SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน คอมพิวเตอร์กับการมองเห็น
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายทินภัทร์ จันทร์สม เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายทินภัทร์ จันทร์สม เลขที่ 12
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
คอมพิวเตอร์กับการมองเห็น
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Computer with vision
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายทินภัทร์ จันทร์สม
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 กรกฎาคม – 5 กันยายน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันวัยรุ่นมีการให้คอมพิวเตอร์กันมากยิ่งขึ้น สาเหตุหนึ่งที่ทาให้สายตาของวัยรุ่นเสียภาพหรือเกิดความ
ผิดปกตินั้นก็คือ สาเหตุจากการให้เครื่องมือสื่อสาร หรือการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
ดวงตาเป็นอวัยวะที่สาคัญอย่างหนึ่งในร่างกาย เป็นอวัยวะรับแสงช่วยให้เราได้รับรู้สิ่งต่างๆ เมื่อแสงตก
กระทบสิ่งต่างๆ จะสะท้อนวัตถุหรือสิ่งของนั้นเข้ามาในตาทาให้มองเห็นวัตถุ เพราะฉะนั้นดวงตาจึงเป็นสิ่งสาคัญใน
การดารงชีวิตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จึงอาจทาให้เกิดความผิดปกติของตา เกิดขึ้นเพราะส่วนประกอบของนัยน์ตาที่
ลักษณะผิดปกติ ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการมองเห็นไม่ชัดได้ ตาพร่าได้ ที่พบบ่อยได้แก่ สายตาสั้น สายตายาว สายตา
เอียง การแก้ไข ควรปรึกษาจักษุแพทย์อาจรักษาโดยการใช้แว่นตา หรือฝึกกล้ามที่อ่อนให้ทางานดีขึ้น หรืออาจรักษา
โดยการผ่าตัด
การถนอมด้วยตาจึงเป็นสิ่งสาคัญที่สุดที่จะทาให้ดวงตาของเราอยู่กับเราได้นานขึ้น เราจึงศึกษาว่าสาเหตุที่ทา
ให้ดวงตาของเราผิดปกตินั้นเกิดจากอะไรบ้าง เราพยายามใช้นัยน์ตาในการมองภายใต้สภาวะที่เสี่ยงภัยหรือเป็น
อันตรายกับนัยน์ตา การทางานของนัยน์ตาถูกควบคุมโดยกล้ามเนื้อตา ซึ่งกล้ามเนื้อจะทางานอย่างเหน็ดเหนื่อยและ
รัดเกร็ง สาหรับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พยายามใช้นัยน์ตาในการมองแต่ละวันนั้นคุณอาจจะต้องตกใจว่านัยน์ตานั้นมี
การ 30,000 ครั้ง/วัน กล้ามเนื้อตาที่ถูกใช้ในการมองข้อความบนกระดาษหน้าหนึ่ง การกระตุกของจอภาพ การปรับ
สายตาในการมองสิ่งต่าง ๆ หรือเปลี่ยนโฟกัสในการมองและกลับมามองที่หน้าจออีกครั้ง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อนาความรู้จากวิชาการต่างๆ มาบูรณาการกับการการดูแลรักษาดวงตา
2.ศึกษาประโยชน์ของดวงตา
3.ศึกษาสาเหตุที่ทาให้สายตาของเราผิดปกติ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาสาเหตุการทาให้ดวงตาเกิดภาวะผิดปกติ
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
กลไกการมองเห็น
การมองเห็นนั้น ตองอาศัยการทางานรวมกันของนัยน์ตาและระบบประสาท โดยมีเลนส์ (Lens) อยูที่ส่วน
หน้าของลูกตาทาหนาที่รวมแสงใ้ห้ไปตกกระทบที่ตัวรับแสงเรียกว่า Receptors ซึ่งอยูภายใน ลูกตาและมีระบบ
ประสาท ทาหนาที่นาสัญญาณจาก Receptors ส่งไปสู่สมอง
นัยน์ตา มีลักษณะเป็นรูปทรงกลม แบ่งเป็น 2 ห้อง ด้านหน้า และด้านหลัง (Anterior and Posterior Chambers) มี
ผนัง 3 ชั้น ได้แก่
1. ผนังชั้นนอก เรียกวา ชั้นเปลือกลูกตาหรือสเคลอรา (Sclera หรือ Protective Layer) ทาหน้าที่ปกป้อง
