา่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จา นวน 2 เครื่องหรือมากกวา่นั้น 
เป็นการใช้งานร่วมกนัของ wireless adapter cards โดยไมไ่ด้มีการเชื่อมตอ่กับเครือขา่ยแบบ 
ใช้สายเลย โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ะเครื่องจะมีความเทา่เทียมกนั 
สามารถทา งานของตนเองได้และขอใช้บริการเครื่องอื่นได้ 
เหมาะสาหรับการนามาใช้งานเพื่อจุดประสงค์ในด้านความรวดเร็วหรือติดตั้งได้โดยง่ายเมื่อไมมี่โครงสร้าง 
พื้นฐานที่จะรองรับ ยกตัวอยา่งเชน่ ในศูนย์ประชุม, หรือการประชุมที่จัดขึ้นนอกสถานที่
เครือขา่ยแลนไร้สายแบง่ออกเป็น 4 ประเภท คือ 
1.WPAN(Wireless Personal Area Network) 
เป็นระบบเครือขา่ยไร้สายส่วนบุคคล ปัจจุบันมีอยูส่องระบบที่รองรับการทา งานส่วนบุคคล คือ IR(Infra- 
Red) และ Bluetooth การทา งานจะครอบคลุมบริเวณการสื่อสารที่คอ่นข้างจา กัด เชน่อินฟาเรด 
ระยะปะมาณไมเ่กิน 3 เมตร และบลูทูธ ระยะไมเ่กิน 10 เมตร 
2.WLAN(Wireless Local Area Network) 
เป็นระบบเครือขา่ยท้องถิ่นที่ใช้งานในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในระยะใกล้ ภายในหน่วยงานหรืออาคารเดียวกนั 
เชน่ สานักงาน บริษัท หรือสถานที่จัดนิทรรศการ 
3.WMAN(Wireless Metropolitan Area Network) 
เป็นระบบเครือขา่ยสาหรับเมืองใหญๆ่ 
มีระบบเครือขา่ยที่หลากหลายมักใช้เชื่อมตอ่สื่อสารกนัระหวา่งอาคารตา่งๆภายในเมือง
4.WWAN(Wireless Wide Area Network) 
เป็นระบบเครือขายไร้สายขนาดใหญส่าหรับเมืองหรือประเทศซึ่งมกัมีการใช้งานผา่นดาวเทียม 
ข้ามประเทศ 
ระยะทาง 
(เมตร) 
ประเภทเครือขา่ย 
0-10 Wireless Personal Area Network 
0-100 Wireless Local Area Network 
0-1000 Wireless Wide Area Network 
เครือขา่ยไร้สายมาตรฐาน IEEE 802.11 ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยสถาบัน 
IEEE (The Institute of Electronics and Electrical Engineers) ซึ่งมีข้อกา หนดระบุไวว้า่ 
ผลิตภัณฑ์เครือขา่ยไร้สายในส่วนของ PHY Layer นั้นมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลที่ความเร็ว 1, 2, 
5.5, 11 และ 54 เมกะบิตตอ่วินาที โดยมีสื่อนาสัญญาณ 3 ประเภทให้เลือกใช้งานอันได้แก่ 
คลื่นวิทยุยา่นความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์, 2.5 กิกะเฮิรตซ์และคลื่นอินฟาเรด ส่วน.ในระดับชั้น MAC Layer 
นั้นได้กา หนดกลไกของการทา งานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance) 
ซึ่งมีความคล้ายคลึงกบั CSMA/CD (Collision Detection) ของมาตรฐาน IEEE 802.3 Ethernet
ซึ่งนิยมใช้งานบนระบบเครือขา่ยแลนใช้สาย 
โดยมีกลไกในการเข้ารหัสข้อมูลกอ่นแพร่กระจายสัญญาณไปบนอากาศ 
พร้อมกบัมีการตรวจสอบผู้ใช้งานอีกด้วย 
มาตรฐาน IEEE 802.11 ในยุคเริ่มแรกนั้นให้ประสิทธิภาพการทา งานที่คอ่นข้างต่า 
ทั้งไมมี่การรับรองคุณภาพของการให้บริการที่เรียกวา่ QoS (Quality of Service) 
ซึ่งมีความสาคัญในสภาพแวดล้อมที่มีแอพพลิเคชันหลากหลายประเภทให้ใช้งาน 
นอกจากนั้นกลไกในเรื่องการรักษาความปลอดภัยที่นามาใช้ก็ยังมีชอ่งโหวจ่า นวนมาก IEEE 
จึงได้จัดตั้งคณะทา งานขึ้นมาหลายชุดด้วยกนั 
เพื่อทา การพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานให้มีศักยภาพเพิ่มสูงขึ้น 
หากพูดถึงเรื่องความปลอดภัยของเครือขา่ยแลนไร้สายตามมาตรฐาน 802.11นั้น ในยุคแรก ๆ 
อาจดูไมป่ลอดภัยเทา่ที่ควร เพราะมีขา่วประโคมตา่ง ๆ นานาวา่ข้อมูลที่ส่งผา่นเครือขา่ย WLAN 
นั้นได้กลายเป็นชอ่งทางที่เหลา่แฮกเกอร์ใช้เจาะระบบเข้ามาเพื่อสร้างความเสียหาย โดยการสร้าง 
ประตูหลังบ้าน (back-door) ขึ้นมาเพื่อโจมตีเครือขา่ยของคุณเป็นฐานโจมตีระบบอื่น ๆ ด้วยเชน่กนั 
สาหรับการเซตระบบความปลอดภัยขึ้นมาใช้บนเครือขา่ย WLAN นั้น 
วิธีที่ง่ายที่สุดก็คงเป็นการตั้งคา่การทา งานของเครือขา่ยอย่างเหมาะสม ซึ่งคา วา่เหมาะสมในที่นี้หมายถึง 
หากเป็นเครือขา่ยที่มีผู้ใช้จา นวนมากโอกาสเสี่ยงตอ่การถูกโจมตีก็อาจมีสูงด้วย 
ดังนั้นควรตั้งคา่ความปลอดภัยให้สูงนิดหนึ่ง เชน่ เซต Firewall เอาไวที้่ระดับสูงสุด ในทางกลับกนั 
หากระบบมีผู้ใช้จา นวนน้อย อยา่งภายในบ้าน ออฟฟิศเล็ก ๆ ที่มีคอมพ์ไมเ่กิน 5 เครื่อง ซึ่งแอนมินฯ 
สามารถดูแลได้อยา่งทั่วถึงนั้น ก็ไมค่วรตั้งคา่ความปลอดภัยเอาไว้สูงจนเกินไป 
เพราะจะทา ให้ประสิทธิภาพด้านความเร็วของระบบโดยรวมลดลงได้
แนะนาให้ปรับแตง่ตามความเหมาะสมของเครือขา่ยที่ใช้งานอยูจ่ะดีที่สุด ! 
