SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง... สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์ 2014
จัดทาโดย
นายธีรพล กุลวุฒิ
เลขที่ 17 ม.5/3
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
ก
คำนำ
รายงานเล่นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 5/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จัดทาขึ้นเพื่อให้รู้ถึง10อาชีพที่มีความต้องการ
ที่สุด ในโลกของคอมพิวเตอร์ ในปี 2014 ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นสื่อในการ
เรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตต่อไป
ข
สารบัญ
เรื่อง...สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์ 2014....................................................................................1
จัดทาโดย ...........................................................................................................................................1
นายธีรพล กุลวุฒิ.................................................................................................................................1
เลขที่ 17 ม.5/3.....................................................................................................................................1
เสนอ.................................................................................................................................................1
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม...........................................................................................................................1
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี.........................................................................1
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต8 ...........................................................................................1
อาชีพและงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์..............................................................................................................1
อาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์............................................................................................................................2
วิศวกรรมซอฟต์แวร์......................................................................................................................................3
การจ้างงาน............................................................................................................................................4
เอกภาษาอังกฤษ.........................................................................................................................................4
นิเทศศาสตร์ เรียนการสื่อสารยุคดิจิทัลทางานได้กว้างมากมาย.............................................................................5
การตลาดอิเล็กทรอนิกส์................................................................................................................................8
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ........................................................................................................................................9
วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์...................................................................................... 10
สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) นั้นจะเน้นการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นงานด้านธุรกิจ งาน
ด้านการสื่อสาร งานในสายการผลิต งานด้านบริการ เป็นต้นครับ........................................................................ 11
คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน................................................................................................................................ 12
คอมพิวเตอร์เกมมัลติมีเดีย (Computer Game Multimedia).................................................................... 12
ออกแบบนิเทศศิลป์.................................................................................................................................... 13
คอมพิวเตอร์อาร์ต...................................................................................................................................... 15
รายวิชาที่ผู้เรียนคอมพิวเตอร์อาร์ต............................................................................................................ 15
ค
วิชวลเอฟเฟค (Visual Effects) ............................................................................................................... 15
รายวิชาที่ผู้เรียนวิชวลเอฟเฟค.................................................................................................................. 15
การจัดการธุรกิจไซเบอร์.............................................................................................................................. 15
อาชีพหลังสาเร็จการศึกษา....................................................................................................................... 16
ง
สารบัญตาราง
จ
สารบัญรูปภาพ
1
อาชีพและงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
ความหมายของงานอาชีพคอมพิวเตอร์
งานอาชีพคอมพิวเตอร์ หมายถึงงานบริการด้านคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์
และเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ทั้งระบบฮาร์ดแวร์ (Hard ware)
ซอฟต์แวร์ (Soft ware)
และพิเพิลแวร์ (People ware) หรือบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของงานอาชีพคอมพิวเตอร์
1. งานบริการสารสนเทศ (Information Service) เป็นงานบริการทางด้านข้อมูลและ
ข้อเท็จจริงด้านต่างๆ เป็นกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ ข่าวสารในทาง
การศึกษา อาชีพ สังคม ตลอดจนความรู้ด้านอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ การ
วางแผนในการดาเนินธุรกิจศึกษาแนวโน้มของธุรกิจ จึงเกิดงานบริการสนเทศด้านต่าง ๆ อาทิ
งานบริการสนเทศทางการศึกษา(Education Information) บริการสนเทศทางอาชีพ
(Occupational Information) บริการสนเทศทางด้านบุคคลและสังคม (Personal and Social
Information) และที่นิยมใช้บริการกันมากที่สุดในปัจจุบันก็คือการใช้บริการอินเทอร์เน็ต
(Internet Service)
2. งานบริการด้านฮาร์ดแวร์ เป็นงานบริการที่เกี่ยวข้องกับระบบฮาร์ดแวร์
คอมพิวเตอร์ได้แก่ธุรกิจการค้าด้านวัสดุ-อุปกรณ์และระบบเครื่องคอมพิวเตอร์,การประกอบ
คอมพิวเตอร์ การติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์,งานซ่อมบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
3. งานบริการด้านซอฟต์แวร์ เป็นงานบริการทางด้านซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้แก่ การ
ติดตั้งโปรแกรม, การเขียนโปรแกรมและการใช้งานโปรแกรมประยุกต์สาหรับงานต่าง ๆ การ
สร้างและพัฒนาเว็บ,การบารุงรักษาและแก้ไขปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ รวมทั้งการนา
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไปใช้งานการประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น การเขียนแบบ,ออกแบบผลิตภัณฑ์,
การตกแต่งภาพถ่าย,งานตัดต่อวีดีโอและภาพยนตร์ งานบริการด้านระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ การ
จัดทาโฆษณา โปรแกรมการเรียนรู้ CAI ต่าง ๆ เป็นต้น
2
4. งานบริการเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์หรือ พิเพิลแวร์ เป็นงาน
ที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรที่ทางานด้านคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร นักออกแบบและ
วิเคราะห์ระบบ ไปจนถึงผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) เป็นงานที่ให้ความรู้และพัฒนาบุคลากร
เช่น การจัดอบรมบุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานโปรแกรมประยุกต์ การดูแล
แก้ปัญหาและการบารุงรักษาระบบเบื้องต้น การพัฒนาบุคลากรในการสร้างและพัฒนา
ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมาใช้งานเองได้
คอมพิวเตอร์กับการสร้างอาชีพ
นอกจากการศึกษาเนื้อหาคอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ แล้ว ควรศึกษาหาช่องทางที่จะนา
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ด้วย เป็นการหารายได้เสริมอีกทางหรือหากคุณมีอาชีพหลักด้าน
คอมพิวเตอร์อยู่แล้ว ก็จะได้มีช่องทางในการสร้างรายได้เพิ่มมากขึ้น
อาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สามารถนาไปประยุกต์สร้างเป็นอาชีพต่างๆ ได้มากมาย ซึ่งผู้เขียน
ขอแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพนักงาน
บริษัทและกลุ่มอาชีพอิสระ พนักงานบริษัทส่วนมากจะเป็นผู้ที่จบมาทางด้านคอมพิวเตอร์
โดยตรง หรือไม่ก็ศึกษาด้วยตนเองและมีผลงาน ด้านคอมพิวเตอร์มาเสนอ ขณะสมัคร งานด้วย
หากเป็นงานที่เกี่ยวกับการวางระบบ การพัฒนาโปรแกรม โอกาสที่จะรับผู้ที่ไม่ได้จบมาโดยตรง
จะค่อนข้างน้อยกว่า บางที่ให้ความสาคัญมาก เพราะผู้จบมาโดยตรงย่อมมีพื้นฐานสามารถอบรม
เพิ่มเติมได้ไม่ยาก ตาแหน่งงานต่าง ๆ ของกลุ่มพนักงานบริษัท
1. Programmer, Computer Support, นักวิเคราะห์ระบบ นักออกแบบโปรแกรม ตาแหน่งเหล่านี้
จะเน้นรับผู้ที่จบมาโดยตรง
2. Computer Graphic เป็นตาแหน่งที่เน้นรับผู้ที่จบมาด้านศิลปที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์