อันตรายให้แก่เนื้อเยื่อชั้นใน โดยผนังชั้นนี้จะมีลักษณะทึบแสงสีขาว ยกเว้นด้านหน้าซึ่งโปร่งแสง เพื่อให้แสงผ่านเข้าสู่
นัยน์ตาเรียกว่า กระจกตา (Cornea)
2. ผนังชั้นกลาง เรียกวาโครอยด (Choroid หรือ Pigmented Layer) ผนังชั้นนี้เป็นที่อยู่ของเลนส์ตา
(Crystalline lens) ซึ่งมีกลามเนื้อเรียบ ชื่อวา Ciliary Muscle ช่วยในการทางานของเลนส์ตา ด้านหน้าของเลนส์ตา
มีแผ่นกล้ามเนื้อบาง ๆ ทึบแสงเรียกวา ม่านตา (Iris) ปกคลุมเลนส์ไว้ มีช่องตรงกลางเพื่อให้แสงผ่าน เรียกว่า รูมานตา
(Pupil) กล้ามเนื้อ 2 ชุดเล็กๆ ที่เกาะอยู่รอบ Iris คือ กล้ามเนื้อเซอคูลาร์ (Circular Muscle หรือ Sphinctor
Pupillae) ทาหน้าที่ลดขนาดของรูม่านตา เมื่ออยูในสภาวะที่มี แสงสวางจ้ามาก และกล้ามเนื้อเรเดียล (Radial
Muscle หรือ Dilator Pupillae) ทาหนาที่ขยายม่านตาเมื่อเวลาอยูในที่มืด
3. ผนังชั้นใน เรียกว่า จอตาหรือเรตินา (Retina หรือ Light Sensitive Layer) เป็นชั้นที่มีเนื้อเยื่อประสาท
อยู่ ในชั้นนี้มีเซลล์รับแสง ซึ่งไวต่อแสงและเซลล์ประสาท (Nerve Cells) เรียงตัวเป็นชั้นอยางมีระเบียบอยูมากมาย
จานวน 10 ชั้น ประกอบด้วย เซลล์รับแสง (Visual Receptors) ได้แก่ เซลล์รูปแท่ง (Rod Cells) และเซลล์รูปกรวย
(Cone Cells) เชื่อมอยู่กับเซลล์ประสาทอีก 4 ชนิด คือไบโพลารเซลล (Bipolar Cells) แกงเกลียนเซลล์ (Ganglion
Cells) ฮอริซอนทอลเซลล (Horizontal Cells) และอะมาครินเซลล (Amacrine Cells) โดยแกงเกลียนเซลล์รวมตัว
เป็นเส้นประสาทตา (Optic Nerve) นาไปสู่สมอง
กลไกการเกิดภาพ (Image-Forming Mechanism)
นัยน์ตา ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงไปเป็นพลังงานประสาท (Action Potential) โดยภาพจะถูกโฟกัสให้
ตกลงบนเรตินา ในลักษณะภาพกลับหัวจากวัตถุจริงซึ่งลาแสงที่ตกลงบนเรตินาจะไปกระตุ้น Rod และ Cone Cells
ใหเกิดพลังงานประสาท จากนั้นคลื่นสัญญาณประสาทที่เกิดขึ้นนี้จะส่งไปยัง Cerebral Cortex เพื่อแปลผลเป็นภาพที่
เห็น สมองจะแปลภาพออกมาในลักษณะเหมือนวัตถุจริง
ความบกพร่องของการมองเห็น
คนสายตาปกติ สามารถมองเห็นวัตถุได้ชัดในระยะใกล้สุดที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากนัยน์ตา เรียกว่า
ระยะใกล้ตา และสามารถมองเห็นวัตถุไกลสุดได้ชัดอยู่ที่ระยะอนันต์ (  ) เรียกว่า ระยะไกลตา ทั้งนี้เพราะภาพที่ได้
จะปรากฏบนเรตินาพอดี
คนสายตาสั้น จะมองเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ได้ชัดเจน แต่มองวัตถุที่อยู่ไกลไม่ชัดเจน โดยจุดใกล้ตาจะน้อย
กว่า 25 เซนติเมตร แต่จุดไกลตาไม่ถึงระยะอนันต์ ทั้งนี้เป็นเพราะภาพของวัตถุเกิดอยู่หน้าเรตินา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก
4
เลนส์ตาของคนสายตาสั้นหนามาก แม้ว่ากล้ามเนื้อตาจะผ่อนคลายแล้วก็ตาม การแก้ไข จะต้องสวมแว่นตาที่ทาจาก
เลนส์เว้า เพื่อช่วยถ่างลาแสงก่อนหักเหผ่านเลนส์ตา เพื่อทาให้เกิดภาพที่เรตินาพอดี
คนสายตายาว จะมองเห็นวัตถุที่อยู่ไกลได้ชัดเจน แต่มองวัตถุที่อยู่ใกล้ไม่ชัดเจน โดยจุดใกล้ตาจะ
มากกว่า 25 เซนติเมตร จุดไกลตาอยู่ที่ระยะอนันต์ ทั้งนี้เป็นเพราะภาพของวัตถุเกิดอยู่หลังเรตินา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก
เลนส์ตาของคนสายตายาวจะบางมาก แม้ว่ากล้ามเนื้อตาจะพยายามบีบเต็มที่แล้ว การแก้ไข จะต้องสวมแว่นตาที่ทา
จากเลนส์นูน เพื่อช่วยบีบลาแสงก่อนหักเหผ่านเลนส์ตา เพื่อทาให้เกิดภาพที่เรตินาพอดี