MAC filtering 
หากคุณรู้วา่ MAC Address มีคา่กบัคุณเพียงใด รับรองวา่คุณต้องดูแลรักษาหมายเลขนี้เป็นพิเศษแน่ 
เพราะในระบบเน็ตเวิร์ก ไมว่า่จะมีสายหรือไร้สายนั้น คา่ MAC Address 
ที่บง่บอกถึงตัวตนของอุปกรณ์มีความสาคัญมากพอ ๆ กบัเทคโนโลยีที่ใช้ในการรักษาความปลอดภัย 
MAC Address ในอุปกรณ์เน็ตเวิร์กจะเป็นหมายเลขที่ไมซ่้า กนัเลย 
ทา ให้การควบคุมหรือการกลั่นกรองผู้ใช้ทา ได้ง่ายขึ้น ดังนั้นการเซตระบบเครือขา่ยไร้สายขึ้นมาใช้งาน 
ภายในบ้าน หรือในออฟฟิศที่มีจา นวนผู้ใช้ไมม่ากนัก ระบบ MAC filtering จึงถูกนามาใช้งาน 
ซึ่งเป็นฟีเจอร์ที่มีอยูบ่นอุปกรณ์เน็ตเวิร์กไร้สายอยา่ง Access point และ ADSL Modem Router 
วิธีการกรองคา่ MAC Address นี้สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้วา่มีสิทธ์ิเชื่อมตอ่เข้ามาหรือไม่ 
เพราะระบบจะมีข้อมูลที่วา่นี้เก็บอยูใ่นเครื่อง 
หากเพื่อนบ้านคุณจะแอบดอดเข้ามาใช้อินเทอร์เน็ตฟรีผา่นระบบไร้สายก็จะเจอกบัการกรอง 
MAC Address เป็นดา่นแรก ใครไมอ่ยูใ่นรายการก็เข้ามาในระบบไมไ่ด้ หรือในทางกลับกนั 
หากคุณมีใจให้กบัคนข้างบ้านและอยากให้เขาเข้ามาใช้อินเทอร์เน็ตของคุณได้ก็เพียงเพิ่มหมายเลขนี้ลงไปใ 
นระบบ 
WEP 
อุปกรณ์ Wi-Fi ทุกชนิดมีความสามารถในการเข้ารหัสข้อมูลกอ่นที่จะมีการสื่อสารระหวา่งสองแห่ง 
WEB (Wired Equivalent Privacy) 
เป็นเทคโนโลยีที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างความปลอดภัยให้กบัเครือขา่ยแลนแบบไร้สาย 
ซึ่งการทา งานของ WEB นั้นมี 2 หน้าที่หลัก ๆ คือ การเข้ารหัส/ถอดรหัสข้อมูล 
และการตรวจสอบผู้ใช้โดยใช้คีย์ขนาด 128 บิต ในการเข้ารหัส และที่สาคัญนั้นรหัสที่ใช้สาหรับ Encrypt
ข้อมูลก็จะเป็นรหัสเดียวกับตอน Decrypt ข้อมูลด้วย 
วิธีแบบนี้ถูกเรียกวา่ symmetric Encrypt/Decrypt ส่วนขั้นตอนตรวจสอบผู้ใช้ (Authentication) 
จะถูกกา หนดเอาไวส้องแบบคือ 
1. ไมมี่การตรวจสอบรหัสลับ 
2. มีการตรวจสอบรหัสลับ 
โดยเป็นกลไกที่จะคอยเช็กวา่ผู้ใช้คนดังกลา่วมีสิทธ์ิจะเข้ามาในเครือขา่ยนี้หรือไม่แน่นอนวา่วีที่ 2 
นี้ คุณจา เป็นต้องตั้งคา่ให้มีการเข้ารหัสด้วย WEB เอาไวด้้วย แต่WEB ก็ยังมีข้อเสียเชน่กนั คือ 
การเข้ารหัสอาจถูกเจาะด้วยการสุ่มคีย์ต่าง ๆ 
ออกมาได้ทั้งหมดเพราะเทคโนโลยีสมยัใหมที่่มีในปัจจุบันได้เอื้ออา นวยให้การถอดรหัสด้วยวิธีการตา่ง ๆ 
ทา ได้ง่ายขึ้น แตถึ่งกระนั้นก็ต้องใช้เวลานานทีเดียวกวา่จะถอดรหัสข้อมูลออกมาได้ทั้งหมด 
สว่นวิธีการตรวจสอบสิทธ์ิผู้ใช้นั้นก็มีชอ่งโหวเ่ล็ก ๆ ให้เห็นเชน่กนั 
โดยมีข้อมูลที่เป็นส่วนคา ถามที่ใช้ตรวจสอบไมไ่ด้ถูกเข้ารหัสไวต้ั้งแตแ่รก
ซึ่งทา ให้ผู้ไมป่ระสงค์ดีสามารถเข้ามาถอดรหัสบางส่วนออกมาได้ 
ของเลน่ที่ใช้รีโมตคอนโทรล (Remote-Controlled Toys) ของเลน่ที่ใช้รีโมตคอลโทรล อยา่งเชน่ 
รถหุ่นยนต์ เป็นต้น ถูกควบคุมแบบไร้สาย และของเลน่ที่ตอบสนองเหมือนมีชีวิต เชน่ 
ของเลน่ระบบดิจิตอล เรียกวา่เพอร์บี้ (Furbies) จะใช้เทคโนโลยีแบบไร้สายส่งข้อมูลของตัวเองไปยังผู้อื่น 
โทรศัพท์มือถือ (Cell Phone) นี่คืออุปกรณ์ที่ทุกๆ คน นึกถึงเมอื่กลา่วถึงเทคโนโลยีแบบไร้สาย 
รีโมตคอลโทรล (Remote Control) ทุก ๆ ครั้งที่คุณกดรีโมตคอนโทรลเพื่อเปลี่ยนชอ่งสัญญาณ หรือเสียง
หรืออื่น ๆ คุณกา ลังใช้เทคโนโลยีแบบไร้สายซึ่งใช้รังสีอินฟราเรด 
ระบบเครือขา่ยแบบไร้สาย (Wireless Network) บ้านหลาย ๆ บ้านทุกวนันี้ไมใ่ชมี่แตค่อมพิวเตอร์เครื่องเดียว 
ระบบเครือขา่ยโดยเทคโนโลยีแบบไร้สายสามารถเชื่อมตอ่กนัได้ 
และสามารถที่จะใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านทางเคเบิลโมเด็มได้ด้วย 
ข้อดี
1. ชว่ยลดปัญหาในการติดตั้งระบบเครือขา่ย 
2. ชว่ยลดปัญหาในการวางสายระบบเครือขา่ย 
3. ไมต่้องใช้สาย cable 
4. ชว่ยให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย 
ข้อเสีย 
1. มีอัตราการลดทอนสัญญาณสูง นั่นหมายความวา่ “ ส่งสัญญาณได้ระยะสั้น ” 
2. มีสัญญาณรบกวนสูง 
3. ต้องแชร์กนัใช้ชอ่งสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกนั 
4. ยังมี หลายมาตรฐาน ตามผู้ผลิต แตล่ะราย ทา ให้ มีปัญหา ในการ ใช้งาน ร่วมกนั 
5. ราคาแพงกวา่ระบบเครือขา่ยแบบมีสาย 
6. มีความเร็วไมสู่งมากนัก 
บทที่ 3 
วิธีดำเนินงำนโครงงำน 
ในการจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
คณะผู้จัดทา โครงงานได้มีวิธีดา เนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังตอ่ไปนี้ 
3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ 
- คอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมตอ่เครือขา่ยอินเตอร์เน็ต 
- program Microsoft Office Access 2007 
3.2 วิธีการดา เนินการตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ 
- ศึกษาค้นควา้เรื่องเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
- แนะแนวความรู้ตอ่คุณครู และเพื่อน หรือผู้สนใจทั่วไปโดยใชเว็บไซค์ 
- ผู้เรียนสามารถงานระบบเครือขา่ย 
- ประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 
- จัดทา รายงาน 
- นาเสนอโครงงาน
บทที่4 
ผลกำรดำเนินงำนโครงงำน 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
โดยการแนะแนวความรู้ผา่นเว็บไซค์เกยี่วกบั ระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ มีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษา 
และค้นควา้เรื่องที่สนใจเกยี่วกบัระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้งานระบบเครือขา่ย 
เพื่อให้ผู้จัดทา โครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 
ตลอดจนสามารถติดต่อสื่อสารกนัได้ระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดา เนินงานโครงงาน 
ดังนี้ 
4.1 ผลการค้นควา้เรื่องที่สนใจเกยี่วกับระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
ทา ให้คณะผู้จัดทา เกิดความรู้ความเข้าใจ เกยี่วกบัการใช้งาน รูปแบบ ประเภท ของระบบเครือขา่ย 
ทั้งเครือขา่ยมีสาย และไร้สาย รวมไปถึงข้อดีและข้อเสียของระบบเครือขา่ย 
4.2 ตัวอยา่งการนาเสนอหน้าเว็บบล็อก 
บทที่5 
สรุปผลกำรดำเนินงำน และข้อเสนอแนะ 
การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
คณะผู้จัดทา โครงงานสามารถสรุปผลการดา เนินงาน และข้อเสนอแนะ ดังนี้ 
5.1สรุปผลกำรดำเนินงำนโครงงำน 
การดา เนินโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ คณะผู้จัดทา สามารถรู้ 
และเข้าใจในการใช้งาน รวมไปถึงประโยชน์ของระบบเคลือขา่ยคอมพิวเตอร์ 
และยังสามารถแนะแนวความรู้ผา่นเว็บไซค์…… โดยคณะผู้จัดทา ได้จัดทา รูปเล่มรายงาน 
และนาเสนอโครงงานหน้าชั้นเรียนซึ่งการสื่อสารระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป ได้เป็นอยา่งดี
5.2 ข้อเสนอแนะทวั่ไป 
- เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบล็อก คือ ........ เป็นเว็บบล็อกสาเร็จรูปที่ใช้ทา เว็บไซต์ได้ง่าย 
และรวดเร็ว แตถ่้าเราใช้ประโยชน์ในทางที่ไมถู่กต้องและไมเ่หมาะสม ก็จะส่งผลตอ่การละเมิดลิขสิทธ์ิและ 
ได้รับความรู้ที่ไมถู่กต้อง เพราะฉะนั้นผู้จัดทา ควรเผยแพร่สิ่งที่ดี ๆ 
ให้บุคคลที่เข้ามาเยี่ยมหรือศึกษาได้ความรู้และสิ่งดี ๆ นาไปเผยแพร่ตอ่ให้ผู้อื่นมาศึกษาความรู้ 
ที่เป็นประโยชน์ตอ่ไป 
- ควรมีการจัดทา เนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายให้ครบทุกกลุ่มสาระ 
การเรียนรู้ 
5.3 ปัญหำ อุปสรรค และแนวทำงในกำรพัฒนำ 
- เครื่องคอมพิวเตอร์ไมเ่พียงพอกับการทา โครงงาน และบางครั้งอินเทอร์เน็ตมีปัญหา 
เข้าพร้อมกนัก็จะทา ให้ช้า จึงทา ให้การพัฒนาเว็บบล็อกเกิดความลา่ช้าตามไปด้วย 
- เพื่อนนักเรียนบางคนเรียนรู้การพัฒนาเว็บบล็อกค่อนข้างช้า ทา ให้ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้ 
เพราะครูผู้สอนไมส่ามารถสอนเนื้อหาเพิ่มเติมได้

More Related Content

What's hot

บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์galswen
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายMorn Suwanno
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 

What's hot (12)

บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
รายงาน[1]
รายงาน[1]รายงาน[1]
รายงาน[1]
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to โครงงานคอม57

Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9ninjung
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์katuckkt
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Min Jidapa
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Tata Sisira
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9Jaohjaaee
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์junniemellow
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8chu1991
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 

Similar to โครงงานคอม57 (20)

Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
Mission1
Mission1Mission1
Mission1
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 

โครงงานคอม57

  • 1.