โปรแกรมออกแบบกราฟิคได้ด้วย
งานนี้อาจมีลุ้นสาหรับบุคคลทั่วๆ ไป ขอเพียงมีผลงานดีๆ นา เสนอบวกกับมีฝีมือดี ก็หางานได้
3
ไม่ยาก
3. ช่างซ่อม-ประกอบเครื่อง ติดตั้งโปรแกรม ด้านนี้เน้นผู้มีประสบการณ์มากกว่า ไม่จาเป็น
ต้องจบโดยตรง หรืออาจไม่จาเป็น
ต้องมีวุฒิปริญญาด้วยซ้า (ทางร้านจะได้กดค่าแรงได้ต่าๆ หน่อย)
4. อาจารย์สอนคอมพิวเตอร์ตามสถาบันต่างๆ เน้นผู้ที่จบด้านการสอนและมีความสามารถด้าน
คอมพิวเตอร์ เพราะสามารถ
ฝึกหัดได้ง่าย แนวนี้ถ้าคุณจบปริญญาตรีขึ้นไป สาขาไหนๆ ก็ตาม ขอเพียงมีความสามารถด้าน
การสอนและคอมพิวเตอร์
อาชีพอิสระ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือ การประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การเข้าถึงซึ่งสามารถวัดประเมิน
ได้ในการพัฒนา การปฏิบัติการ และการบารุงรักษาซอฟต์แวร์ และในการศึกษาสิ่งเหล่านี้ ก็คือ
การประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมมาจัดการกับซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปิด
สอนหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นแห่งแรก คือ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อตกลงทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ปรากฏขึ้นครั้งแรกในการประชุมวิศวกรรมซอฟต์แวร์
นาโต ที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1968 และได้ให้ความสาคัญกับเหตุการณ์ "วิกฤติการณ์ซอฟต์แวร์"
ในขณะนั้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ได้กลายมาเป็นศาสตร์และแขนงของ
การศึกษาเฉพาะ ในการสร้างซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น มีราคาถูกลงเป็นที่ยอมรับได้ ดูแล
รักษาได้ง่าย และพัฒนาได้อย่างรวดเร็วขึ้น ตั้งแต่นั้นก็ยังคงมีการเปรียบเทียบวิศวกรรม
ซอฟต์แวร์กับวิศวกรรมแขนงอื่น ยังคงมีการถกเถียงกันว่าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่แท้จริงคืออะไร
และวิศวกรรมซอฟต์แวร์สมควรเป็นหนึ่งในสาขาวิศวกรรมหรือไม่ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ได้
ขยายวงกว้างอย่างไร้ขีดจากัดไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เช่น โปรแกรมเมอร์ การ
พัฒนาซอฟต์แวร์ในบางครั้งข้อตกลงอาจขึ้นอยู่กับผู้ที่มีส่วนสาคัญในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
ในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการสร้างซอฟต์แวร์ แต่กระนั้นวิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ยังเป็นที่
ใฝ่ฝันของวัยรุ่นในการประกอบอาชีพ ในนิตยสาร Money Magazine ได้กล่าวว่า อาชีพในแขนง
4
วิศวกรรมซอฟต์แวร์มีแนวโน้มอนาคตที่สดใส[1] และในเว็บไซต์ Salary.com ได้กล่าวว่าอัตรา
เงินเดือนในอาชีพวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีอัตราสูงที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 2006
การจ้างงาน
ในปี 2004 ในสหรัฐอเมริกา สานักแรงงานสถิติ นับ 760840 ซอฟต์แวร์วิศวกร ถืองานใน
สหรัฐอเมริกา; ในช่วงเวลาเดียวกันมีบาง 1.4 ล้านประกอบทางานในสหรัฐอเมริกาในอื่น ๆ
ทั้งหมดรวมวิศวกรรมฝึกหัด เนื่องจากความญาติเป็นความแปลกฟิลด์การศึกษาทางการศึกษาใน
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ นั้นมักจะสอนเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
และเป็นผล มากที่สุดซอฟต์แวร์วิศวกรถือด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์องศา
ส่วนใหญ่ ซอฟต์แวร์วิศวกร ทางานเป็นพนักงานหรือผู้รับเหมา วิศวกรซอฟต์แวร์ที่
ทางานร่วมกับธุรกิจหน่วยงานราชการ (พลเรือนหรือทหาร) และองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร
บางซอฟต์แวร์วิศวกรสามารถทางานด้วยตนเองได้ บางองค์กรมีผู้เชี่ยวชาญแต่ละดาเนินงาน
ใน กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์องค์กรอื่น ๆ ต้องทาวิศวกรซอฟต์แวร์จานวนมากหรือทั้งหมด
ของพวกเขา มากในโครงการคนอาจชานาญในเดียวบทบาท โครงการขนาดเล็กคนอาจกรอก
หลายหรือทั้งหมดบทบาทในเวลาเดียวกัน Specializations ประกอบด้วย: ในอุตสาหกรรม
(นักวิเคราะห์ สถาปนิก นักพัฒนา ทดสอบ การสนับสนุนทางเทคนิค ผู้จัดการ) และในด้าน
วิชาการ (นักวิชาการศึกษา นักวิจัย)
มีความถกเถียงในอนาคตโอกาสการจ้างงานสาหรับวิศวกรและซอฟต์แวร์อื่น ๆ ไอที
ผู้เชี่ยวชาญด้าน ตัวอย่างเช่นออนไลน์ล่วงหน้าตลาดที่เรียกว่า "อนาคตของ ITJOBS ไอทีงานใน
อเมริกา" พยายามตอบว่าจะมีเพิ่มเติมไอทีงานรวมทั้งซอฟต์แวร์วิศวกรในกว่า 2012 มีใน ค.ศ.
2002
เอกภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ (English) ถือได้ว่าเป็นภาษาสากลที่มีคนใช้มากที่สุดในโลก เป็นภาษาที่มีอิทธิพล
ในทุกๆด้านทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม คนที่รู้ภาษาอังกฤษในปัจจุบันย่อมได้เปรียบ
ครับ สาหรับการศึกษาเอกภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัย ได้รับความนิยมแพร่หลายมานานแล้ว
เพราะความสาคัญในการนาไปประกอบอาชีพได้หลากหลายมากมาย รวมถึงในโลกไซเบอร์ สื่อ
5
สังคมออนไลน์ ที่มีข้อมูลและทรัพยากรภาษาอังกฤษมากมาย ผู้ที่รู้ภาษาอังกฤษย่อมได้เปรียบใน
การทางาน
สาหรับผู้ที่ต้องการเรียนต่อด้านภาษาอังกฤษนั้น มีมหาวิทยาลัยไทยได้เปิดหลักสูตรการเรียน
การสอนด้านนี้มายาวนาน ทั้งมีชื่อเรียกที่หลากหลาย ได้แก่ เอกภาษาอังกฤษ ในคณะอักษร
ศาสตร์ หรือ คณะมนุษยศาสตร์ หรือ คณะศิลปศาสตร์ ล้วนมีการเปิดการเรียนการสอนด้าน
ภาษาต่างๆ รวมทั้งภาษาอังกฤษ ผู้ที่สนใจสามารถเข้าเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเพื่อศึกษาข้อมูล
เพิ่มเติมได้เป็นอย่างดี
โดยทั่วไปแล้ว ถ้าน้องๆเลือกคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น้องๆที่สอบเข้าได้คณะเหล่านี้ จะได้เลือกเรียน
สาขาวิชาเอกภายในปีที่ 2 ซึ่งจะได้เลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับผลการเรียน
ในปี 1 และปี 2 ครับ ซึ่งเป็นสาขาที่ได้รับความนิยมและมีการแข่งขันกันพอสมควรในคณะ
นอกจากนี้ทางคณะจะพิจารณาวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานทุกๆวิชา ทั้งในปี 1 และปี 2 เทอมต้น
เพื่อพิจารณาเลือกวิชาเอกให้กับเราด้วย ถ้าน้องๆคะแนนดีอยู่แล้วก็ไม่ต้องห่วงจ้า ส่วน
มหาวิทยาลัยอื่นๆเช่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยรัฐและ
เอกชนอีกหลายแห่งเราสามารถเลือกสมัครเข้าศึกษาได้ตอน Admission
นิเทศศาสตร์ เรียนการสื่อสารยุคดิจิทัลทางานได้กว้างมากมาย
นิเทศศาสตร์ (Communication) หรือหลายๆสถาบันการศึกษาอาจอยู่ในชื่อสาขาวิชาด้าน
วารสารศาสตร์ หรือ การสื่อสาร หรือ สื่อสารมวลชน เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการ
สื่อสาร โดยให้ความสาคัญกับการสื่อสาร ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ
และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหา
สาระที่ผู้ส่งต้องการให้ประชาชนรับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการกระจายข่าวสาร
ต่างๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง เช่นผ่าน การพูด
แบบเห็นหน้า ผ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ หรือสื่ออินเทรนด์ในปัจจุบัน
อย่างอินเทอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ การจัดกิจกรรม สื่อมัลติมีเดีย และผู้รับสาร หรือกลุ่ม
6
ป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการทาให้ข่าวสารที่ส่งไป
ถึงผู้รับสารได้มากที่สุดครับ
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วประเทศไทย มีการเปิดการเรียนการสอนด้านนิเทศศาสตร์ มากมาย
หลากหลายสาขาวิชา ซึ่งในปัจจุบันเพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ผู้ที่เรียนจบ
ด้านนิเทศศาสตร์สามารถทางานได้กว้างขวางมากมาย ทั้งการประชาสัมพันธ์ โฆษณา การตลาด
และทางานในองค์กรสื่อแขนงต่างๆ ทั้งนี้สาขาที่ยังเป็นที่ได้รับความนิยมอยู่ ได้แก่
· สาขาวิชาประชาสัมพันธ์ (Public Relations) สาหรับน้องที่ชอบพบปะผู้คน ชอบงานบริการ
ชอบวางแผนและจัดกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับหน่วยงาน
อนาคตก็ไปเป็นนักประชาสัมพันธ์ ตามองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัทห้างร้าน
ต่างๆ องค์กรการกุศล หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ โรงแรม
· สาขาวารสารศาสตร์ (Journalism) เหมาสาหรับน้องที่ชอบงานท้าทาย ชอบคิด ชอบเขียน
ชอบอ่าน มีอุดมการณ์ต่อสู้เพื่อความถูกต้อง ฯลฯ จบไปเป็นผู้สื่อข่าวทั้งหนังสือพิมพ์และ
นิตยสาร นักเขียนหรือคอลัมนิสต์อิสระ นักออกแบบจัดหน้าสิ่งพิมพ์
· สาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Broadcasting) สนใจจะถ่ายทอดข่าวสารผ่านสื่อ
วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ ก็สามารถทางานเป็น นักข่าว ผู้ประกาศ
ข่าว นักเขียนบทสารคดี ดูแลเนื้อหาหรือข่าวสารที่ส่งผ่านสื่อวิทยุหรือโทรทัศน์ และข่าว
ออนไลน์
· สาขาการโฆษณา (Advertising) สาหรับน้องที่ชอบทางานท้าทาย มีความคิดที่แปลกใหม่ ไม่ซ้า
แบบใคร มีศิลปะในหัวใจ เข้าใจกลไกทางสังคมและตลาด มีความสามารถทางภาษาอย่าง
สร้างสรรค์ งานคลีเอทีฟความคิดสร้างสรรค์ ไอเดียล้า คือเป้าหมายของสาขานี้
· สาขาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Communication) เหมาะกับน้องที่สนใจการตลาด
เข้าใจงานโฆษณา ชอบพบปะผู้คน ชอบงานวางแผน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการ
ประสานงานกับบุคคลหลากหลายอาชีพ จบแล้วสามารถทางานด้านบริหารงานลูกค้า ฝ่าย
วางแผนสื่อโฆษณา
7
· สาขาการแสดงและกากับการแสดง (Acting/Directing) สาหรับน้องที่ชอบการแสดงออกอย่าง
สร้างสรรค์ อาทิ แสดง ร้องเพลง เต้นรา กากับ ออกแบบเสื้อผ้า และฉาก เป็นต้น
· สาขาการเขียนบท (Script Writing) เหมาะกับน้องที่ชอบการเขียน มีจินตนาการและชอบ
เสนอความคิดสร้างสรรค์ ถ่ายทอดผ่านงานละครเวที ละครทีวี ภาพยนตร์ สามารถประกอบ
อาชีพทั้งงานแสดง และงานเบื่องหลัง เช่น นักแสดง กากับการแสดง ผู้เขียนบท ผู้กากับเวที