สายตาคนชรา จะมองเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ไม่ชัดเจนเหมือนกับเป็นคนสายตายาว แต่เมื่อมองวัตถุที่อยู่ไกลๆ ก็
มองเห็นไม่ชัดเจนอีกเหมือนกับคนสายตาสั้น โดยจุดใกล้ตาของคนชราจะมากกว่า 25เซนติเมตร ส่วนจุดไกลตาจะ
น้อยกว่าระยะอนันต์ เนื่องจากกล้ามเนื้อตาทางานผิดปกติ คือ บังคับให้เลนส์ตาปรับความยาวโฟกัสยาวสั้นต่างๆ กัน
มากไม่ได้ การแก้ไข ต้องใช้แว่นตาสองอัน คือ ใช้แว่นตาที่ทาด้วยเลนส์นูน เมื่อจะมองวัตถุที่อยู่ใกล้ และใช้แว่นตาที่
ทาด้วยเลนส์เว้า เมื่อจะมองวัตถุที่อยู่ไกล
คนสายตาเอียง จะมองเห็นวัตไม่คมชัดบริเวณรอบๆ โดยจะมองเห็นวัตถุในแนวระดับไม่ชัด แต่ในแนวดิ่ง
ชัดและบริเวณตรงกลางชัดเจน สาเหตุเกิดจากความโค้งผิวของเลนส์ตาในระนาบทั้งสองไม่เท่ากัน การแก้ไข โดย
การสวมแว่นตาที่ทาด้วยเลนส์กาบกล้วยชนิดเว้าและชนิดนูน
การมองเห็นสี เมื่อให้แสงสีขาวตกกระทบวัตถุต่าง ๆ เราจะเห็นวัตถุมีสีแตกต่างกัน การมองเห็นสีต่าง ๆ
นอกจากจะขึ้นอยู่กับ เซลล์รูปกรวยในเรตินาของตาแล้ว ยังมีสิ่งอื่นอีกที่มีอิทธิพลต่อการเห็นสีของวัตถุ คือ การที่
จากนั้นผ่านสีต่าง ๆ ของตัวกลาง ก่อนเข้าสู่ตาเรา เช่น แสงขาวของดวงอาทิตย์ เมื่อผ่านปริซึม จะมองเห็นแสงสี
ถึง 7 สี เป็นต้น หรือ แสงสีต่าง ๆ ผ่านแผ่นกรองแสงสี เพื่อต้องการให้ได้แสงสีที่ต้องการ
สายตาพังจากการใช้คอมพิวเตอร์
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ แท๊บเล็ท หรือสมาร์ทโฟนเข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจาวันของเรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น
ที่บ้าน หรือที่ทางาน เชื่อว่าหลายคนอาจจะเคยประสบปัญหากับหนึ่งในอาการเหล่านี้ เช่น ปวดเมื่อยตา ตาแห้ง แสบ
ตา เคืองตา ตาพร่ามัว โฟกัสได้ช้าลง ตาสู้แสงไม่ได้ ปวดกระบอกตา ปวดศีรษะ หรือบางครั้งอาจมีอาการปวดหลัง
ไหล่หรือต้นคอร่วมด้วย
หากคุณเคยมีอาการเหล่านี้ร่วมกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานานหลายชั่วโมงในแต่ละวัน อาจบ่งบอก
ว่าคุณน่าจะมีกลุ่มอาการที่เรียกว่า Computer vision syndrome
Computer vision syndrome คือกลุ่มอาการทางตาที่เกิดจากการใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน โดยจะมี
อาการดังกล่าวข้างต้น มีการศึกษาพบว่าประมาณ 90% ของผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อเนื่องมากกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน เคย
ประสบกับหนึ่งในกลุ่มอาการนี้ ทั้งนี้อาจเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน เช่น
 ขณะเราจดจ่อกับการอ่านหนังสือหรือจ้องจอคอมพิวเตอร์ เราจะกระพริบตาน้อยลงจึงทาให้เกิดอาการตา
แห้งง่ายขึ้น
 แสงสว่างภายในห้องไม่เหมาะสม รวมทั้งการมีแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์
5
 การที่ตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์ไม่เรียบคมชัดเท่าตัวพิมพ์บนหน้าหนังสือ หรือการมีความไม่นิ่งของ
สัญญาณในจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งทาให้เราต้องพยายามในการโฟกัสมากขึ้นจึงก่อให้เกิดอาการตาเมื่อยล้าได้ง่าย
ขึ้น
 ระยะห่างจากหน้าจอ ระดับสายตาในการมองจอคอมพิวเตอร์ หรือท่าทางในการในการนั่งทางานที่ไม่
เหมาะสม
แม้ว่ากลุ่มอาการนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อตาหรือการมองเห็น แต่มักก่อให้เกิดความไม่สบายตา และอาจ