  • 2. บทที่1 บทนำ 1.1 ทมี่ำและควำมสำคัญของโครงงำน เครือขา่ยคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสารระหวา่งคอมพิวเตอร์จา นวนตั้งแตส่องเครื่องขึ้นไป เพื่อสะดวกตอ่การร่วมใช้ข้อมูล, โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอา นวยความสะดวกในการติดตอ่แลกเปลี่ยนข้อมูล ระหวา่งเครื่องได้ตลอดเวลา การที่ระบบเครือขา่ยมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อยา่งแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมตอ่คอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกนั การโอนย้ายข้อมูลระหวา่งกนัในเครือขา่ย ทา ให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบง่การใช้ทรัพยากร เชน่ หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา , หน่วยจัดเก็บข้อมูล,โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตา่ง ๆ ที่มีราคาแพงและไมส่ามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เชน่ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ ทา ให้ลดต้นทุนของระบบลงได้ 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำน 1. เพื่อศึกษาค้นควา้เรื่องที่สนใจเกยี่วกับระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้งานระบบเครือขา่ย 3. ประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 4. เพื่อให้สามารถติดตอ่สื่อสารกนัได้ระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป 1.3 ขอบเขตของโครงงำน 1. เพื่อศึกษาเกยี่วระบบเครือขา่ย 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของระบบเครือขา่ย 1.4 นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสารระหวา่งคอมพิวเตอร์จา นวนตั้งแตส่องเครื่องขึ้นไป เพื่อสะดวกตอ่การร่วมใช้ข้อมูล, โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอา นวยความสะดวกในการติดตอ่แลกเปลี่ยนข้อมูลระหวา่งเครื่องได้ตลอดเวลา 1.5ประโยชน์ทคี่ำดว่ำจะได้รับ 1. การเพิ่มขีดความสามารถในการใช้งานระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ โดยเกิดจากความรู้ความเข้าใจ
  • 3. 2. การลดปัญหาการสื่อสารระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป 3. การประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น กอ่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด บทที่2 เอกสำรทเี่กี่ยวข้อง ในการจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ คณะผู้จัดทา โครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ตา่งๆ ที่เกยี่วข้องดังตอ่ไปนี้ 2.1 ระบบเครือข่ำยมีสำย เครือขา่ยคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสารระหวา่งคอมพิวเตอร์จา นวนตั้งแตส่องเครื่องขึ้นไป เพื่อสะดวกตอ่การร่วมใช้ข้อมูล, โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอา นวยความสะดวกในการติดตอ่แลกเปลี่ยนข้อมูล ระหวา่งเครื่องได้ตลอดเวลา การที่ระบบเครือขา่ยมีบทบาทสาคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อยา่งแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหลา่นั้นถึงกนั การโอนย้ายข้อมูลระหวา่งกนัในเครือขา่ย ทา ให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบง่การใช้ทรัพยากร เชน่ หน่วยประมวลผล, หน่วยความจา , หน่วยจัดเก็บข้อมูล,โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตา่ง ๆ ที่มีราคาแพงและไมส่ามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เชน่ เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ ทา ให้ลดต้นทุนของระบบลงได้
  • 4. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ 1. เครือข่ำยท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) เป็นเครือขา่ยระยะใกล้ ใช้กนัอยูใ่นบริเวณไมก่วา้งนัก อาจอยูใ่นองค์กรเดียวกนั หรืออาคารที่ใกล้กนั เชน่ ภาพในสานักงาน ภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ระบบเครือขา่ยท้องถิ่นจะชว่ยให้ติดต่อกนัได้สะดวก ชว่ยลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานอุปกรณ์ตา่งๆ 2. เครือข่ำยระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) เป็นเครือขา่ยขนาดกลาง ใช้ภายในเมือง หรือจังหวดัที่ใกล้เคียงกนั เชน่ ระบบเคเบิลทีวีที่มีสมาชิกตามบ้านทั่วไปที่เราดูกนัอยู่ทุกวนัก็จัดเป็นระบบเครือขา่ยแบบ MAN 3. เครือข่ำยระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) เป็นระบบเครือขา่ยขนาดใหญ่ใช้ติดตั้งบริเวณกวา้ง มีสถานนีหรือจุดเชื่อมตอ่มากมาย มากกวา่ 1 แสนจุด ใช้สื่อกลางหลายชนิด เชน่ ระบบคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม 4. เครือข่ำยระหว่ำงประเทศ (International Network ) เป็นเครือขา่ยที่ใช้ติดตอ่ระหวา่งประเทศ โดยใช้สายเคเบิล หรือ ดาวเทียม
  • 5. การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือขา่ยแลนนั้น มีจุดมุง่หมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสารข้อมูลระหวา่งกนัได้ทั้งหมดหากนาเครื่องคอมพิวเต อร์สองเครื่องตอ่สายสัญญาณเข้าหากนั จะทา ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง นั้นส่งข้อมูลถึงกนัได้ครั้นจะนาเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามตอ่ รวมด้วย เริ่มจะมีข้อยุง่ยากเพิ่มขึ้น และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจา นวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุง่ยาก ที่จะทา ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดสื่อสารกนัได้ ด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือขา่ยคอมพิวเตอร์จึงต้อง หาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือขา่ยแบบตา่งๆ เพื่อลดข้อยุง่ยาก ในการเชื่อมโยงสายสัญญาณ โดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนาไปใช้งานได้ ทั้งนี้เพราะข้อจา กดัของการใช้ สายสัญญาณเป็นเรื่องสาคัญมากบริษัทผู้พัฒนาระบบเครือขา่ย