ธุรกิจกองถ่าย ฝ่ายเสื้อผ้าและฉาก เป็นต้น
· สาขาภาพยนตร์ (Film) สาหรับน้องที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับภาพยนตร์ สนใจศึกษากระบวนการ
จัดทา การผลิต การดาเนินงานธุรกิจภาพยนตร์ และวิพากษ์วิจารณ์ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มี
เอกลักษณ์และคุณภาพ จบแล้วสามารถทางานผู้กากับภาพยนตร์ ผู้กากับศิลป์ ถ่ายภาพ ตัดต่อ
เทคนิคพิเศษต่างๆ ผู้อานวยการสร้าง ผู้ประสานงาน และนักเขียนนักวิจารณ์ภาพยนตร์ ฯลฯ
· สาขาการสื่อสารการตลาดและสื่อสารแบรนด์ (Marketing/Brand Communication)สาหรับ
น้องๆ ที่รู้ตัวว่าเป็นคนมีความรับผิดชอบ มีความสามารถในการปรับตัว ให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมได้สูง มีความสามารถในการบริหารตัวเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเจรจา
ต่อรอง มีความเป็นผู้นา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี จบแล้วสามารถทางานในด้านการจัดกิจกรรมด้าน
การสื่อสารแบรนด์ นักออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ นักสื่อสารการตลาด นักวางแผนการตลาด
นักวางแผน รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาขององค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน
· สาขาการสื่อสารอื่นๆในเชิงประยุกต์ ให้เข้ากับงานที่ทา เช่น การสื่อสารการเกษตร เพื่อทางาน
เป็นนักข่าวสายการเกษตร การสื่อสารการกีฬา เพื่อทางานในวงการกีฬา การสื่อสารเพื่อการ
พัฒนา สังคม ชุมชน และนโยบายเพื่อพัฒนาประเทศ เป็นต้น
8
การตลาดอิเล็กทรอนิกส์
เป็นการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ เป็น
เครื่องมือในการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดกับกลุ่มเป้าหมาย เป็นกิจกรรมที่เป็นการสื่อสาร 2
ทาง และเป็นกิจกรรมที่นักการตลาดสามารถติดต่อกับผู้บริโภคได้ทั่วโลกและตลอดเวลาครับ
ใครที่เรียนการตลาดในรูปแบบนี้ จะได้คุ้นเคยกับอินเทอร์เน็ต E-mail และ Web board รวมถึง
Facebook และสื่อสังคมอื่นๆเพื่อเข้าถึงผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยทั้งรัฐและเอกชนเกือบทุกแห่งจะเปิดสอนสาขาวิชาการตลาดอยู่ในคณะ
บริหารธุรกิจ หรือคณะวิทยาการจัดการ หรือคณะพาณิชศาสตร์และการบัญชี (แล้วแต่ชื่อเรียกที่
ต่างกันไป) ซึ่งเป็นหนึ่งสาขาอาชีพที่หางานทาได้ง่ายในปัจจุบัน ผู้ที่เรียนจบสาขาการตลาดหรือ
การตลาดออนไลน์ไป สามารถประกอบอาชีพได้ ดังนี้
1. นักธุรกิจ หรือ ประกอบอาชีพส่วนตัว
2. ผู้จัดการฝ่ายการตลาดในองค์กร
3. ฝ่ายวิจัยตลาดผู้บริโภค
4. ฝ่ายวางแผน วิจัยและพัฒนา
5. ฝ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์
6. นักการตลาดขายสินค้าออนไลน์
7. งานธุรการ
8. งานลูกค้าสัมพันธ์ งานขาย
9. พนักงานธนาคาร
10. ฝ่ายบุคคล
11. ฝ่ายพัฒนาตราสินค้าและแบรนด์
12. ศึกษาต่อในระดับสูง ด้านบริหารธุรกิจ หรือ เศรษฐศาสตร์ หรือสังคมศาสตร์ เป็นต้น
9
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เป็นอีกหนึ่งสาขาที่นับวันยิ่งมีความสาคัญต่อการทางานมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่สนใจการทางาน
ในด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร ในองค์กรธุรกิจ ซึ่งธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ
คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทาให้ผู้ที่จบสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สามารถเติบโตได้หลากหลายแนวทาง ตามความสามารถ ความถนัด และความชอบของแต่ละ
คน อาชีพหลักๆที่ทาได้ เช่น การขายสินค้าผ่านอินเตอร์เน็ต การเขียนโปรแกรม การสร้างสื่อ
สังคม เช่นเพจเฟสบุ๊คไว้ขายสินค้า ฯลฯ การเรียนสาขาคอมพิวเตอร์จึงมีโอกาสทางาน สร้าง
รายได้ หรือเป็นเจ้าของกิจการได้ง่ายครับ
รายวิชาที่ต้องเรียนในระดับปริญญาตรี เช่น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีเว็บและโครงข่าย
อินเทอร์เน็ต การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายทางธุรกิจ การออกแบบฐานข้อมูล หลักการ
โปรแกรมเว็บ การออกแบบเว็บไซต์ E-Commerce และ การพัฒนาซอฟต์แวร์ เป็นต้น
สาหรับมหาวิทยาลัยที่มีสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เปิดสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยที่มีคณะด้าน
บริหารธุรกิจ วิทยาการจัดการ หรือ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี ซึ่งมีเปิดสอนทั้งมหาวิทยาลัย
รัฐ สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยเอกชนครับ (ตรวจสอบสาขาวิชาที่สนใจ ยังเว็บไซต์ของ
มหาวิทยาลัยที่ตนเองสนใจได้เลย)
อาชีพในอนาคตของผู้ที่เรียนด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
1. เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์
2. พนักงานรัฐและเอกชน
3. เจ้าของกิจการร้านขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
4. เจ้าของกิจการร้านขายคอมพิวเตอร์
5. เจ้าของกิจการร้านคอมพิวเตอร์
6. เจ้าของกิจการออนไลน์
7. ผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์
8. เจ้าของเว็บไซต์
10
9. โปรแกรมเมอร์
10. เว็บมาสเตอร์
11. ธุรกิจส่วนตัวและงานด้านอื่น ๆ
12. ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ในสายบริหารธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือสังคมศาสตร์ที่
เกี่ยวข้อง
วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
เป็นสาขาที่เกี่ยวกับการศึกษาการคานวณสาหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผล
สารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้น
ประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ครับ วิทยาการคอมพิวเตอร์จะเน้นทฤษฏี
และหลักการ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ผสมผสานระหว่าง ศาสตร์
ด้านไฟฟ้าอีเล็กทรอนิกส์ คณิตศาสตร์หลายแขนง เช่น ตรรกศาสตร์ สถิติ เรขาคณิต รวมเทคนิค
หรืออัลกอริธึมในการเขียนโปรแกรม และภาษาทางคอมพิวเตอร์ต่างๆได้แก่ ภาษาC ภาษา
JAVA ภาษาPHP และภาษาSQL เป็นต้น
วิทยาการคอมพิวเตอร์ต่างกับเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร ที่จริงแล้วสองสาขานี้มี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากครับ โดยวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นถือกาเนิดมาก่อนเทคโนโลยี
สารสนเทศ และจะเน้นด้านทฤษฏีเป็นหลัก โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับโครงสร้างของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ หลักการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ การผลิตซอฟต์แวร์ที่มีขนาดใหญ่ให้มี
ประสิทธิภาพ จุดเด่นของวิทยาการคอมพิวเตอร์คือ เน้นศึกษาวิธีการทาให้คอมพิวเตอร์มี
สมรรถนะที่สูงขึ้น และศึกษาวิธีการผลิตซอฟต์แวร์ ที่มีคุณภาพเพื่อใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เกิด
ประโยชน์สูงที่สุด
11
สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) นั้นจะเน้นการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ ไม่
ว่าจะเป็นงานด้านธุรกิจ งานด้านการสื่อสาร งานในสายการผลิต งานด้านบริการ เป็นต้นครับ
เรียนวิทยาการคอมพิวเตอร์จบแล้วสามารถประกอบอาชีพอะไรได้บ้าง ?
นักศึกษาที่จบด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถทางานได้ทั้งด้านเทคนิคและด้านการบริหาร
จัดการ ดังนี้
1. งานด้านเทคนิคหรืองานผู้เชี่ยวชาญ
- ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ในบริษัทหรือองค์กรต่างๆ
- ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์และบารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์
- ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์หรือโปรแกรมระบบงาน หรือที่เรียกว่า "โปรแกรมเมอร์"
- ผู้ออกแบบสร้างและบารุงรักษาระบบฐานข้อมูลซึ่งเป็นระบบสารสนเทศพื้นฐานในทุกองค์กร
- ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- ผู้ออกแบบและโปรแกรมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ
- ผู้ออกแบบและโปรแกรมระบบกราฟิกหรืออะนิเมชั่น
2. งานด้านการจัดการหรืองานให้คาปรึกษา
- ผู้ประสานงานในโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์
- ผู้จัดการแผนกส่วนหรือฝ่ายคอมพิวเตอร์หรือฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์การ
- ผู้ให้คาปรึกษาด้านระบบคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศแก่องค์กรต่างๆ
3. ธุรกิจส่วนตัว
- เจ้าของบริษัทรับซ่อมคอมพิวเตอร์
- ผู้ผลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
- ผู้ขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
4. ศึกษาต่อระดับสูง
- ปริญญาโททาง วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี
สารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ บริหารธุรกิจ หรือสาขาใกล้เคียง
เป็นอย่างไรกันบ้างครับกับสาขาในโลกไซเบอร์อีกสาขาที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ถ้าชาว
eduzones คนไหนสนใจแล้วหละก็ ลองเข้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยที่ตนเองสนใจดูได้นะครับ
12
เพราะสาขาวิชานี้มีเปิดอยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ หรือคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือบาง
มหาวิทยาลัยอาจจะอยู่ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชนทั่วประเทศครับ
ขอให้ทุกคนโชคดี Admission ได้ทุกคนเลย
คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน
คือสาขาที่ผลิตนักสร ้างภาพเคลื่อนไหวด ้วยคอมพิวเตอร์โดยอาศัยเครื่องมือ ที่สร ้างจากแนวคิด
ทางคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ช่วยในการสร ้าง ดัดแปลง และให ้แสงและเงาเฟรมตลอดจนการ
ประมวลผลการเคลื่อนที่ต่าง ๆ โดยเครื่องมือที่ว่าประกอบด ้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ที่สร ้างขึ้น
จาก ระเบียบวิธี ขั้นตอนวิธี หลักการ กฎ หรือ การคานวณต่าง ๆ