เป็นปัญหารบกวนการทางานหรือการใช้ชีวิตประจาวันได้ ซึ่งวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้องกันหรือหลีกเลี่ยง Computer
vision syndrome มีดังนี้คือ
1. ปรับระดับการมองเห็นและปรับท่านั่งในการทางานให้เหมาะสม
 จุดศูนย์กลางของจอคอมพิวเตอร์ควรห่างจากตาประมาณ 20-28 นิ้ว
 แป้นพิมพ์ควรวางอยู่ในระดับต่ากว่าจอ โดยให้ข้อมือและแขนขนานไปกับพื้น ข้อศอกตั้งฉาก ไม่อยู่ใน
ลักษณะเอื้อมไปข้างหน้า
 ปรับระดับเก้าอี้โดยให้ฝ่าเท้าวางราบไปกับพื้น เข่าตั้งฉาก ต้นขาขนานกับพื้น อาจมีที่วางข้อศอกและแขนเพื่อ
ลดอาการล้าที่หัวไหล่ แขน และข้อมือ
 เอกสารสิ่งพิมพ์ หรือหนังสือควรวางอยู่ในระดับและระยะเดียวกับจอ เพื่อไม่ต้องขยับหรือหันศีรษะและ
เปลี่ยนการปรับโฟกัสมากเกินไป
2. ปรับแสงสว่างจากภายนอกและจากจอคอมพิวเตอร์
 ปิดม่านหน้าต่าง เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้มีแสงแดดหรือแสงสว่างจากภายนอกส่องกระทบจอคอมพิวเตอร์ แสง
ภายในห้องทางานที่สว่างเกินไปจะก่อให้เกิดแสงสะท้อนที่จอได้ง่าย ทาให้รู้สึกไม่สบายตาได้
 อาจใช้แผ่นกันแสงสะท้อนติดหน้าจอภาพ
 ปรับความสว่างของหน้าจอและความแตกต่างของสีระหว่างพื้นจอและตัวอักษรให้สามารถมองเห็นได้คมชัด
และสบายตาที่สุด
3. พักสายตาระหว่างการทางาน เมื่อใช้สายตาติดต่อกันนาน 20 นาที ควรละสายตาออกจากจอคอมพิวเตอร์และมอง
ออกไปให้ไกล 20 วินาที นอกจากนี้ทุกๆ 2 ชั่วโมง ควรพักสายตาหรือลุกจากโต๊ะทางานเพื่อเป็นการผ่อนคลายเป็น
เวลาอย่างน้อย 15-20 นาที
4. กระพริบตาบ่อยขึ้น หรือหยอดน้าตาเทียม เพื่อช่วยลดอาการตาแห้งและช่วยให้สบายตาขึ้น
5. พบจักษุแพทย์เพื่อตรวจวัดสายตา
6
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
7
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

Similar to แบบร่างโครงงาน

2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10timehara
 
โครงงาน คอม เชต
โครงงาน   คอม    เชตโครงงาน   คอม    เชต
โครงงาน คอม เชตThanasak Inchai
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithipNewTF
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมkkkkkkamonnat
 
2560 project1
2560 project1 2560 project1
2560 project1 midfill69
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์warayut promrat
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)Milk MK
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157Surapong Jakang
 
ชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงาน
ชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงานชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงาน
ชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงานAimie 'owo
 
8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียน
8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียน8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียน
8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียนmeowkrub
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)Milk MK
 
2561 project 1 suiya-aryee no.9
2561 project  1 suiya-aryee no.92561 project  1 suiya-aryee no.9
2561 project 1 suiya-aryee no.9AryeeSuai
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 Thunyakan Intrawut