  • 6. คอมพิวเตอร์ ได้พยายามคิดหาวิธี และใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือขา่ยแลน ออกมาหลายระบบ ระบบใดได้รับการ ยอมรับก็มีการตั้งมาตรฐานกลาง เพื่อวา่จะได้มีผู้ผลิตที่สนใจ การผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่เครือขา่ย เทคโนโลยีเครือขา่ยแลนจึงมีหลากหลาย เครือขา่ยแลนที่น่าสนใจ เชน่ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) โทเก็นริง (Token Ring) และ สวิตชิง (Switching) LAN โปรโตคอล โปรโตคอล (Protocol) คือระเบียบพิธีการในการติดตอ่สื่อสาร เมื่อมาใช้กบัเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม จึงหมายถึงขั้นตอนการติดตอ่สื่อสาร ซึ่งรวมถึง กฎ ระเบียบ และข้อกา หนดตา่ง ๆ รวมถึงมาตรฐานที่ใช้ เพื่อให้ตัวรับและตัวส่งสามารถดา เนินกิจกรรมทางด้านสื่อสารได้สาเร็จ การที่คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจะส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งได้นั้น จะต้องอาศัยกลไกหลายๆอยา่งร่วมกนัทา งานตา่งหน้าที่กนัและเชื่อมตอ่เป็นเครือขา่ยเข้าด้วยกนั ปัญหาที่เกิดขึ้นคือการเชื่อมต่อมีความแตกตา่ง ระหวา่งระบบและอุปกรณ์หรือเป็นผู้ผลิตคนละรายกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทา ให้การสร้างเครือขา่ยเป็นเรื่องยากมาก เนื่องจากขาดมาตรฐานกลางที่จา เป็นในการเชื่อมตอ่ จึงได้เกิดหน่วยงานกา หนมาตรฐานสากลขึ้นคือ International Standards Organization ขึ้นและทา การกา หนดโครงสร้างทั้งหมดที่จา เป็นต้องใช้ในการสื่อสารข้อมูลและเป็นระบบเปิด เพื่อให้ผู้ผลิตตา่งๆสามารถแยกผลิตในส่วนที่ตัวเองถนัด แตส่ามารนาไปใช้ร่วมกนัได้ ระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์สมัยใหมจ่ะถูกออกแบบให้มีโครงสร้างทีแน่นอน และเพื่อเป็นการลดความซับซ้อน ระบบเครือขา่ยส่วนมากจึงแยกการทา งานออกเป็นชั้นๆ (layer) โดยกา หนดหน้าที่ในแตล่ะชั้นไวอ้ยา่งชัดเจน แบบจา ลองสาหรับอ้างอิงแบบ OSI (Open System Interconnection Reference Model) หรือที่นิยมเรียกกนัทั่วไปวา่ OSI Reference Model ของ ISO เป็นแบบจา ลองที่ถูกเสนอและพัฒนาโดองค์กร International Standard Organization (ISO) โดยจะบรรยายถึงโครงสร้างของสถาปัตยกรรมเครือขา่ยในอุดมคติ ซึ่งระบบเครือขา่ยที่เป็นไปตามสถาปัตยกรรมนี้จะเป็นระบบเครือขา่ยแบบเปิด และอุปกรณ์ทางเครือขา่ยจะสามารถติดต่อกนัได้โดยไมข่ึ้นกับวา่เป็นอุปกรณ์ของผู้ขายรายใด ด้วยแนวคิดนี้ องค์กรวา่ด้วยเครื่องมาตรฐานระหวา่งประเทศ จึงได้วางมาตรฐานโปรโตคอลไวเ้ป็นระดับ
  • 7. เพื่อให้การสื่อสารตา่ง ๆ ยึดหลักการนี้และเรียกมาตรฐานโปรโตคอลนี้วา่ OSI PROTOCOL โดยวางเป็นระดับ 7 ชั้น วิธีการถา่ยโอนข้อมูลเป็นการส่งสัญญาณออกจากเครื่องและรับสัญญาณเข้าไปในเครื่อง การถา่ยโอนข้อมูลสามารถจา แนกได้ 2 แบบ คือ การถา่ยโอนข้อมูลแบบขนาน การถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรม 1. กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบขนำน การถา่ยโอนข้อมูลแบบขนาน ทา ได้โดยการส่งข้อมูลออกทีละ 1 ไบต์ หรือ 8 บิตจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ อุปกรณ์ตัวกลางระหวา่งสองเครื่องจึงต้องมีชอ่งทางให้ข้อมูลเดินทางอยา่งน้อย 8 ชอ่งทาง เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผา่นโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหวา่งสองเครื่องไมค่วรยาวเกิน 100 ฟุต เพราะอาจทา ให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไปกบัความต้านทานของสาย นอกจากนี้อาจมีปัญหาที่เกิดจากระดับไฟฟ้าสายดินที่จุดรับผิดไปจากจุดส่ง
  • 8. ทา ให้เกิดการผิดพลาดในการรับสัญญาณทางฝ่ายรับ นอกจากแกนหลักแล้วอาจจะมีทางเดินของสัญญาณควบคุมอื่น ๆ อีก เชน่ บิตพาริตี ที่ใช้ในการตรวจสอบความผิดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทางหรือสายที่ควบคุมการโต้ตอบ (hand-shake) 2. กำรถ่ำยโอนข้อมูลแบบอนุกรม ในการถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต ระหวา่งจุดส่งและจุดรับ การส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากวา่แบบขนาน การถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรมต้องการตัวกลางสาหรับการสื่อสารเพียงชอ่งเดียวหรือสายเพียงคูเ่ดียว คา่ใช้จา่ยจะถูกกวา่แบบขนานสาหรับการส่งระยะทางไกลๆ โดยเฉพาะเมอื่เรามีระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์ไวใ้ช้งานอยูแ่ล้ว ยอ่มจะเป็นการประหยัดกวา่ที่จะทา การติดต่อสื่อสารทีละ 8 ชอ่ง เพื่อการถา่ยโอนข้อมูลแบบขนาน การถา่ยโอนข้อมูลแบบอนุกรมจะเริ่มโดยข้อมูลจากจุดส่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณอนุกรมเสียกอ่น แล้วคอยทยอยส่งออกทีละบิตไปยังจุดรับ และที่จุดรับจะต้องมีกลไกในการเปลี่ยนข้อมูลที่ส่งมาทีละบิต ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่งลงตัวพอดี เชน่ บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลที่ส่งมาทีละบิต ให้เป็นสัญญาณแบบขนานซึ่งลงตัวพอดี เชน่ บิตที่ 1 ลงที่บัสข้อมูลเส้นที่ 1 ดังแสดงในรูป Gigabit Ethernet (IEEE802.3z)เป็นมาตรฐานใหมข่องเทคโนโลยีเครือขา่ยท้องถิ่น (LAN-Local Area-Network) ที่พัฒนามาจาก เครือขา่ยแบบ Ethernet แบบเกา่ที่มีความเร็ว 10 Mbps ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ระดับความเร็ว 1 Gbps ทั้งนี้เทคโนโลยีนี้ ยังคงใช้กลไก CSMS/CD ในการร่วมใช้สื่อเหมือนEthernet แบบเกา่ หากแตมี่การพัฒนาและดัดแปลงให้สามารถรองรับความเร็วในระดับ 1 Gbps ได้
  • 9. Gigabit Ethernet เป็นส่วนเพิ่มขยายจาก 10 Mbps และ 100 Mbps Ethernet (มาตราฐาน IEEE 802.3 และ IEEE802.3u ตามลา ดับ) โดยที่มนัยังคงความเข้ากนัได้กบัมาตราฐานแบบเกา่อยา่ง100% Gigabit Ethernet ยังสนับสนุนการทา งานใน mode full-duplex โดยจะเป็นการทา งานในการเชื่อมตอ่ระหวา่ง Switch กบั Switch และระหวา่ง Switch กบั End Station ส่วนการเชื่อมตอ่ผา่น Repeater, Hub ซึ่งจะเป็นลักษณะของShared-media (ซึ่งใช้กลไก CSMA/CD) Gigabit Ethernet จะทา งานใน mode Half-duplex ซึ่งสามารถจะใช้สายสัญญาณได้ทั้งสายทองแดงและเส้นใยแกว้นาแสง ปกติระบบ LAN จะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งการ์ด LAN อุปกรณ์กระจายสัญญาณที่เรียกวา่ Hub และสายที่ตอ่ระหวา่งเครื่องกบั Hub ซึ่งแตส่่วนมีรายละเอียดดังนี้ กำร์ดแลน LAN (Network Interface Card:NIC) เครื่องพีซีจะเชื่อตอ่กนัเป็นระบบ LAN ขึ้นมานั้น แตล่ะเครื่องต้องติดตั้งการ์ด LAN เครื่องรุ่นใหมๆ่อาจจะมีการ์ด LAN ฝังตัวอยูใ่นบอร์ดให้แล้ว (Lan Onboard) หรือในโน๊ตบุ๊คใหมๆ่ก็มกัจะมีพอร์ต LAN มาให้แล้ว โดยส่วนใหญจ่ะมีความเร็ว 1000หรือ100 เมกกะบิต