ตั้งแต่ช่วงปีค.ศ. 1970 เป็นต ้นมาถึงปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คณิตศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์เข ้ามาช่วยในการสร ้างภาพเคลื่อนไหว เป็นวิธีที่สามารถสร ้างภาพที่สมจริงขึ้น
ซับซ ้อนขึ้น หรือ ต ้นทุนต่ากว่าการสร ้างภาพด ้วยมือ เช่น ในภาพยนตร์การ์ตูน หรือหนัง
ภาพยนตร์อย่าง สตาร์วอร์ หรือจูราสติกพาร์ก มีการใช ้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ช่วยสร ้างภาพที่อยู่
ในจินตการของคนเรานั้น ออกมาให ้เห็นได ้อย่างสวยงามและสมจริง นอกเหนือจากนั้นประโยชน์
ของ การสร้างภาพเคลื่อนไหวด ้วยคอมพิวเตอร์ มีทั้งใน การจาลองทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์
การจราจรคมนาคมการบิน สถาปัตยกรรม การวิจัยดาเนินงาน เกมคอมพิวเตอร์ เป็นต ้นครับ
คอมพิวเตอร์เกมมัลติมีเดีย (Computer Game Multimedia) คือสาขาที่ผลิตผสมผสานทั้ง
ศาสตร์และศิลป์ หลากหลายแขนงได ้ครอบคลุมทั้ง วิทยาการคมพิวเตอร์ นิเทศศาสตร์ นิเทศ
ศิลป์ ศิลปะ การออกแบบ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ทั้งนี้ภาคอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อความบันเทิงในประเทศไทยและในระดับโลกนั้นเติบโตและสร ้างมูลค่าการค ้าอย่างสูงใน
ลักษณะก ้าวกระโดด โดยที่ผู้คนทั่วไปไม่สามารถปฏิเสธการบริโภคสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อความบันเทิงประเภทเกมได ้เลย คือกล่าวอย่างง่ายๆว่า “ใครๆก็เล่นคอมพิวเตอร์เกมและ
ใครๆก็ดาวน์โหลดเกม” ครับ
คณะสาขาและมหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปิดสอน เช่น
- คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต
- คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร
- วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร
- คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง
- วิทยาลัยสื่อ ศิลปะ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- คณะเทคโนโลยีมีเดียและศิลป์ ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าธนบุรี
- วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล
- สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
13
- คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม
- คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค ้าไทย
- คณะอุตสาหกรรมสร ้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์
เป็นต ้น
ออกแบบนิเทศศิลป์
คือการเรียนพื้นฐานด้านหลักการออกแบบทั่วไป ทฤษฎีต่างๆ รวมถึงพื้นฐานด้านการปฏิบัติการ
ออกแบบ สิ่งที่สาคัญในการเรียนการสอนก็คือ การสร้างนักศึกษาที่มีความสามารถด้านศิลปะที่
นอกจากจะมีความสามารถด้านการวิเคราะห์ที่จาเป็นหรือการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆแล้ว ยัง
สามารถเข้าถึงซอร์ฟแวร์คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่เพื่อสื่อสารความคิด ภาพ และข้อความสู่
กลุ่มเป้าหมายได้ นอกจากนั้น นักศึกษายังจะได้รับประสบการณ์จากการปฏิบัติจริงโดยการเข้า
ไปมีส่วนร่วมในสังคมของมืออาชีพที่ทางานและก้าวไปพร้อมกับสังคม เทคโนโลยี และ
วัฒนธรรมในปัจจุบันครับ
การเรียนในสาขานี้ช่วง 2 ปีแรกจะเป็นไปในลักษณะการพื้นฐานเรียนด้านทักษะการวาด
Drawing วาดวัตถุสิ่งของใกล้ตัวไปจนถึงกายวิภาค จิตรกรรมขั้นพื้นฐาน ซึ่งต้องเรียนด้านการ
ออกแบบด้วยมือ และการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ และในปี 3-4 จะมีการเรียนเจาะลึกมาก
ขึ้น เช่น วิชาแอนิเมชั่น โฆษณา ออกแบบตัวอักษรขั้นสูง การออกแบบประเภทต่าง เช่น ปก
หนังสือ โปสเตอร์ แผ่นพับ การเขียน Story Board การใช้สีให้เหมาะสมกับงาน เป็นต้น
และในหลากหลายมหาวิทยาลัยก็จะมีชื่อเรียกที่ต่างกัน และอยู่ในคณะที่ต่างกัน เช่น
- นิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
- เอกเรขศิลป์ ภาควิชานฤมิตศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบสื่อสาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ
- นิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
- นิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
14
- ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- การออกแบบนิเทศศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล
- คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
- สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นต้น
สาขาอาชีพหลังสาเร็จการศึกษา เช่น
- นักออกแบบกราฟิก
- นักออกแบบโฆษณา
- นักออกแบบงานอินเตอร์แอคทิฟ
- นักออกแบบตัวอักษร
- นักออกแบบบรรจุภัณฑ์
- ช่างภาพ
- แอนิเมเตอร์
- สไตลิสต์
- การจัดนิทรรศการ
- การออกแบบตกแต่งภายในหรืองานสถาปัตยกรรม
- งานออกแบบหรืองานศิลปะ
- งานเชิงตอบโต้ด้านมัลติมีเดีย และงานผลิตเว็บไซต์
- ประกอบอาชีพส่วนตัว
- ศึกษาต่อในระดับสูงในด้าน นิเทศศิลป์ นิเทศศาสตร์ คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เป็นต้น
เป็นอย่างไรกันบ้างครับกับสาขาอาชีพสดใสอาชีพที่ 8 ที่เหมาะกับผู้ที่ชอบการออกแบบเป็น
อย่างมากเลย ใครสนใจสาขาอาชีพนี้แล้วหละก็ ลองเข้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยที่ตนเองสนใจไปดู
หลักสูตรกันได้เลยจ้า ขอให้ทุกคนโชคดีครับ
15
คอมพิวเตอร์อาร์ต
เป็นสาขาที่มีการเรียนการสอนด ้านการใช ้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออกแบบ สร ้างสรรค์
ทางความคิด มุ่งเน้นการฝึกทักษะปฏิบัติในการใช ้คอมพิวเตอร์ และการปรับพื้นความรู้ทาง
ศิลปะ โดยแบ่งออกเป็น 3 หลักสูตรคือ 2D Animation, 3D Animation และ Broadcast
Design เป็นสาขาวิชาที่มีประโยชน์และความจาเป็นอย่างยิ่งต่อวงการศึกษา วงการอุตสาหกรรม
ภาพยนตร์และวงการแอนิเมชัน ด ้วยงานอุตสาหกรรมบันเทิง ทีวีดิจิทัล ในปัจจุบันมีการใช ้
คอมพิวเตอร์ช่วยสร ้างสรรค์ผลงานให ้สวยงาม คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องมือที่สาคัญอย่างยิ่งใน
การแสดงความคิดสร ้างสรรค์ของนักออกแบบ ไม่ว่าจะเป็นผลงานออกแบบตัวละคร งาน
แอนิเมชัน 2 และ 3 มิติ ตลอดจนงานเทคนิคพิเศษในภาพยนตร์ครับ
รายวิชาที่ผู้เรียนคอมพิวเตอร์อาร์ต จะต ้องเรียน ได ้แก่ การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ ศิลปะ
สร ้างสรรค์ด ้วยคอมพิวเตอร์ ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ และ 3 มิติ จิตรกรรมดิจิทัล การออกแบบตัว
ละคร การแสดงท่าทางสาหรับนักสร ้างภาพเคลื่อนไหว ทฤษฎีและการผลิตภาพยนตร์ จิตรกรรม
เบื้องต ้น เป็นต ้น
วิชวลเอฟเฟค (Visual Effects) คือการทางานร่วมกันระหว่างการสร้างภาพสามมิติด ้วย
คอมพิวเตอร์ (CG หรือ 3D Animation)บวกกับการถ่ายทาภาพยนตร์ในระบบดิจิตอลเพื่อให ้ได ้
ภาพที่มีความสมจริง
โดยในปัจจุบันวิชวลเอฟเฟคมีบทบาทมากในทุกขบวนการผลิตภาพยนตร์ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์
ที่ใช ้นัก แสดงจริงหรือภาพยนตร์แอนนิเมชั่น เช่นการปรับเปรียนสีของภาพเพื่อให ้ได ้อารมส์
ความรู้สึกสอด คล ้องกับบรรยากาศของเรื่องหรือการนาภาพมาทับซ ้อนกัน แล ้วตกแต่งด ้วย
คอมพิวเตอร์เพื่อให ้ผู้ชมเชื่อว่าเหตุการนั้นเกิดขึ้นจริง การที่จะสามารถสร ้างภาพให ้มีความ
สมบูรณ์ในการทางานทางด ้านวิชวลเอฟเฟคนั้นประกอบไปด ้วยขบวนการผลิตจากสี่สายงาน
ดังนี้ 3D Dynamic Simulation, 3D Visual Effects , 3D Digital Compositing และ 3D
Modeling ครับ
รายวิชาที่ผู้เรียนวิชวลเอฟเฟค จะต ้องเรียน ได ้แก่ ภาพถ่ายดิจิทัล วาดเส ้นสิ่งมีชีวิต ทัศนียภาพ
และสัดส่วน ศิลปะร่วมสมัย การสร ้างภาพ 3 มิติและระบบเคลื่อนไหว วิชวลเอฟเฟคไปป์ ไลน์
เทคนิคการซ ้อนภาพ การออกแบบเสียงเพื่องานดิจิทัลอาร์ต การทาแมทช์มูฟวิง วิชวลเอฟเฟค
โปรดักชัน การสร ้างพื้นผิว การจัดแสงและการแสดงภาพ โมชั่นแคปเจอร์ เป็นต ้น
การจัดการธุรกิจไซเบอร์
เป็นสาขาที่มีการเรียนรู้ยุคสมัยใหม่ของการทาธุรกิจที่อยู่ในโลกเสมือน อันได้แก่ เว็บไซต์ สื่อ
สังคมออนไลน์ ซึ่งมีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการค้าขายในปัจจุบัน โดยการจัดการธุรกิจไซ
เบอร์จะมีการเรียนการสอนในทุนด้านขององค์ความรู้ด้านบริหารธุรกิจ ซึ่งประกอบไปด้วย การ
16
จัดการ การตลาดซึ่งเน้นการตลาดออนไลน์ การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ และองค์ความรู้ด้าน
การสื่อสารและการใช้สื่อในการทาธุรกิจ เป็นต้น
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยไทยที่เปิดสอนด้านการจัดการธุรกิจไซเบอร์ โดยเฉพาะ ได้แก่ วิทยาลัย
นวัตกรรมสื่อสารสังคม (Collage of Social Communication Innovation ) มหาวิทยาลัยศรีนค
รินทรวิโรฒ (มศว) โดยเป็นการศึกษาในหลักสูตร 4 ปี โดยมีการใช้คะแนน O-Net ประกอบกับ
ผลการเรียนไม่ต่ากว่า 2.00 ทั้งนี้จุดเด่นของการเรียนการสอนคือ การใช้ภาษาอังกฤษและ
ภาษาไทยเป็นสื่อในการสอนควบคู่กันไป
โดยนักศึกษาจะต้องเรียนในสาขาวิชาที่สาคัญ ได้แก่ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค
การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ การจัดการระบบการขนส่ง การพัฒนาธุรกิจรูปแบบ
ใหม่ นโยบาย เทคโนโลยีและนวัตกรรมธุรกิจ รูปแบบและเทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การ
บริหารความเสี่ยงของระบบข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารทางธุรกิจ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมาย
ธุรกิจสารสนเทศ เป็นต้น
อาชีพหลังสาเร็จการศึกษา
- นักธุรกิจออนไลน์
- พนักงานฝ่ายการตลาด ฝ่ายพัฒนาเว็บไซต์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ทั้งภาครัฐและเอกชน
- สื่อมวลชน
- ประกอบอาชีพส่วนตัว หรือศึกษาต่อในระดับสูงด้าน นิเทศศาสตร์ บริหารธุรกิจ เป็นต้น
เป็นอย่างไรบ้างครับกับสาขา การจัดการธุรกิจไซเบอร์ เป็นอีกหนึ่งสาขาที่มีความสาคัญและ
เหมาะกับวัยรุ่นยุคใหม่เป็นอย่างมากที่ชื่นชอบการทางานหน้าคอมพิวเตอร์ครับ ทางทีมงานก็ขอ
ฝากไว้เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจให้กับชาว eduzones ทุกคนด้วยจ้า
17
บรรณานุกรม
https://blog.eduzones.com/tonsungsook/126802