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนkanyaluk dornsanoi
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)Milk MK
 

Similar to แบบร่างโครงงาน (20)

2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)Projectm6 2-2556 (1)
Projectm6 2-2556 (1)
 
โครงงาน คอม เชต
โครงงาน   คอม    เชตโครงงาน   คอม    เชต
โครงงาน คอม เชต
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithip
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
2560 project1
2560 project1 2560 project1
2560 project1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157แผนคอมฯ ม.1 78-157
แผนคอมฯ ม.1 78-157
 
ชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงาน
ชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงานชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงาน
ชนม์ญาดา,ธัญลักษณ์ โครงงาน
 
8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียน
8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียน8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียน
8 วิธีกำจัดความง่วงในห้องเรียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 
2561 project 1 suiya-aryee no.9
2561 project  1 suiya-aryee no.92561 project  1 suiya-aryee no.9
2561 project 1 suiya-aryee no.9
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
โครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทนโครงร่างคอมแทน
โครงร่างคอมแทน
 
2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)2557 โครงงาน (1)
2557 โครงงาน (1)
 

แบบร่างโครงงาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน คอมพิวเตอร์กับการมองเห็น ชื่อผู้ทาโครงงาน นายทินภัทร์ จันทร์สม เลขที่ 12 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1.นายทินภัทร์ จันทร์สม เลขที่ 12 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) คอมพิวเตอร์กับการมองเห็น ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Computer with vision ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายทินภัทร์ จันทร์สม ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 2 กรกฎาคม – 5 กันยายน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันวัยรุ่นมีการให้คอมพิวเตอร์กันมากยิ่งขึ้น สาเหตุหนึ่งที่ทาให้สายตาของวัยรุ่นเสียภาพหรือเกิดความ ผิดปกตินั้นก็คือ สาเหตุจากการให้เครื่องมือสื่อสาร หรือการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ดวงตาเป็นอวัยวะที่สาคัญอย่างหนึ่งในร่างกาย เป็นอวัยวะรับแสงช่วยให้เราได้รับรู้สิ่งต่างๆ เมื่อแสงตก กระทบสิ่งต่างๆ จะสะท้อนวัตถุหรือสิ่งของนั้นเข้ามาในตาทาให้มองเห็นวัตถุ เพราะฉะนั้นดวงตาจึงเป็นสิ่งสาคัญใน การดารงชีวิตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จึงอาจทาให้เกิดความผิดปกติของตา เกิดขึ้นเพราะส่วนประกอบของนัยน์ตาที่ ลักษณะผิดปกติ ซึ่งอาจทาให้เกิดอาการมองเห็นไม่ชัดได้ ตาพร่าได้ ที่พบบ่อยได้แก่ สายตาสั้น สายตายาว สายตา เอียง การแก้ไข ควรปรึกษาจักษุแพทย์อาจรักษาโดยการใช้แว่นตา หรือฝึกกล้ามที่อ่อนให้ทางานดีขึ้น หรืออาจรักษา โดยการผ่าตัด การถนอมด้วยตาจึงเป็นสิ่งสาคัญที่สุดที่จะทาให้ดวงตาของเราอยู่กับเราได้นานขึ้น