  • 10. (ถ้าเป็นรุ่นเกา่จะมีความเร็วเพียง 10 เมกกะบิตตอ่วินาทีเทา่นั้น) เรียกวา่เป็น Fast Ethernet และบางแบบก็อาจใช้ได้ทั้ง 2 ความเร็วโดยสามารถปรับแบบอัตโนมตัิแล้วแตจ่ะไปเชื่อมตอ่กบัอุปกรณ์ Hub หรือ Switch แบบใดการ์ด LAN รุ่นใหมจ่ะมีคุณสมบัติ Plug&Play หรือ PnP มกัเสียบเข้ากบัสล๊อตแบบ PCI (การ์ดรุ่นเกา่จะใช้กบัสล๊อตแบบ ISA ซึ่งไมค่อ่ยพบแล้ว จึงไมข่อกลา่วถึง) โดยมีชอ่งด้านหลังเครื่องให้เสียบสายได้ อุปกรณ์กระจำยสัญญำณ Hub และ Switch โครงสร้างของระบบ LAN ทั่วไปจะประกอบด้วยอุปกรณ์ที่เรียกวา่ Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมตอ่ โดยใช้สายชนิดที่เรียกวา่ UTP เป็นตัวเชื่อมตอ่ ซึ่งในการทา งานจริงข้อมูลที่ส่งออกมาจากการ์ด LAN ของแตล่ะเครื่องจะถูกกระจายตอ่ไปยังทุกเครื่องที่ตอ่กบั HUB นั้น เหมือนกบัการกระจายเสียงหรือ broadcast ไปให้ทุกคนรับรู้แตเ่ฉพาะเครื่องที่ถูกเจาะจงให้เป็นผู้รับเทา่นั้นจึงจะรับข้อมูลไปอา่น แตส่ายทุกเส้นจะต้องมีข้อมูลนี้วิ่งไปด้วย คือส่งได้ทีละเครื่องเทา่นั้น นอกจาก Hub แล้วยังมีอุปกรณ์อื่นๆเชน่ Switch ซึ่งใช้เชื่อมตอ่ใน Lan ได้เชน่เดียวกนั แตมี่ประสิทธิภาพดีกวา่ เพราะ Switch จะดูวา่เครื่องใดเป็นผู้รับแล้วส่งตอ่เฉพาะสายเส้นที่ไปยังเครื่องนั้น สายของเครื่องอื่นๆจึงวา่งพอที่จะรับส่งข้อมูลอื่น ได้พร้อมกนัหลายๆชุด สำย UTP (Unshield Twisted Pair)
  • 11. สายที่ใช้กบั LAN เรียกวา่สาย UTP (Unshield Twisted Pair) ซึ่งใช้หัวตอ่แบบ RJ-45 ซึ่งมีทั้งหมด 8 ขา สายแบบนี้ที่เข้าหัวไวแ้ล้วจะหาซื้อได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป หรือจะซื้อแบบเป็นมว้นมาตัดเข้าหัวเองก็ได้ แตต่้องมีเครื่องมือหรือคีมเข้าหัว RJ-45 โดยเฉพาะ มีข้อจา กดัคือ จะต้องยาวไมเ่กิน 100 เมตร จากเครื่องไปยัง Switch และแบง่ได้เป็น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ • สายตรง (Straight-through Cable) คือสายปกติที่ใช้เชื่อมระหวา่งการ์ด LAN และ Hub / Switch • สายไขว้(Crossover Cable) ใช้ตอ่การ์ด LAN บนคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องหรือพอร์ตของ Hub หรือ Switch 2 ตัวโดยตรง เพื่อเพิ่มขยายพอร์ต ซึ่งวิธีการเข้าหัวจะตา่งจากปกติ อินเทอร์เน็ต ตัวอยา่งการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกลา่วตอ่ไปนี้เป็นเพียงตัวอยา่งที่แพร่หลายและใช้กนัมากเทา่นั้น แตยั่งมีการใช้งานอื่น ๆ อีกมากที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาตลอดเวลา 1. กำรรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผา่นคอมพิวเตอร์ ถ้าเราต้องการส่งข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร แล้วจา่หน้าซองที่อยูข่องผู้รับที่เรียกวา่ แอดเดรส ระบบจะนาส่งให้ทันทีอยา่งรวดเร็ว ลักษณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้ และชื่อเครื่องประกอบกนั เชน่ sombat@nontri.ku.ac.th การติดตอ่บนอินเทอร์เน็ตนี้ จะหาตา แหน่งให้เองโดยอัตโนมตัิ และนาส่งไปปลายทางได้อยา่งถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email) กา ลังเป็นที่นิยมอยา่งแพร่หลาย 2. กำรโอนย้ำยแฟ้มข้อมูลระหว่ำงกัน เป็นระบบที่ทา ให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมูลระหวา่งกนัหรือมีสถานีให้บริการ เก็บแฟ้มข้อมูลที่อยูใ่นที่ตา่ง ๆ และให้บริการ ผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดเลือกนาแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้
  • 12. 3. กำรใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในทหี่่ำงไกล การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากบัเครือข่าย ทา ให้เราสามารถ เรียกหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสถานีบริการใน ที่ห่างไกลได้ ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยูใ่นเครือขา่ย โดยไมต่้องเดินทางไปเอง 4. กำรเรียกค้นข้อมูลข่ำวสำร ปัจจุบันมีฐานข้อมูลที่เก็บไวใ้ห้ใช้งานจา นวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถ เรียกอา่น หรือนามาพิมพ์ ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญอ่ยูภ่ายในเครือข่าย ที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูล ในลักษณะนี้เรียกวา่ เครือขา่ยใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก(World Wide Web : WWW) เป็นฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกนัทั่วโลก 5. กำรอ่ำนจำกกลุ่มข่ำว ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุม่ขา่วเป็นกลุม่ ๆ แยกตามความสนใจ แตล่ะกลุม่ขา่ว อนุญาตให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความ ลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุม่ขา่วนี้จึงแพร่หลายกระจายขา่วได้รวดเร็ว 6. กำรสนทนำบนเครือข่ำย เครือขา่ยอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลาง ในการติดตอ่สนทนากนัได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนาเป็นตัวหนังสือ ตอ่มา พัฒนาให้ใช้เสียงได้ ปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารมีความเร็วพอก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากนัและกนับนจอภาพได้ 7. กำรบริกำรสถำนีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่ำย ปัจจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือขา่ยอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานที่ต้องการและได้ยินเสียงเหมือน การเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกนัก็มีการส่งกระจายภาพวีดิโอบนเครือขา่ยด้วย
  • 13. 2.2 ระบบเครือข่ำยไร้สำย ระบบเครือขา่ยไร้สาย (Wireless LAN) เกิดขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1971 บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อวา่ “ALOHNET” ขณะนั้นลักษณะการส่งข้อมูลเป็นแบบ Bi-directional ส่งไป-กลับง่ายๆ ผา่นคลื่นวิทยุ สื่อสารกนัระหวา่งคอมพิวเตอร์ 7 เครื่อง ซึ่งตั้งอยูบ่นเกาะ 4 เกาะโดยรอบ และมีศูนย์กลางการเชื่อมตอ่อยู่ที่เกาะๆหนึ่ง ที่ชื่อวา่ Oahu ระบบเครือข่ำยไร้สำย (WLAN = Wireless Local Area Network) คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีความคล่องตัวมาก ซึ่งอาจจะนามาใช้ทดแทนหรือเพิ่มตอ่กบัระบบเครือขา่ยแลนใช้สายแบบดั้งเดิม โดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุในยา่นวิทยุ RF และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูลระหวา่งคอมพิวเตอร์แตล่ะเครื่อง ผา่นอากาศ, ทะลุกา แพง, เพดานหรือสิ่งกอ่สร้างอื่นๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย นอกจากนั้นระบบเครือขา่ยไร้สายก็ยังมีคุณสมบัติครอบคลุมทุกอยา่งเหมือนกับระบบ LAN แบบใช้สาย ที่สาคัญก็คือ การที่มนัไมต่้องใช้สายทา ให้การเคลื่อนย้ายการใช้งานทา ได้โดยสะดวก ไมเ่หมือนระบบ LAN แบบใช้สาย ที่ต้องใช้เวลาและการลงทุนในการปรับเปลี่ยนตา แหน่งการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้ โลกของเราเป็นยุคแห่งการติดตอ่สื่อสาร เทคโนโลยีตา่งๆ เชน่โทรศัพท์มือถือ เป็นสิ่งจา เป็นตอ่การดา เนินธุรกิจและการใช้ชีวิตประจา วนั ความต้องการข้อมูลและการบริการตา่งๆ มีความจา เป็นสาหรับนักธุรกิจ เทคโนโลยีที่สนองตอ่ความต้องการเหลา่นั้น มีมากมาย เชน่ โทรศัพท์มือถือ เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุค เครื่องปาล์ม ได้ถูกนามาใช้เป็นอยา่งมากและ ผู้ที่น่าจะได้ประโยชน์จากการใช้ ระบบเครือขา่ยไร้สาย มีมากมายไมว่า่จะเป็น