More Related Content

What's hot

รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์N'Ice Thnaphop
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์nontiya singchua
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อpeter dontoom
 
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์อาย อาย
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์อาย อาย
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์อาย อาย
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

What's hot (20)

รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อสอบปลายภาค5ข้อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
 
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์ความรู้คอมพิวเตอร์
ความรู้คอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 

Similar to สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์

9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียนpatmalya
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Tanat Vijitkomjohn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10Narumon Boonjareun
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6nutty_npk
 
ใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจysmhcnboice
 
ใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจysmhcnboice
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"S'kae Nfc
 
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยโครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยPleawkie Chukyu
 
โครงงานเรื่องกล้วยกล้วย
โครงงานเรื่องกล้วยกล้วยโครงงานเรื่องกล้วยกล้วย
โครงงานเรื่องกล้วยกล้วยPleawkie Chukyu
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์NewTon's Law
 
ตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดินตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดินApisit Sangatid
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558 Duangnapa Inyayot
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมjomuraiporn
 

Similar to สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์ (20)

9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
โครงงานคอมพิวเตอร์ 5.10
 
มิสเขม6
มิสเขม6มิสเขม6
มิสเขม6
 
ใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจ
 
ใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
 
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยโครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
 
โครงงานเรื่องกล้วยกล้วย
โครงงานเรื่องกล้วยกล้วยโครงงานเรื่องกล้วยกล้วย
โครงงานเรื่องกล้วยกล้วย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
ตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดินตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดิน
 
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558  ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน ICT สบป้าดวิทยา ปี 2558
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 

สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์

  • 1. รายงาน เรื่อง... สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์ 2014 จัดทาโดย นายธีรพล กุลวุฒิ เลขที่ 17 ม.5/3 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
  • 2. ก คำนำ รายงานเล่นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จัดทาขึ้นเพื่อให้รู้ถึง10อาชีพที่มีความต้องการ ที่สุด ในโลกของคอมพิวเตอร์ ในปี 2014 ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นสื่อในการ เรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตต่อไป
  • 3. ข สารบัญ เรื่อง...สาขาอาชีพอนาคตสดใสในโลกไซเบอร์ 2014....................................................................................1 จัดทาโดย ...........................................................................................................................................1 นายธีรพล กุลวุฒิ.................................................................................................................................1 เลขที่ 17 ม.5/3.....................................................................................................................................1 เสนอ.................................................................................................................................................1 ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม...........................................................................................................................1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี.........................................................................1 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต8 ...........................................................................................1 อาชีพและงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์..............................................................................................................1 อาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์............................................................................................................................2 วิศวกรรมซอฟต์แวร์......................................................................................................................................3 การจ้างงาน............................................................................................................................................4 เอกภาษาอังกฤษ.........................................................................................................................................4 นิเทศศาสตร์ เรียนการสื่อสารยุคดิจิทัลทางานได้กว้างมากมาย.............................................................................5 การตลาดอิเล็กทรอนิกส์................................................................................................................................8 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ........................................................................................................................................9 วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์...................................................................................... 10 สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) นั้นจะเน้นการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นงานด้านธุรกิจ งาน ด้านการสื่อสาร งานในสายการผลิต งานด้านบริการ เป็นต้นครับ........................................................................ 11 คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน................................................................................................................................ 12 คอมพิวเตอร์เกมมัลติมีเดีย (Computer Game Multimedia).................................................................... 12 ออกแบบนิเทศศิลป์.................................................................................................................................... 13 คอมพิวเตอร์อาร์ต...................................................................................................................................... 15 รายวิชาที่ผู้เรียนคอมพิวเตอร์อาร์ต............................................................................................................ 15
  • 4. ค วิชวลเอฟเฟค (Visual Effects) ............................................................................................................... 15 รายวิชาที่ผู้เรียนวิชวลเอฟเฟค.................................................................................................................. 15 การจัดการธุรกิจไซเบอร์.............................................................................................................................. 15 อาชีพหลังสาเร็จการศึกษา....................................................................................................................... 16
  • 7. 1 อาชีพและงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ความหมายของงานอาชีพคอมพิวเตอร์ งานอาชีพคอมพิวเตอร์ หมายถึงงานบริการด้านคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์ และเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ทั้งระบบฮาร์ดแวร์ (Hard ware) ซอฟต์แวร์ (Soft ware) และพิเพิลแวร์ (People ware) หรือบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ ขอบข่ายของงานอาชีพคอมพิวเตอร์ 1. งานบริการสารสนเทศ (Information Service) เป็นงานบริการทางด้านข้อมูลและ ข้อเท็จจริงด้านต่างๆ เป็นกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ ข่าวสารในทาง การศึกษา อาชีพ สังคม ตลอดจนความรู้ด้านอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ การ วางแผนในการดาเนินธุรกิจศึกษาแนวโน้มของธุรกิจ จึงเกิดงานบริการสนเทศด้านต่าง ๆ อาทิ งานบริการสนเทศทางการศึกษา(Education Information) บริการสนเทศทางอาชีพ (Occupational Information) บริการสนเทศทางด้านบุคคลและสังคม (Personal and Social Information) และที่นิยมใช้บริการกันมากที่สุดในปัจจุบันก็คือการใช้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service) 2. งานบริการด้านฮาร์ดแวร์ เป็นงานบริการที่เกี่ยวข้องกับระบบฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ได้แก่ธุรกิจการค้าด้านวัสดุ-อุปกรณ์และระบบเครื่องคอมพิวเตอร์,การประกอบ คอมพิวเตอร์ การติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์,งานซ่อมบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 3. งานบริการด้านซอฟต์แวร์ เป็นงานบริการทางด้านซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้แก่ การ ติดตั้งโปรแกรม, การเขียนโปรแกรมและการใช้งานโปรแกรมประยุกต์สาหรับงานต่าง ๆ การ สร้างและพัฒนาเว็บ,การบารุงรักษาและแก้ไขปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ รวมทั้งการนา ซอฟต์แวร์ประยุกต์ไปใช้งานการประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น การเขียนแบบ,ออกแบบผลิตภัณฑ์, การตกแต่งภาพถ่าย,งานตัดต่อวีดีโอและภาพยนตร์ งานบริการด้านระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ การ จัดทาโฆษณา โปรแกรมการเรียนรู้ CAI ต่าง ๆ เป็นต้น
  • 8. 2 4. งานบริการเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์หรือ พิเพิลแวร์ เป็นงาน ที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรที่ทางานด้านคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร นักออกแบบและ วิเคราะห์ระบบ ไปจนถึงผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) เป็นงานที่ให้ความรู้และพัฒนาบุคลากร เช่น การจัดอบรมบุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานโปรแกรมประยุกต์ การดูแล แก้ปัญหาและการบารุงรักษาระบบเบื้องต้น การพัฒนาบุคลากรในการสร้างและพัฒนา ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมาใช้งานเองได้ คอมพิวเตอร์กับการสร้างอาชีพ นอกจากการศึกษาเนื้อหาคอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ แล้ว ควรศึกษาหาช่องทางที่จะนา ความรู้ไปประยุกต์ใช้ด้วย เป็นการหารายได้เสริมอีกทางหรือหากคุณมีอาชีพหลักด้าน คอมพิวเตอร์อยู่แล้ว ก็จะได้มีช่องทางในการสร้างรายได้เพิ่มมากขึ้น อาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สามารถนาไปประยุกต์สร้างเป็นอาชีพต่างๆ ได้มากมาย ซึ่งผู้เขียน ขอแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มพนักงาน บริษัทและกลุ่มอาชีพอิสระ พนักงานบริษัทส่วนมากจะเป็นผู้ที่จบมาทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยตรง หรือไม่ก็ศึกษาด้วยตนเองและมีผลงาน ด้านคอมพิวเตอร์มาเสนอ ขณะสมัคร งานด้วย หากเป็นงานที่เกี่ยวกับการวางระบบ การพัฒนาโปรแกรม โอกาสที่จะรับผู้ที่ไม่ได้จบมาโดยตรง จะค่อนข้างน้อยกว่า บางที่ให้ความสาคัญมาก เพราะผู้จบมาโดยตรงย่อมมีพื้นฐานสามารถอบรม เพิ่มเติมได้ไม่ยาก ตาแหน่งงานต่าง ๆ ของกลุ่มพนักงานบริษัท 1. Programmer, Computer Support, นักวิเคราะห์ระบบ นักออกแบบโปรแกรม ตาแหน่งเหล่านี้ จะเน้นรับผู้ที่จบมาโดยตรง 2. Computer Graphic เป็นตาแหน่งที่เน้นรับผู้ที่จบมาด้านศิลปที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมออกแบบกราฟิคได้ด้วย งานนี้อาจมีลุ้นสาหรับบุคคลทั่วๆ ไป ขอเพียงมีผลงานดีๆ นา เสนอบวกกับมีฝีมือดี ก็หางานได้