เราจึงศึกษาว่าสาเหตุที่ทา ให้ดวงตาของเราผิดปกตินั้นเกิดจากอะไรบ้าง เราพยายามใช้นัยน์ตาในการมองภายใต้สภาวะที่เสี่ยงภัยหรือเป็น อันตรายกับนัยน์ตา การทางานของนัยน์ตาถูกควบคุมโดยกล้ามเนื้อตา ซึ่งกล้ามเนื้อจะทางานอย่างเหน็ดเหนื่อยและ รัดเกร็ง สาหรับผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พยายามใช้นัยน์ตาในการมองแต่ละวันนั้นคุณอาจจะต้องตกใจว่านัยน์ตานั้นมี การ 30,000 ครั้ง/วัน กล้ามเนื้อตาที่ถูกใช้ในการมองข้อความบนกระดาษหน้าหนึ่ง การกระตุกของจอภาพ การปรับ สายตาในการมองสิ่งต่าง ๆ หรือเปลี่ยนโฟกัสในการมองและกลับมามองที่หน้าจออีกครั้ง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อนาความรู้จากวิชาการต่างๆ มาบูรณาการกับการการดูแลรักษาดวงตา 2.ศึกษาประโยชน์ของดวงตา 3.ศึกษาสาเหตุที่ทาให้สายตาของเราผิดปกติ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาสาเหตุการทาให้ดวงตาเกิดภาวะผิดปกติ
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) กลไกการมองเห็น การมองเห็นนั้น ตองอาศัยการทางานรวมกันของนัยน์ตาและระบบประสาท โดยมีเลนส์ (Lens) อยูที่ส่วน หน้าของลูกตาทาหนาที่รวมแสงใ้ห้ไปตกกระทบที่ตัวรับแสงเรียกว่า Receptors ซึ่งอยูภายใน ลูกตาและมีระบบ ประสาท ทาหนาที่นาสัญญาณจาก Receptors ส่งไปสู่สมอง นัยน์ตา มีลักษณะเป็นรูปทรงกลม แบ่งเป็น 2 ห้อง ด้านหน้า และด้านหลัง (Anterior and Posterior Chambers) มี ผนัง 3 ชั้น ได้แก่ 1. ผนังชั้นนอก เรียกวา ชั้นเปลือกลูกตาหรือสเคลอรา (Sclera หรือ Protective Layer) ทาหน้าที่ปกป้อง อันตรายให้แก่เนื้อเยื่อชั้นใน โดยผนังชั้นนี้จะมีลักษณะทึบแสงสีขาว ยกเว้นด้านหน้าซึ่งโปร่งแสง เพื่อให้แสงผ่านเข้าสู่ นัยน์ตาเรียกว่า กระจกตา (Cornea) 2. ผนังชั้นกลาง เรียกวาโครอยด (Choroid หรือ Pigmented Layer) ผนังชั้นนี้เป็นที่อยู่ของเลนส์ตา (Crystalline lens) ซึ่งมีกลามเนื้อเรียบ ชื่อวา Ciliary Muscle ช่วยในการทางานของเลนส์ตา ด้านหน้าของเลนส์ตา มีแผ่นกล้ามเนื้อบาง ๆ ทึบแสงเรียกวา ม่านตา (Iris) ปกคลุมเลนส์ไว้ มีช่องตรงกลางเพื่อให้แสงผ่าน เรียกว่า รูมานตา (Pupil) กล้ามเนื้อ 2 ชุดเล็กๆ ที่เกาะอยู่รอบ Iris คือ กล้ามเนื้อเซอคูลาร์ (Circular Muscle หรือ Sphinctor Pupillae) ทาหน้าที่ลดขนาดของรูม่านตา เมื่ออยูในสภาวะที่มี แสงสวางจ้ามาก และกล้ามเนื้อเรเดียล (Radial Muscle หรือ Dilator Pupillae) ทาหนาที่ขยายม่านตาเมื่อเวลาอยูในที่มืด 3. ผนังชั้นใน เรียกว่า จอตาหรือเรตินา (Retina หรือ Light Sensitive Layer) เป็นชั้นที่มีเนื้อเยื่อประสาท อยู่ ในชั้นนี้มีเซลล์รับแสง ซึ่งไวต่อแสงและเซลล์ประสาท (Nerve Cells) เรียงตัวเป็นชั้นอยางมีระเบียบอยูมากมาย จานวน 10 ชั้น ประกอบด้วย เซลล์รับแสง (Visual Receptors) ได้แก่ เซลล์รูปแท่ง (Rod Cells) และเซลล์รูปกรวย (Cone Cells) เชื่อมอยู่กับเซลล์ประสาทอีก 4 ชนิด คือไบโพลารเซลล (Bipolar Cells) แกงเกลียนเซลล์ (Ganglion Cells) ฮอริซอนทอลเซลล (Horizontal Cells) และอะมาครินเซลล (Amacrine Cells) โดยแกงเกลียนเซลล์รวมตัว เป็นเส้นประสาทตา (Optic Nerve) นาไปสู่สมอง กลไกการเกิดภาพ (Image-Forming Mechanism) นัยน์ตา ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงไปเป็นพลังงานประสาท (Action Potential) โดยภาพจะถูกโฟกัสให้ ตกลงบนเรตินา