  • 14. - หมอหรือพยาบาลในโรงพยาบาล เพราะสามารถดึงข้อมูลมารักษาผู้ป่วยได้จาก เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุค ที่เชื่อมตอ่กบั ระบบเครือขา่ยไร้สายได้ทันที - นักศึกษาในมหาวิทยาลัยก็สามารถใช้งานโน๊ตบุ๊คเพื่อค้นควา้ข้อมูลในห้องสมุดของมหาวิทยาลัย หรือใช้อินเตอร์เน็ท จากสนามหญ้าในมหาลัยได้ - นักธุรกิจที่มีความจา เป็นต้องใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์นอกสถานที่ที่ทา งานปกติ ไมว่า่จะเป็นการนาเสนองานยังบริษัทลูกค้า หรือการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ติดตัวไปงานประชุมสัมมนาตา่งๆ บุคคลเหลา่นี้มีความจา เป็นที่จะต้องเชื่อมต่อเข้ากับเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ ไมว่า่จะเป็นเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ขององค์กรซึ่งอยูห่่างออกไปหรือเครือขา่ยคอมพิวเตอร์สาธารณะ เชน่เครือขา่ยอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีเครือขา่ยไร้สายจึงน่าจะอา นวยความสะดวกให้กบับุคคลเหลา่นี้ได้ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการเปิดให้บริการเชื่อมต่อเครือขา่ยอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย ตามสนามบินใหญทั่่วโลก และนามาใช้งานแพร่หลายในห้างสรรพสินค้า และโรงแรมตา่งๆแล้ว การใช้งานคอมพิวเตอร์เปลี่ยนรูปแบบมาเป็นงานที่ต้องเชื่อมโยงกับเครือขา่ยโดยเฉพาะอินเทอร์เน็ ต การเชื่อมตอ่เครือขา่ยจึงมีพัฒนาการอยา่ง ตอ่เนื่อง โดยเฉพาะระบบการเชื่อมโยงแบบต้องใช้สาย ซึ่งมีแลนแบบอีเทอร์เน็ตเป็นฐานใหญ่โดยเฉพาะการเชื่อมตอ่ด้วยสายยูทีพีผา่นฮัพ ทา ให้เข้าสู่ เครือขา่ยด้วยความเร็วสูงถึง 100 เมกะบิตตอ่วินาที อีกด้านหนึ่งคือการเชื่อมด้วยสายโทรศัพท์โดยเฉพาะการใช้โมเด็ม และ ADSL ที่เปิดบริการกนัมาก อยูใ่นขณะนี้ ดเดน่ของระบบแลนไร้สายมีหลายประการ โดยเฉพาะในอดีตปัญหาทางเทคโนโลยีเป็นข้อจา กัด เพราะไมส่ามารถสร้างระบบ VLSI (วงจรรวมขนาดใหญม่าก) ที่ใช้งานยา่นความถี่สูงมาก กินกา ลังไฟฟ้าต่า มีขนาดเล็กและเบา ปัจจุบันสามารถพัฒนาวงจร CMOS ซึ่งเป็นหัวใจของ การผลิตชิปที่มีวงจรซับซ้อน ให้กินกา ลังงานไฟฟ้าต่า มาก และใช้กบัความถี่สูงยา่นไมโครเวฟได้ เมอื่เป็นเชน่นี้ระบบแลนไร้สายจึงตอบสนอง ความต้องการเดน่ ๆ ตอ่ไปนี้ได้ ควำมยืดหยุ่นในกำรใช้งำน สภาพปัจจุบันผู้ใช้งานมีเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่เรียกวา่โน้ตบุ๊คกนัเป็นส่วนใหญ่โน้ตบุ๊คมีขนาด เล็กลงจนสามารถนาติดตอ่ไปใช้ที่ต่าง ๆ ได้สะดวก การนาโน้ตบุ๊คตอ่กบัสายแลนจึงไมส่ะดวก
  • 15. การนาโน้ตบุ๊คตอ่กบัสายแลนจึงไมส่ะดวก อีกทั้งสภาพ การทา งานเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ทา ให้ผู้ใช้ไมถู่กยึดติดอยูกั่บที่ เชน่ การนาโน้ตบุ๊คเข้าประชุม การปรึกษาหรือระหวา่งกลุม่ย่อย แลนที่ใช้ถ้าเป็น ระบบสายจะยุง่ยากในการปรับเปลี่ยน แตส่าหรับแลนไร้สายจะประกอบด้วย การ์ดไคลเอนต์ ซึ่งเป็นแผนวงจรขนาดเล็ก ขนาด PCMCIA ที่ตอ่เข้ากบั โน้ตบุ๊คเทา่นั้น และส่วนที่เป็นแอ็กเซสพอยต์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมตอ่ที่นาไปวางไว้ที่ใดก็ได้ หรือจะติดยึดกบัฝาผนัง ฝ้า เพดาน หรือจะเคลื่อนย้ายไปที่ใด ก็ได้ โดยด้านหนึ่งรับสัญญาณวิทยุ อีกด้านหนึ่งเป็นสายตอ่เชื่อมเข้าสู่ระบบเครือขา่ย การติดตั้งแลนไร้สายจึงทา ได้ง่ายกวา่มาก ความยืดหยุน่จึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการติดตั้งทา ได้ง่าย โดยเฉพาะการดา เนินงานเพื่อให้ตอบสนองตอ่ความต้องการของผู้ใช้ กำรนำติดตัว (Mobility) การเคลื่อนย้ายของผู้ใช้อาจไมเ่ฉพาะเจาะจงอยูใ่นที่ทา งานอยา่งเดียว อาจครอบคลุมเลยไปยังที่ตา่ง ๆ เชน่ การจัดประชุมสัมมนาการเดินทางไปยังสถานที่ตา่ง ๆ โดยผู้ใช้ติดตั้งไปเฉพาะโน้ตบุ๊คก็สามารถเข้าถึงเครือขา่ยได้ กำรขยำยเครือข่ำยได้ง่ำย เครือขา่ยแบบแลนไร้สายทา ให้เครือขา่ยองค์กรปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่ายไมยุ่ง่ยากในเรื่อง การเดินสายสื่อสาร ซึ่งมีปัญหาในเรื่องสถานที่ การปรับปรุงสถานที่เพื่อเดินสายสัญญาณเป็นเรื่องไมพึ่งปรารถนาเครือขา่ยไร้สายสามารถครอบคลุม พื้นที่เป็นเซลเล็ก ๆ โดยมีการเชื่อมโยงระหวา่งอาคารได้ด้วยระบบแบบจุดไปจุด ทา ให้ดา เนินการได้เร็วและสะดวกตอ่การติดตั้ง ให้ผลคุ้มค่ำ การออกแบบสร้างเครือขา่ยแลนแบบไร้สาย เริ่มให้ผลตอบแทนต้องการลงทุนคุ้มคา่มากขึ้น ทั้งนี้เพราะอุปกรณ์เชื่อมโยง ระบบแลนไร้สายมีแนวโน้มที่ถูกลง จึงสามารถชดเชยกบัสิ่งที่เรียกวา่การลงทุนการเดินสายสัญญาณและความคลอ่งตัวในการออกแบบ ปัจจุบันมูลคา่ ของการ์ดแลนมีราคาขายในท้องตลาดทั่วไปประมาณ 200 เหรียญสหรัฐ แนวโน้มนี้ยังคงมีราคาลดลงอีก สาหรับอุปกรณ์ที่เป็นแอ็กเซสพอยต์ก็มี แนวโน้มที่ลดลงเชน่กนั ระบบแลนไร้สายแบบจุดไปจุดสามารถเชื่อมตอ่ได้ด้วยระยะทางไกลถึง 25 ไมล์ ซึ่งทา ให้ประหยัดในเรื่องคา่ใช้จา่ยด้านตา่ง ๆ ลงไปได้มาก
  • 16. 1. Boot ROM (ROM ยอ่มาจาก Read-Only Memory) หรือหน่วยความจา สาหรับเริ่มต้นระบบ และพื้นที่หน่วยความจา ระบบ จะควบคุมการทา งานและกา หนดเส้นทางตา่ง ๆ ของการทา งานเริ่มตั้งแตเ่ราเปิดคอมพิวเตอร์ที่มีการ์ดนี้ทา งานอยู่ด้านในเครื่อง นอกจากนี้ยังมีคา สั่งพื้นฐานสาหรับการทา งานของการ์ด ในตัวอยา่งนี้จะมีคา สั่งสาหรับการ์ดแบบ ไร้สาย PCMCIA ซึ่งมีขนาดเทา่กบับัตรเครดิตและเสียบอยูที่่สลอต (Slot) เฉพาะในคอมพิวเตอร์ แล็ปทอป การ์ดเครือขา่ยไร้สายสามารถติดตอ่กับอินเทอร์เน็ตได้หลายทาง ในกรณีของคอมพิวเตอร ์์แบบตั้งโต๊ะ หรือเดสก์ทอบ (Desktop) การ์ดจะเสียบอยูก่บัสลอดด้านในคอมพิวเตอร์ สาหรับคอมพิวเตอร์แล๊ปทอป (Laptop) ที่จะเสียบสลอต PCMCIA ทั้งคอมพิวเตอร์เดสก์ทอปและแล็ปทอปสามารถที่จะใช้การ์ดไร้สายแบบ USB ได้ โดยการเสียบเข้าไปที่ ชอ่ง USB ของคอมพิวเตอร์ รูปที่เห็นแสดงการ์ด PCMCIA และตัวตอ่ PCMCIA 2. การ์ดจะมีเสาอากาศเล็ก ๆ ที่ใช้สาหรับรับและส่งข้อมูลจากสถานีฐานของระบบไร้สาย 3. อุปกรณ์รับส่งคลื่นวิทยุจะถูกเชื่อมตอ่กบัเสาอากาศ โดยจะทา หน้าที่โมดูเลตข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ไปกบัคลื่นความถี่วิทยุ และทา การดีโมดูเลตคลื่นที่รับจากเสาอากาศเพื่อนาข้อมูลที่มากบัคลื่นความถี่ วิทยุที่ได้รับมาไปเป็นสัญญาณดิจิตอลที่การ์ด PCMCIA และคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสาร เข้าใจกนัได้เพราะอุปกรณ์นี้ที่ทา หน้าที่ทั้งรับและส่งแบบไร้สาย 4. สมองของการ์ดคือตัวควบคุม (Controller) จะรับข้อมูลจากอุปกรณ์รับส่งสัญญาณ ประมวลผล และทา งานในการเชื่อมตอ่ระหวา่งเครือขา่ยกบัคอมพิวเตอร์ และยังส่งมูลกลับไปพร้อมกับหน่วยความจา ถ้ามีความจา เป็นต้องทา หลังจากที่ได้รับข้อมูลจากคลื่นวิทยุก็จะทา การประมวลผล เมอื่คอมพิวเตอร์เข้าใจสัญญาณแล้วก็จะส่งตอ่ไปยังการ์ดอินเตอร์เฟช PCMCIA 5. ข้อมูลเริ่มต้นมาจากคอมพิวเตอร์ และส่งทางอินเตอร์เฟช PCMCIA ไปยังตัวควบคุมการ์ด หรือ