  • 9. 3 ไม่ยาก 3. ช่างซ่อม-ประกอบเครื่อง ติดตั้งโปรแกรม ด้านนี้เน้นผู้มีประสบการณ์มากกว่า ไม่จาเป็น ต้องจบโดยตรง หรืออาจไม่จาเป็น ต้องมีวุฒิปริญญาด้วยซ้า (ทางร้านจะได้กดค่าแรงได้ต่าๆ หน่อย) 4. อาจารย์สอนคอมพิวเตอร์ตามสถาบันต่างๆ เน้นผู้ที่จบด้านการสอนและมีความสามารถด้าน คอมพิวเตอร์ เพราะสามารถ ฝึกหัดได้ง่าย แนวนี้ถ้าคุณจบปริญญาตรีขึ้นไป สาขาไหนๆ ก็ตาม ขอเพียงมีความสามารถด้าน การสอนและคอมพิวเตอร์ อาชีพอิสระ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือ การประยุกต์ใช้ระบบ กฎเกณฑ์ การเข้าถึงซึ่งสามารถวัดประเมิน ได้ในการพัฒนา การปฏิบัติการ และการบารุงรักษาซอฟต์แวร์ และในการศึกษาสิ่งเหล่านี้ ก็คือ การประยุกต์ใช้งานทางด้านวิศวกรรมมาจัดการกับซอฟต์แวร์ มหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปิด สอนหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นแห่งแรก คือ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ข้อตกลงทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ปรากฏขึ้นครั้งแรกในการประชุมวิศวกรรมซอฟต์แวร์ นาโต ที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 1968 และได้ให้ความสาคัญกับเหตุการณ์ "วิกฤติการณ์ซอฟต์แวร์" ในขณะนั้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ได้กลายมาเป็นศาสตร์และแขนงของ การศึกษาเฉพาะ ในการสร้างซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น มีราคาถูกลงเป็นที่ยอมรับได้ ดูแล รักษาได้ง่าย และพัฒนาได้อย่างรวดเร็วขึ้น ตั้งแต่นั้นก็ยังคงมีการเปรียบเทียบวิศวกรรม ซอฟต์แวร์กับวิศวกรรมแขนงอื่น ยังคงมีการถกเถียงกันว่าวิศวกรรมซอฟต์แวร์ที่แท้จริงคืออะไร และวิศวกรรมซอฟต์แวร์สมควรเป็นหนึ่งในสาขาวิศวกรรมหรือไม่ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ได้ ขยายวงกว้างอย่างไร้ขีดจากัดไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เช่น โปรแกรมเมอร์ การ พัฒนาซอฟต์แวร์ในบางครั้งข้อตกลงอาจขึ้นอยู่กับผู้ที่มีส่วนสาคัญในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการสร้างซอฟต์แวร์ แต่กระนั้นวิศวกรรมซอฟต์แวร์ก็ยังเป็นที่ ใฝ่ฝันของวัยรุ่นในการประกอบอาชีพ ในนิตยสาร Money Magazine ได้กล่าวว่า อาชีพในแขนง
  • 10. 4 วิศวกรรมซอฟต์แวร์มีแนวโน้มอนาคตที่สดใส[1] และในเว็บไซต์ Salary.com ได้กล่าวว่าอัตรา เงินเดือนในอาชีพวิศวกรรมซอฟต์แวร์มีอัตราสูงที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 2006 การจ้างงาน ในปี 2004 ในสหรัฐอเมริกา สานักแรงงานสถิติ นับ 760840 ซอฟต์แวร์วิศวกร ถืองานใน สหรัฐอเมริกา; ในช่วงเวลาเดียวกันมีบาง 1.4 ล้านประกอบทางานในสหรัฐอเมริกาในอื่น ๆ ทั้งหมดรวมวิศวกรรมฝึกหัด เนื่องจากความญาติเป็นความแปลกฟิลด์การศึกษาทางการศึกษาใน วิศวกรรมซอฟต์แวร์ นั้นมักจะสอนเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และเป็นผล มากที่สุดซอฟต์แวร์วิศวกรถือด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์องศา ส่วนใหญ่ ซอฟต์แวร์วิศวกร ทางานเป็นพนักงานหรือผู้รับเหมา วิศวกรซอฟต์แวร์ที่ ทางานร่วมกับธุรกิจหน่วยงานราชการ (พลเรือนหรือทหาร) และองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร บางซอฟต์แวร์วิศวกรสามารถทางานด้วยตนเองได้ บางองค์กรมีผู้เชี่ยวชาญแต่ละดาเนินงาน ใน กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์องค์กรอื่น ๆ ต้องทาวิศวกรซอฟต์แวร์จานวนมากหรือทั้งหมด ของพวกเขา มากในโครงการคนอาจชานาญในเดียวบทบาท โครงการขนาดเล็กคนอาจกรอก หลายหรือทั้งหมดบทบาทในเวลาเดียวกัน Specializations ประกอบด้วย: ในอุตสาหกรรม (นักวิเคราะห์ สถาปนิก นักพัฒนา ทดสอบ การสนับสนุนทางเทคนิค ผู้จัดการ) และในด้าน วิชาการ (นักวิชาการศึกษา นักวิจัย) มีความถกเถียงในอนาคตโอกาสการจ้างงานสาหรับวิศวกรและซอฟต์แวร์อื่น ๆ ไอที ผู้เชี่ยวชาญด้าน ตัวอย่างเช่นออนไลน์ล่วงหน้าตลาดที่เรียกว่า "อนาคตของ ITJOBS ไอทีงานใน อเมริกา" พยายามตอบว่าจะมีเพิ่มเติมไอทีงานรวมทั้งซอฟต์แวร์วิศวกรในกว่า 2012 มีใน ค.ศ. 2002 เอกภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ (English) ถือได้ว่าเป็นภาษาสากลที่มีคนใช้มากที่สุดในโลก เป็นภาษาที่มีอิทธิพล ในทุกๆด้านทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม คนที่รู้ภาษาอังกฤษในปัจจุบันย่อมได้เปรียบ ครับ สาหรับการศึกษาเอกภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัย ได้รับความนิยมแพร่หลายมานานแล้ว เพราะความสาคัญในการนาไปประกอบอาชีพได้หลากหลายมากมาย รวมถึงในโลกไซเบอร์ สื่อ
  • 11. 5 สังคมออนไลน์ ที่มีข้อมูลและทรัพยากรภาษาอังกฤษมากมาย ผู้ที่รู้ภาษาอังกฤษย่อมได้เปรียบใน การทางาน สาหรับผู้ที่ต้องการเรียนต่อด้านภาษาอังกฤษนั้น มีมหาวิทยาลัยไทยได้เปิดหลักสูตรการเรียน การสอนด้านนี้มายาวนาน ทั้งมีชื่อเรียกที่หลากหลาย ได้แก่ เอกภาษาอังกฤษ ในคณะอักษร ศาสตร์ หรือ คณะมนุษยศาสตร์ หรือ คณะศิลปศาสตร์ ล้วนมีการเปิดการเรียนการสอนด้าน ภาษาต่างๆ รวมทั้งภาษาอังกฤษ ผู้ที่สนใจสามารถเข้าเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเพื่อศึกษาข้อมูล เพิ่มเติมได้เป็นอย่างดี โดยทั่วไปแล้ว ถ้าน้องๆเลือกคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น้องๆที่สอบเข้าได้คณะเหล่านี้ จะได้เลือกเรียน สาขาวิชาเอกภายในปีที่ 2 ซึ่งจะได้เลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับผลการเรียน ในปี 1 และปี 2 ครับ ซึ่งเป็นสาขาที่ได้รับความนิยมและมีการแข่งขันกันพอสมควรในคณะ นอกจากนี้ทางคณะจะพิจารณาวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานทุกๆวิชา ทั้งในปี 1 และปี 2 เทอมต้น เพื่อพิจารณาเลือกวิชาเอกให้กับเราด้วย ถ้าน้องๆคะแนนดีอยู่แล้วก็ไม่ต้องห่วงจ้า ส่วน มหาวิทยาลัยอื่นๆเช่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยรัฐและ เอกชนอีกหลายแห่งเราสามารถเลือกสมัครเข้าศึกษาได้ตอน Admission นิเทศศาสตร์ เรียนการสื่อสารยุคดิจิทัลทางานได้กว้างมากมาย นิเทศศาสตร์ (Communication) หรือหลายๆสถาบันการศึกษาอาจอยู่ในชื่อสาขาวิชาด้าน วารสารศาสตร์ หรือ การสื่อสาร หรือ สื่อสารมวลชน เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการ สื่อสาร โดยให้ความสาคัญกับการสื่อสาร ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญได้แก่ ผู้ส่งสาร สาร สื่อ และผู้รับสาร ซึ่งผู้ส่งสารอาจเป็นตัวบุคคล องค์กร หรือบริษัทก็ได้ ข่าวสารจะต้องเป็นเนื้อหา สาระที่ผู้ส่งต้องการให้ประชาชนรับทราบ สื่อหรือช่องทาง เป็นการหาวิธีการกระจายข่าวสาร ต่างๆ ไปสู่กลุ่มเป้าหมายให้ได้มาก และกว้างไกล ตามวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง เช่นผ่าน การพูด แบบเห็นหน้า ผ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ หรือสื่ออินเทรนด์ในปัจจุบัน อย่างอินเทอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ การจัดกิจกรรม สื่อมัลติมีเดีย และผู้รับสาร หรือกลุ่ม
  • 12. 6 ป้าหมาย จะต้องสามารถรับข่าวสารนั้นได้ โดยผู้ส่งสารจะต้องหาวิธีการทาให้ข่าวสารที่ส่งไป ถึงผู้รับสารได้มากที่สุดครับ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วประเทศไทย มีการเปิดการเรียนการสอนด้านนิเทศศาสตร์ มากมาย หลากหลายสาขาวิชา ซึ่งในปัจจุบันเพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ผู้ที่เรียนจบ ด้านนิเทศศาสตร์สามารถทางานได้กว้างขวางมากมาย ทั้งการประชาสัมพันธ์ โฆษณา การตลาด และทางานในองค์กรสื่อแขนงต่างๆ ทั้งนี้สาขาที่ยังเป็นที่ได้รับความนิยมอยู่ ได้แก่ · สาขาวิชาประชาสัมพันธ์ (Public Relations) สาหรับน้องที่ชอบพบปะผู้คน ชอบงานบริการ ชอบวางแผนและจัดกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับหน่วยงาน อนาคตก็ไปเป็นนักประชาสัมพันธ์ ตามองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น บริษัทห้างร้าน ต่างๆ องค์กรการกุศล หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ โรงแรม · สาขาวารสารศาสตร์ (Journalism) เหมาสาหรับน้องที่ชอบงานท้าทาย ชอบคิด ชอบเขียน ชอบอ่าน มีอุดมการณ์ต่อสู้เพื่อความถูกต้อง ฯลฯ จบไปเป็นผู้สื่อข่าวทั้งหนังสือพิมพ์และ นิตยสาร นักเขียนหรือคอลัมนิสต์อิสระ นักออกแบบจัดหน้าสิ่งพิมพ์ · สาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Broadcasting) สนใจจะถ่ายทอดข่าวสารผ่านสื่อ วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ ก็สามารถทางานเป็น นักข่าว ผู้ประกาศ ข่าว นักเขียนบทสารคดี ดูแลเนื้อหาหรือข่าวสารที่ส่งผ่านสื่อวิทยุหรือโทรทัศน์ และข่าว ออนไลน์ · สาขาการโฆษณา (Advertising) สาหรับน้องที่ชอบทางานท้าทาย มีความคิดที่แปลกใหม่ ไม่ซ้า แบบใคร มีศิลปะในหัวใจ เข้าใจกลไกทางสังคมและตลาด มีความสามารถทางภาษาอย่าง สร้างสรรค์ งานคลีเอทีฟความคิดสร้างสรรค์ ไอเดียล้า คือเป้าหมายของสาขานี้ · สาขาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Communication) เหมาะกับน้องที่สนใจการตลาด เข้าใจงานโฆษณา ชอบพบปะผู้คน ชอบงานวางแผน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการ ประสานงานกับบุคคลหลากหลายอาชีพ จบแล้วสามารถทางานด้านบริหารงานลูกค้า ฝ่าย วางแผนสื่อโฆษณา
  • 13. 7 · สาขาการแสดงและกากับการแสดง (Acting/Directing) สาหรับน้องที่ชอบการแสดงออกอย่าง สร้างสรรค์ อาทิ แสดง ร้องเพลง เต้นรา กากับ ออกแบบเสื้อผ้า และฉาก เป็นต้น · สาขาการเขียนบท (Script Writing) เหมาะกับน้องที่ชอบการเขียน มีจินตนาการและชอบ เสนอความคิดสร้างสรรค์ ถ่ายทอดผ่านงานละครเวที ละครทีวี ภาพยนตร์ สามารถประกอบ อาชีพทั้งงานแสดง และงานเบื่องหลัง เช่น นักแสดง กากับการแสดง ผู้เขียนบท ผู้กากับเวที ธุรกิจกองถ่าย ฝ่ายเสื้อผ้าและฉาก เป็นต้น · สาขาภาพยนตร์ (Film) สาหรับน้องที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับภาพยนตร์ สนใจศึกษากระบวนการ จัดทา การผลิต การดาเนินงานธุรกิจภาพยนตร์ และวิพากษ์วิจารณ์ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มี เอกลักษณ์และคุณภาพ จบแล้วสามารถทางานผู้กากับภาพยนตร์ ผู้กากับศิลป์ ถ่ายภาพ ตัดต่อ เทคนิคพิเศษต่างๆ ผู้อานวยการสร้าง ผู้ประสานงาน และนักเขียนนักวิจารณ์ภาพยนตร์ ฯลฯ · สาขาการสื่อสารการตลาดและสื่อสารแบรนด์ (Marketing/Brand Communication)สาหรับ น้องๆ ที่รู้ตัวว่าเป็นคนมีความรับผิดชอบ มีความสามารถในการปรับตัว ให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมได้สูง มีความสามารถในการบริหารตัวเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเจรจา ต่อรอง มีความเป็นผู้นา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี จบแล้วสามารถทางานในด้านการจัดกิจกรรมด้าน การสื่อสารแบรนด์ นักออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ นักสื่อสารการตลาด นักวางแผนการตลาด นักวางแผน รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาขององค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน · สาขาการสื่อสารอื่นๆในเชิงประยุกต์ ให้เข้ากับงานที่ทา เช่น การสื่อสารการเกษตร เพื่อทางาน เป็นนักข่าวสายการเกษตร การสื่อสารการกีฬา เพื่อทางานในวงการกีฬา การสื่อสารเพื่อการ พัฒนา สังคม ชุมชน และนโยบายเพื่อพัฒนาประเทศ เป็นต้น