ในลักษณะภาพกลับหัวจากวัตถุจริงซึ่งลาแสงที่ตกลงบนเรตินาจะไปกระตุ้น Rod และ Cone Cells ใหเกิดพลังงานประสาท จากนั้นคลื่นสัญญาณประสาทที่เกิดขึ้นนี้จะส่งไปยัง Cerebral Cortex เพื่อแปลผลเป็นภาพที่ เห็น สมองจะแปลภาพออกมาในลักษณะเหมือนวัตถุจริง ความบกพร่องของการมองเห็น คนสายตาปกติ สามารถมองเห็นวัตถุได้ชัดในระยะใกล้สุดที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากนัยน์ตา เรียกว่า ระยะใกล้ตา และสามารถมองเห็นวัตถุไกลสุดได้ชัดอยู่ที่ระยะอนันต์ (  ) เรียกว่า ระยะไกลตา ทั้งนี้เพราะภาพที่ได้ จะปรากฏบนเรตินาพอดี คนสายตาสั้น จะมองเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ได้ชัดเจน แต่มองวัตถุที่อยู่ไกลไม่ชัดเจน โดยจุดใกล้ตาจะน้อย กว่า 25 เซนติเมตร แต่จุดไกลตาไม่ถึงระยะอนันต์ ทั้งนี้เป็นเพราะภาพของวัตถุเกิดอยู่หน้าเรตินา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก
  • 4. 4 เลนส์ตาของคนสายตาสั้นหนามาก แม้ว่ากล้ามเนื้อตาจะผ่อนคลายแล้วก็ตาม การแก้ไข จะต้องสวมแว่นตาที่ทาจาก เลนส์เว้า เพื่อช่วยถ่างลาแสงก่อนหักเหผ่านเลนส์ตา เพื่อทาให้เกิดภาพที่เรตินาพอดี คนสายตายาว จะมองเห็นวัตถุที่อยู่ไกลได้ชัดเจน แต่มองวัตถุที่อยู่ใกล้ไม่ชัดเจน โดยจุดใกล้ตาจะ มากกว่า 25 เซนติเมตร จุดไกลตาอยู่ที่ระยะอนันต์ ทั้งนี้เป็นเพราะภาพของวัตถุเกิดอยู่หลังเรตินา ซึ่งมีสาเหตุมาจาก เลนส์ตาของคนสายตายาวจะบางมาก แม้ว่ากล้ามเนื้อตาจะพยายามบีบเต็มที่แล้ว การแก้ไข จะต้องสวมแว่นตาที่ทา จากเลนส์นูน เพื่อช่วยบีบลาแสงก่อนหักเหผ่านเลนส์ตา เพื่อทาให้เกิดภาพที่เรตินาพอดี สายตาคนชรา จะมองเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ไม่ชัดเจนเหมือนกับเป็นคนสายตายาว แต่เมื่อมองวัตถุที่อยู่ไกลๆ ก็ มองเห็นไม่ชัดเจนอีกเหมือนกับคนสายตาสั้น โดยจุดใกล้ตาของคนชราจะมากกว่า 25เซนติเมตร ส่วนจุดไกลตาจะ น้อยกว่าระยะอนันต์ เนื่องจากกล้ามเนื้อตาทางานผิดปกติ คือ บังคับให้เลนส์ตาปรับความยาวโฟกัสยาวสั้นต่างๆ กัน มากไม่ได้ การแก้ไข ต้องใช้แว่นตาสองอัน คือ ใช้แว่นตาที่ทาด้วยเลนส์นูน เมื่อจะมองวัตถุที่อยู่ใกล้ และใช้แว่นตาที่ ทาด้วยเลนส์เว้า เมื่อจะมองวัตถุที่อยู่ไกล คนสายตาเอียง จะมองเห็นวัตไม่คมชัดบริเวณรอบๆ โดยจะมองเห็นวัตถุในแนวระดับไม่ชัด แต่ในแนวดิ่ง ชัดและบริเวณตรงกลางชัดเจน สาเหตุเกิดจากความโค้งผิวของเลนส์ตาในระนาบทั้งสองไม่เท่ากัน การแก้ไข โดย การสวมแว่นตาที่ทาด้วยเลนส์กาบกล้วยชนิดเว้าและชนิดนูน การมองเห็นสี เมื่อให้แสงสีขาวตกกระทบวัตถุต่าง ๆ เราจะเห็นวัตถุมีสีแตกต่างกัน การมองเห็นสีต่าง ๆ นอกจากจะขึ้นอยู่กับ เซลล์รูปกรวยในเรตินาของตาแล้ว ยังมีสิ่งอื่นอีกที่มีอิทธิพลต่อการเห็นสีของวัตถุ คือ การที่ จากนั้นผ่านสีต่าง ๆ ของตัวกลาง ก่อนเข้าสู่ตาเรา เช่น แสงขาวของดวงอาทิตย์ เมื่อผ่านปริซึม จะมองเห็นแสงสี ถึง 7 สี เป็นต้น หรือ แสงสีต่าง ๆ ผ่านแผ่นกรองแสงสี เพื่อต้องการให้ได้แสงสีที่ต้องการ สายตาพังจากการใช้คอมพิวเตอร์ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ แท๊บเล็ท หรือสมาร์ทโฟนเข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจาวันของเรามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ที่บ้าน หรือที่ทางาน เชื่อว่าหลายคนอาจจะเคยประสบปัญหากับหนึ่งในอาการเหล่านี้ เช่น ปวดเมื่อยตา ตาแห้ง แสบ ตา เคืองตา ตาพร่ามัว โฟกัสได้ช้าลง