  • 17. Card Controller และส่งตอ่ไปยังตัวรับส่งข้อมูล และส่งตอ่ไปที่เครือขา่ยโดยเสาอากาศ 1. Peer-to-peer ( ad hoc mode ) รูปแบบการเชื่อมตอ่ระบบแลนไร้สายแบบ Peer to Peer เป็นลักษณะ การเชื่อมตอ่แบบโครงขา่ยโดยตรงระหวา่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จา นวน 2 เครื่องหรือมากกวา่นั้น เป็นการใช้งานร่วมกนัของ wireless adapter cards โดยไมไ่ด้มีการเชื่อมตอ่กับเครือขา่ยแบบ ใช้สายเลย โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์แตล่ะเครื่องจะมีความเทา่เทียมกนั สามารถทา งานของตนเองได้และขอใช้บริการเครื่องอื่นได้ เหมาะสาหรับการนามาใช้งานเพื่อจุดประสงค์ในด้านความรวดเร็วหรือติดตั้งได้โดยง่ายเมื่อไมมี่โครงสร้าง พื้นฐานที่จะรองรับ ยกตัวอยา่งเชน่ ในศูนย์ประชุม, หรือการประชุมที่จัดขึ้นนอกสถานที่
  • 18. เครือขา่ยแลนไร้สายแบง่ออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.WPAN(Wireless Personal Area Network) เป็นระบบเครือขา่ยไร้สายส่วนบุคคล ปัจจุบันมีอยูส่องระบบที่รองรับการทา งานส่วนบุคคล คือ IR(Infra- Red) และ Bluetooth การทา งานจะครอบคลุมบริเวณการสื่อสารที่คอ่นข้างจา กัด เชน่อินฟาเรด ระยะปะมาณไมเ่กิน 3 เมตร และบลูทูธ ระยะไมเ่กิน 10 เมตร 2.WLAN(Wireless Local Area Network) เป็นระบบเครือขา่ยท้องถิ่นที่ใช้งานในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในระยะใกล้ ภายในหน่วยงานหรืออาคารเดียวกนั เชน่ สานักงาน บริษัท หรือสถานที่จัดนิทรรศการ 3.WMAN(Wireless Metropolitan Area Network) เป็นระบบเครือขา่ยสาหรับเมืองใหญๆ่ มีระบบเครือขา่ยที่หลากหลายมักใช้เชื่อมตอ่สื่อสารกนัระหวา่งอาคารตา่งๆภายในเมือง
  • 19. 4.WWAN(Wireless Wide Area Network) เป็นระบบเครือขายไร้สายขนาดใหญส่าหรับเมืองหรือประเทศซึ่งมกัมีการใช้งานผา่นดาวเทียม ข้ามประเทศ ระยะทาง (เมตร) ประเภทเครือขา่ย 0-10 Wireless Personal Area Network 0-100 Wireless Local Area Network 0-1000 Wireless Wide Area Network เครือขา่ยไร้สายมาตรฐาน IEEE 802.11 ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยสถาบัน IEEE (The Institute of Electronics and Electrical Engineers) ซึ่งมีข้อกา หนดระบุไวว้า่ ผลิตภัณฑ์เครือขา่ยไร้สายในส่วนของ PHY Layer นั้นมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลที่ความเร็ว 1, 2, 5.5, 11 และ 54 เมกะบิตตอ่วินาที โดยมีสื่อนาสัญญาณ 3 ประเภทให้เลือกใช้งานอันได้แก่ คลื่นวิทยุยา่นความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ์, 2.5 กิกะเฮิรตซ์และคลื่นอินฟาเรด ส่วน.ในระดับชั้น MAC Layer นั้นได้กา หนดกลไกของการทา งานแบบ CSMA/CA (Carrier Sense Multiple Access/Collision Avoidance) ซึ่งมีความคล้ายคลึงกบั CSMA/CD (Collision Detection) ของมาตรฐาน IEEE 802.3 Ethernet
  • 20. ซึ่งนิยมใช้งานบนระบบเครือขา่ยแลนใช้สาย โดยมีกลไกในการเข้ารหัสข้อมูลกอ่นแพร่กระจายสัญญาณไปบนอากาศ พร้อมกบัมีการตรวจสอบผู้ใช้งานอีกด้วย มาตรฐาน IEEE 802.11 ในยุคเริ่มแรกนั้นให้ประสิทธิภาพการทา งานที่คอ่นข้างต่า ทั้งไมมี่การรับรองคุณภาพของการให้บริการที่เรียกวา่ QoS (Quality of Service) ซึ่งมีความสาคัญในสภาพแวดล้อมที่มีแอพพลิเคชันหลากหลายประเภทให้ใช้งาน นอกจากนั้นกลไกในเรื่องการรักษาความปลอดภัยที่นามาใช้ก็ยังมีชอ่งโหวจ่า นวนมาก IEEE จึงได้จัดตั้งคณะทา งานขึ้นมาหลายชุดด้วยกนั เพื่อทา การพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานให้มีศักยภาพเพิ่มสูงขึ้น หากพูดถึงเรื่องความปลอดภัยของเครือขา่ยแลนไร้สายตามมาตรฐาน 802.11นั้น ในยุคแรก ๆ อาจดูไมป่ลอดภัยเทา่ที่ควร เพราะมีขา่วประโคมตา่ง ๆ นานาวา่ข้อมูลที่ส่งผา่นเครือขา่ย WLAN นั้นได้กลายเป็นชอ่งทางที่เหลา่แฮกเกอร์ใช้เจาะระบบเข้ามาเพื่อสร้างความเสียหาย โดยการสร้าง ประตูหลังบ้าน (back-door) ขึ้นมาเพื่อโจมตีเครือขา่ยของคุณเป็นฐานโจมตีระบบอื่น ๆ ด้วยเชน่กนั สาหรับการเซตระบบความปลอดภัยขึ้นมาใช้บนเครือขา่ย WLAN นั้น วิธีที่ง่ายที่สุดก็คงเป็นการตั้งคา่การทา งานของเครือขา่ยอย่างเหมาะสม ซึ่งคา วา่เหมาะสมในที่นี้หมายถึง หากเป็นเครือขา่ยที่มีผู้ใช้จา นวนมากโอกาสเสี่ยงตอ่การถูกโจมตีก็อาจมีสูงด้วย ดังนั้นควรตั้งคา่ความปลอดภัยให้สูงนิดหนึ่ง เชน่ เซต Firewall เอาไวที้่ระดับสูงสุด ในทางกลับกนั หากระบบมีผู้ใช้จา นวนน้อย อยา่งภายในบ้าน ออฟฟิศเล็ก ๆ ที่มีคอมพ์ไมเ่กิน 5 เครื่อง ซึ่งแอนมินฯ สามารถดูแลได้อยา่งทั่วถึงนั้น ก็ไมค่วรตั้งคา่ความปลอดภัยเอาไว้สูงจนเกินไป เพราะจะทา ให้ประสิทธิภาพด้านความเร็วของระบบโดยรวมลดลงได้
  • 21. แนะนาให้ปรับแตง่ตามความเหมาะสมของเครือขา่ยที่ใช้งานอยูจ่ะดีที่สุด ! MAC filtering หากคุณรู้วา่ MAC Address มีคา่กบัคุณเพียงใด รับรองวา่คุณต้องดูแลรักษาหมายเลขนี้เป็นพิเศษแน่ เพราะในระบบเน็ตเวิร์ก ไมว่า่จะมีสายหรือไร้สายนั้น คา่ MAC Address ที่บง่บอกถึงตัวตนของอุปกรณ์มีความสาคัญมากพอ ๆ กบัเทคโนโลยีที่ใช้ในการรักษาความปลอดภัย MAC Address ในอุปกรณ์เน็ตเวิร์กจะเป็นหมายเลขที่ไมซ่้า กนัเลย ทา ให้การควบคุมหรือการกลั่นกรองผู้ใช้ทา ได้ง่ายขึ้น ดังนั้นการเซตระบบเครือขา่ยไร้สายขึ้นมาใช้งาน ภายในบ้าน หรือในออฟฟิศที่มีจา นวนผู้ใช้ไมม่ากนัก ระบบ MAC filtering จึงถูกนามาใช้งาน ซึ่งเป็นฟีเจอร์ที่มีอยูบ่นอุปกรณ์เน็ตเวิร์กไร้สายอยา่ง Access point และ ADSL Modem Router วิธีการกรองคา่ MAC Address นี้สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้วา่มีสิทธ์ิเชื่อมตอ่เข้ามาหรือไม่ เพราะระบบจะมีข้อมูลที่วา่นี้เก็บอยูใ่นเครื่อง หากเพื่อนบ้านคุณจะแอบดอดเข้ามาใช้อินเทอร์เน็ตฟรีผา่นระบบไร้สายก็จะเจอกบัการกรอง MAC Address เป็นดา่นแรก ใครไมอ่ยูใ่นรายการก็เข้ามาในระบบไมไ่ด้ หรือในทางกลับกนั หากคุณมีใจให้กบัคนข้างบ้านและอยากให้เขาเข้ามาใช้อินเทอร์เน็ตของคุณได้ก็เพียงเพิ่มหมายเลขนี้ลงไปใ นระบบ WEP อุปกรณ์ Wi-Fi ทุกชนิดมีความสามารถในการเข้ารหัสข้อมูลกอ่นที่จะมีการสื่อสารระหวา่งสองแห่ง WEB (Wired Equivalent Privacy) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างความปลอดภัยให้กบัเครือขา่ยแลนแบบไร้สาย ซึ่งการทา งานของ WEB นั้นมี 2 หน้าที่หลัก ๆ คือ การเข้ารหัส/ถอดรหัสข้อมูล และการตรวจสอบผู้ใช้โดยใช้คีย์ขนาด 128 บิต ในการเข้ารหัส และที่สาคัญนั้นรหัสที่ใช้สาหรับ Encrypt