ตาสู้แสงไม่ได้ ปวดกระบอกตา ปวดศีรษะ หรือบางครั้งอาจมีอาการปวดหลัง ไหล่หรือต้นคอร่วมด้วย หากคุณเคยมีอาการเหล่านี้ร่วมกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นเวลานานหลายชั่วโมงในแต่ละวัน อาจบ่งบอก ว่าคุณน่าจะมีกลุ่มอาการที่เรียกว่า Computer vision syndrome Computer vision syndrome คือกลุ่มอาการทางตาที่เกิดจากการใช้สายตากับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน โดยจะมี อาการดังกล่าวข้างต้น มีการศึกษาพบว่าประมาณ 90% ของผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อเนื่องมากกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน เคย ประสบกับหนึ่งในกลุ่มอาการนี้ ทั้งนี้อาจเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน เช่น  ขณะเราจดจ่อกับการอ่านหนังสือหรือจ้องจอคอมพิวเตอร์ เราจะกระพริบตาน้อยลงจึงทาให้เกิดอาการตา แห้งง่ายขึ้น  แสงสว่างภายในห้องไม่เหมาะสม รวมทั้งการมีแสงสะท้อนจากจอคอมพิวเตอร์
  • 5. 5  การที่ตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์ไม่เรียบคมชัดเท่าตัวพิมพ์บนหน้าหนังสือ หรือการมีความไม่นิ่งของ สัญญาณในจอคอมพิวเตอร์ ซึ่งทาให้เราต้องพยายามในการโฟกัสมากขึ้นจึงก่อให้เกิดอาการตาเมื่อยล้าได้ง่าย ขึ้น  ระยะห่างจากหน้าจอ ระดับสายตาในการมองจอคอมพิวเตอร์ หรือท่าทางในการในการนั่งทางานที่ไม่ เหมาะสม แม้ว่ากลุ่มอาการนี้ไม่ได้ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อตาหรือการมองเห็น แต่มักก่อให้เกิดความไม่สบายตา และอาจ เป็นปัญหารบกวนการทางานหรือการใช้ชีวิตประจาวันได้ ซึ่งวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้องกันหรือหลีกเลี่ยง Computer vision syndrome มีดังนี้คือ 1. ปรับระดับการมองเห็นและปรับท่านั่งในการทางานให้เหมาะสม  จุดศูนย์กลางของจอคอมพิวเตอร์ควรห่างจากตาประมาณ 20-28 นิ้ว  แป้นพิมพ์ควรวางอยู่ในระดับต่ากว่าจอ โดยให้ข้อมือและแขนขนานไปกับพื้น ข้อศอกตั้งฉาก ไม่อยู่ใน ลักษณะเอื้อมไปข้างหน้า  ปรับระดับเก้าอี้โดยให้ฝ่าเท้าวางราบไปกับพื้น เข่าตั้งฉาก ต้นขาขนานกับพื้น อาจมีที่วางข้อศอกและแขนเพื่อ ลดอาการล้าที่หัวไหล่ แขน และข้อมือ  เอกสารสิ่งพิมพ์ หรือหนังสือควรวางอยู่ในระดับและระยะเดียวกับจอ เพื่อไม่ต้องขยับหรือหันศีรษะและ เปลี่ยนการปรับโฟกัสมากเกินไป 2. ปรับแสงสว่างจากภายนอกและจากจอคอมพิวเตอร์  ปิดม่านหน้าต่าง เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้มีแสงแดดหรือแสงสว่างจากภายนอกส่องกระทบจอคอมพิวเตอร์ แสง ภายในห้องทางานที่สว่างเกินไปจะก่อให้เกิดแสงสะท้อนที่จอได้ง่าย ทาให้รู้สึกไม่สบายตาได้  อาจใช้แผ่นกันแสงสะท้อนติดหน้าจอภาพ  ปรับความสว่างของหน้าจอและความแตกต่างของสีระหว่างพื้นจอและตัวอักษรให้สามารถมองเห็นได้คมชัด และสบายตาที่สุด 3. พักสายตาระหว่างการทางาน เมื่อใช้สายตาติดต่อกันนาน 20 นาที ควรละสายตาออกจากจอคอมพิวเตอร์และมอง ออกไปให้ไกล 20 วินาที นอกจากนี้ทุกๆ 2 ชั่วโมง ควรพักสายตาหรือลุกจากโต๊ะทางานเพื่อเป็นการผ่อนคลายเป็น เวลาอย่างน้อย 15-20 นาที 4. กระพริบตาบ่อยขึ้น หรือหยอดน้าตาเทียม เพื่อช่วยลดอาการตาแห้งและช่วยให้สบายตาขึ้น 5. พบจักษุแพทย์เพื่อตรวจวัดสายตา
  • 6. 6 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 7. 7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________