  • 22. ข้อมูลก็จะเป็นรหัสเดียวกับตอน Decrypt ข้อมูลด้วย วิธีแบบนี้ถูกเรียกวา่ symmetric Encrypt/Decrypt ส่วนขั้นตอนตรวจสอบผู้ใช้ (Authentication) จะถูกกา หนดเอาไวส้องแบบคือ 1. ไมมี่การตรวจสอบรหัสลับ 2. มีการตรวจสอบรหัสลับ โดยเป็นกลไกที่จะคอยเช็กวา่ผู้ใช้คนดังกลา่วมีสิทธ์ิจะเข้ามาในเครือขา่ยนี้หรือไม่แน่นอนวา่วีที่ 2 นี้ คุณจา เป็นต้องตั้งคา่ให้มีการเข้ารหัสด้วย WEB เอาไวด้้วย แต่WEB ก็ยังมีข้อเสียเชน่กนั คือ การเข้ารหัสอาจถูกเจาะด้วยการสุ่มคีย์ต่าง ๆ ออกมาได้ทั้งหมดเพราะเทคโนโลยีสมยัใหมที่่มีในปัจจุบันได้เอื้ออา นวยให้การถอดรหัสด้วยวิธีการตา่ง ๆ ทา ได้ง่ายขึ้น แตถึ่งกระนั้นก็ต้องใช้เวลานานทีเดียวกวา่จะถอดรหัสข้อมูลออกมาได้ทั้งหมด สว่นวิธีการตรวจสอบสิทธ์ิผู้ใช้นั้นก็มีชอ่งโหวเ่ล็ก ๆ ให้เห็นเชน่กนั โดยมีข้อมูลที่เป็นส่วนคา ถามที่ใช้ตรวจสอบไมไ่ด้ถูกเข้ารหัสไวต้ั้งแตแ่รก
  • 23. ซึ่งทา ให้ผู้ไมป่ระสงค์ดีสามารถเข้ามาถอดรหัสบางส่วนออกมาได้ ของเลน่ที่ใช้รีโมตคอนโทรล (Remote-Controlled Toys) ของเลน่ที่ใช้รีโมตคอลโทรล อยา่งเชน่ รถหุ่นยนต์ เป็นต้น ถูกควบคุมแบบไร้สาย และของเลน่ที่ตอบสนองเหมือนมีชีวิต เชน่ ของเลน่ระบบดิจิตอล เรียกวา่เพอร์บี้ (Furbies) จะใช้เทคโนโลยีแบบไร้สายส่งข้อมูลของตัวเองไปยังผู้อื่น โทรศัพท์มือถือ (Cell Phone) นี่คืออุปกรณ์ที่ทุกๆ คน นึกถึงเมอื่กลา่วถึงเทคโนโลยีแบบไร้สาย รีโมตคอลโทรล (Remote Control) ทุก ๆ ครั้งที่คุณกดรีโมตคอนโทรลเพื่อเปลี่ยนชอ่งสัญญาณ หรือเสียง
  • 24. หรืออื่น ๆ คุณกา ลังใช้เทคโนโลยีแบบไร้สายซึ่งใช้รังสีอินฟราเรด ระบบเครือขา่ยแบบไร้สาย (Wireless Network) บ้านหลาย ๆ บ้านทุกวนันี้ไมใ่ชมี่แตค่อมพิวเตอร์เครื่องเดียว ระบบเครือขา่ยโดยเทคโนโลยีแบบไร้สายสามารถเชื่อมตอ่กนัได้ และสามารถที่จะใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านทางเคเบิลโมเด็มได้ด้วย ข้อดี
  • 25. 1. ชว่ยลดปัญหาในการติดตั้งระบบเครือขา่ย 2. ชว่ยลดปัญหาในการวางสายระบบเครือขา่ย 3. ไมต่้องใช้สาย cable 4. ชว่ยให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ข้อเสีย 1. มีอัตราการลดทอนสัญญาณสูง นั่นหมายความวา่ “ ส่งสัญญาณได้ระยะสั้น ” 2. มีสัญญาณรบกวนสูง 3. ต้องแชร์กนัใช้ชอ่งสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกนั 4. ยังมี หลายมาตรฐาน ตามผู้ผลิต แตล่ะราย ทา ให้ มีปัญหา ในการ ใช้งาน ร่วมกนั 5. ราคาแพงกวา่ระบบเครือขา่ยแบบมีสาย 6. มีความเร็วไมสู่งมากนัก บทที่ 3 วิธีดำเนินงำนโครงงำน ในการจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ คณะผู้จัดทา โครงงานได้มีวิธีดา เนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังตอ่ไปนี้ 3.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ - คอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมตอ่เครือขา่ยอินเตอร์เน็ต - program Microsoft Office Access 2007 3.2 วิธีการดา เนินการตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ - ศึกษาค้นควา้เรื่องเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ - แนะแนวความรู้ตอ่คุณครู และเพื่อน หรือผู้สนใจทั่วไปโดยใชเว็บไซค์ - ผู้เรียนสามารถงานระบบเครือขา่ย - ประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น - จัดทา รายงาน - นาเสนอโครงงาน
  • 26. บทที่4 ผลกำรดำเนินงำนโครงงำน การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ โดยการแนะแนวความรู้ผา่นเว็บไซค์เกยี่วกบั ระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ มีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษา และค้นควา้เรื่องที่สนใจเกยี่วกบัระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้งานระบบเครือขา่ย เพื่อให้ผู้จัดทา โครงงานสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากบัการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสามารถติดต่อสื่อสารกนัได้ระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป ซึ่งมีผลการดา เนินงานโครงงาน ดังนี้ 4.1 ผลการค้นควา้เรื่องที่สนใจเกยี่วกับระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ ทา ให้คณะผู้จัดทา เกิดความรู้ความเข้าใจ เกยี่วกบัการใช้งาน รูปแบบ ประเภท ของระบบเครือขา่ย ทั้งเครือขา่ยมีสาย และไร้สาย รวมไปถึงข้อดีและข้อเสียของระบบเครือขา่ย 4.2 ตัวอยา่งการนาเสนอหน้าเว็บบล็อก บทที่5 สรุปผลกำรดำเนินงำน และข้อเสนอแนะ การจัดทา โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ คณะผู้จัดทา โครงงานสามารถสรุปผลการดา เนินงาน และข้อเสนอแนะ ดังนี้ 5.1สรุปผลกำรดำเนินงำนโครงงำน การดา เนินโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องระบบเครือขา่ยคอมพิวเตอร์ คณะผู้จัดทา สามารถรู้ และเข้าใจในการใช้งาน รวมไปถึงประโยชน์ของระบบเคลือขา่ยคอมพิวเตอร์ และยังสามารถแนะแนวความรู้ผา่นเว็บไซค์…… โดยคณะผู้จัดทา ได้จัดทา รูปเล่มรายงาน และนาเสนอโครงงานหน้าชั้นเรียนซึ่งการสื่อสารระหวา่งครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป ได้เป็นอยา่งดี
  • 27. 5.2 ข้อเสนอแนะทวั่ไป - เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบล็อก คือ ........ เป็นเว็บบล็อกสาเร็จรูปที่ใช้ทา เว็บไซต์ได้ง่าย และรวดเร็ว แตถ่้าเราใช้ประโยชน์ในทางที่ไมถู่กต้องและไมเ่หมาะสม ก็จะส่งผลตอ่การละเมิดลิขสิทธ์ิและ ได้รับความรู้ที่ไมถู่กต้อง เพราะฉะนั้นผู้จัดทา ควรเผยแพร่สิ่งที่ดี ๆ ให้บุคคลที่เข้ามาเยี่ยมหรือศึกษาได้ความรู้และสิ่งดี ๆ นาไปเผยแพร่ตอ่ให้ผู้อื่นมาศึกษาความรู้ ที่เป็นประโยชน์ตอ่ไป - ควรมีการจัดทา เนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายให้ครบทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ 5.3 ปัญหำ อุปสรรค และแนวทำงในกำรพัฒนำ - เครื่องคอมพิวเตอร์ไมเ่พียงพอกับการทา โครงงาน และบางครั้งอินเทอร์เน็ตมีปัญหา เข้าพร้อมกนัก็จะทา ให้ช้า จึงทา ให้การพัฒนาเว็บบล็อกเกิดความลา่ช้าตามไปด้วย - เพื่อนนักเรียนบางคนเรียนรู้การพัฒนาเว็บบล็อกค่อนข้างช้า ทา ให้ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้ เพราะครูผู้สอนไมส่ามารถสอนเนื้อหาเพิ่มเติมได้