  • 14. 8 การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ เป็น เครื่องมือในการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดกับกลุ่มเป้าหมาย เป็นกิจกรรมที่เป็นการสื่อสาร 2 ทาง และเป็นกิจกรรมที่นักการตลาดสามารถติดต่อกับผู้บริโภคได้ทั่วโลกและตลอดเวลาครับ ใครที่เรียนการตลาดในรูปแบบนี้ จะได้คุ้นเคยกับอินเทอร์เน็ต E-mail และ Web board รวมถึง Facebook และสื่อสังคมอื่นๆเพื่อเข้าถึงผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยทั้งรัฐและเอกชนเกือบทุกแห่งจะเปิดสอนสาขาวิชาการตลาดอยู่ในคณะ บริหารธุรกิจ หรือคณะวิทยาการจัดการ หรือคณะพาณิชศาสตร์และการบัญชี (แล้วแต่ชื่อเรียกที่ ต่างกันไป) ซึ่งเป็นหนึ่งสาขาอาชีพที่หางานทาได้ง่ายในปัจจุบัน ผู้ที่เรียนจบสาขาการตลาดหรือ การตลาดออนไลน์ไป สามารถประกอบอาชีพได้ ดังนี้ 1. นักธุรกิจ หรือ ประกอบอาชีพส่วนตัว 2. ผู้จัดการฝ่ายการตลาดในองค์กร 3. ฝ่ายวิจัยตลาดผู้บริโภค 4. ฝ่ายวางแผน วิจัยและพัฒนา 5. ฝ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์ 6. นักการตลาดขายสินค้าออนไลน์ 7. งานธุรการ 8. งานลูกค้าสัมพันธ์ งานขาย 9. พนักงานธนาคาร 10. ฝ่ายบุคคล 11. ฝ่ายพัฒนาตราสินค้าและแบรนด์ 12. ศึกษาต่อในระดับสูง ด้านบริหารธุรกิจ หรือ เศรษฐศาสตร์ หรือสังคมศาสตร์ เป็นต้น
  • 15. 9 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ เป็นอีกหนึ่งสาขาที่นับวันยิ่งมีความสาคัญต่อการทางานมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่สนใจการทางาน ในด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร ในองค์กรธุรกิจ ซึ่งธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทาให้ผู้ที่จบสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สามารถเติบโตได้หลากหลายแนวทาง ตามความสามารถ ความถนัด และความชอบของแต่ละ คน อาชีพหลักๆที่ทาได้ เช่น การขายสินค้าผ่านอินเตอร์เน็ต การเขียนโปรแกรม การสร้างสื่อ สังคม เช่นเพจเฟสบุ๊คไว้ขายสินค้า ฯลฯ การเรียนสาขาคอมพิวเตอร์จึงมีโอกาสทางาน สร้าง รายได้ หรือเป็นเจ้าของกิจการได้ง่ายครับ รายวิชาที่ต้องเรียนในระดับปริญญาตรี เช่น ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีเว็บและโครงข่าย อินเทอร์เน็ต การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายทางธุรกิจ การออกแบบฐานข้อมูล หลักการ โปรแกรมเว็บ การออกแบบเว็บไซต์ E-Commerce และ การพัฒนาซอฟต์แวร์ เป็นต้น สาหรับมหาวิทยาลัยที่มีสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เปิดสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยที่มีคณะด้าน บริหารธุรกิจ วิทยาการจัดการ หรือ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี ซึ่งมีเปิดสอนทั้งมหาวิทยาลัย รัฐ สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยเอกชนครับ (ตรวจสอบสาขาวิชาที่สนใจ ยังเว็บไซต์ของ มหาวิทยาลัยที่ตนเองสนใจได้เลย) อาชีพในอนาคตของผู้ที่เรียนด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1. เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ 2. พนักงานรัฐและเอกชน 3. เจ้าของกิจการร้านขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 4. เจ้าของกิจการร้านขายคอมพิวเตอร์ 5. เจ้าของกิจการร้านคอมพิวเตอร์ 6. เจ้าของกิจการออนไลน์ 7. ผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ 8. เจ้าของเว็บไซต์
  • 16. 10 9. โปรแกรมเมอร์ 10. เว็บมาสเตอร์ 11. ธุรกิจส่วนตัวและงานด้านอื่น ๆ 12. ศึกษาต่อระดับปริญญาโท ในสายบริหารธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือสังคมศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ เป็นสาขาที่เกี่ยวกับการศึกษาการคานวณสาหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผล สารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้น ประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ครับ วิทยาการคอมพิวเตอร์จะเน้นทฤษฏี และหลักการ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ผสมผสานระหว่าง ศาสตร์ ด้านไฟฟ้าอีเล็กทรอนิกส์ คณิตศาสตร์หลายแขนง เช่น ตรรกศาสตร์ สถิติ เรขาคณิต รวมเทคนิค หรืออัลกอริธึมในการเขียนโปรแกรม และภาษาทางคอมพิวเตอร์ต่างๆได้แก่ ภาษาC ภาษา JAVA ภาษาPHP และภาษาSQL เป็นต้น วิทยาการคอมพิวเตอร์ต่างกับเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร ที่จริงแล้วสองสาขานี้มี ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากครับ โดยวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นถือกาเนิดมาก่อนเทคโนโลยี สารสนเทศ และจะเน้นด้านทฤษฏีเป็นหลัก โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับโครงสร้างของเครื่อง คอมพิวเตอร์ หลักการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ การผลิตซอฟต์แวร์ที่มีขนาดใหญ่ให้มี ประสิทธิภาพ จุดเด่นของวิทยาการคอมพิวเตอร์คือ เน้นศึกษาวิธีการทาให้คอมพิวเตอร์มี สมรรถนะที่สูงขึ้น และศึกษาวิธีการผลิตซอฟต์แวร์ ที่มีคุณภาพเพื่อใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เกิด ประโยชน์สูงที่สุด
  • 17. 11 สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) นั้นจะเน้นการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ ไม่ ว่าจะเป็นงานด้านธุรกิจ งานด้านการสื่อสาร งานในสายการผลิต งานด้านบริการ เป็นต้นครับ เรียนวิทยาการคอมพิวเตอร์จบแล้วสามารถประกอบอาชีพอะไรได้บ้าง ? นักศึกษาที่จบด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สามารถทางานได้ทั้งด้านเทคนิคและด้านการบริหาร จัดการ ดังนี้ 1. งานด้านเทคนิคหรืองานผู้เชี่ยวชาญ - ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ในบริษัทหรือองค์กรต่างๆ - ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์และบารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ - ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์หรือโปรแกรมระบบงาน หรือที่เรียกว่า "โปรแกรมเมอร์" - ผู้ออกแบบสร้างและบารุงรักษาระบบฐานข้อมูลซึ่งเป็นระบบสารสนเทศพื้นฐานในทุกองค์กร - ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - ผู้ออกแบบและโปรแกรมคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ - ผู้ออกแบบและโปรแกรมระบบกราฟิกหรืออะนิเมชั่น 2. งานด้านการจัดการหรืองานให้คาปรึกษา - ผู้ประสานงานในโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ - ผู้จัดการแผนกส่วนหรือฝ่ายคอมพิวเตอร์หรือฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศในองค์การ - ผู้ให้คาปรึกษาด้านระบบคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศแก่องค์กรต่างๆ 3. ธุรกิจส่วนตัว - เจ้าของบริษัทรับซ่อมคอมพิวเตอร์ - ผู้ผลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ - ผู้ขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 4. ศึกษาต่อระดับสูง - ปริญญาโททาง วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี สารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ บริหารธุรกิจ หรือสาขาใกล้เคียง เป็นอย่างไรกันบ้างครับกับสาขาในโลกไซเบอร์อีกสาขาที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ถ้าชาว eduzones คนไหนสนใจแล้วหละก็ ลองเข้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยที่ตนเองสนใจดูได้นะครับ
  • 18. 12 เพราะสาขาวิชานี้มีเปิดอยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ หรือคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือบาง มหาวิทยาลัยอาจจะอยู่ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ทั้งมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชนทั่วประเทศครับ ขอให้ทุกคนโชคดี Admission ได้ทุกคนเลย คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน คือสาขาที่ผลิตนักสร ้างภาพเคลื่อนไหวด ้วยคอมพิวเตอร์โดยอาศัยเครื่องมือ ที่สร ้างจากแนวคิด ทางคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ช่วยในการสร ้าง ดัดแปลง และให ้แสงและเงาเฟรมตลอดจนการ ประมวลผลการเคลื่อนที่ต่าง ๆ โดยเครื่องมือที่ว่าประกอบด ้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ที่สร ้างขึ้น จาก ระเบียบวิธี ขั้นตอนวิธี หลักการ กฎ หรือ การคานวณต่าง ๆ ตั้งแต่ช่วงปีค.ศ. 1970 เป็นต ้นมาถึงปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์เข ้ามาช่วยในการสร ้างภาพเคลื่อนไหว เป็นวิธีที่สามารถสร ้างภาพที่สมจริงขึ้น ซับซ ้อนขึ้น หรือ ต ้นทุนต่ากว่าการสร ้างภาพด ้วยมือ เช่น ในภาพยนตร์การ์ตูน หรือหนัง ภาพยนตร์อย่าง สตาร์วอร์ หรือจูราสติกพาร์ก มีการใช ้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ช่วยสร ้างภาพที่อยู่ ในจินตการของคนเรานั้น ออกมาให ้เห็นได ้อย่างสวยงามและสมจริง นอกเหนือจากนั้นประโยชน์ ของ การสร้างภาพเคลื่อนไหวด ้วยคอมพิวเตอร์ มีทั้งใน การจาลองทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การจราจรคมนาคมการบิน สถาปัตยกรรม การวิจัยดาเนินงาน เกมคอมพิวเตอร์ เป็นต ้นครับ คอมพิวเตอร์เกมมัลติมีเดีย (Computer Game Multimedia) คือสาขาที่ผลิตผสมผสานทั้ง ศาสตร์และศิลป์ หลากหลายแขนงได ้ครอบคลุมทั้ง วิทยาการคมพิวเตอร์ นิเทศศาสตร์ นิเทศ ศิลป์ ศิลปะ การออกแบบ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ทั้งนี้ภาคอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความบันเทิงในประเทศไทยและในระดับโลกนั้นเติบโตและสร ้างมูลค่าการค ้าอย่างสูงใน ลักษณะก ้าวกระโดด โดยที่ผู้คนทั่วไปไม่สามารถปฏิเสธการบริโภคสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความบันเทิงประเภทเกมได ้เลย คือกล่าวอย่างง่ายๆว่า “ใครๆก็เล่นคอมพิวเตอร์เกมและ ใครๆก็ดาวน์โหลดเกม” ครับ คณะสาขาและมหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่เปิดสอน เช่น - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต - คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร - วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร - คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าเจ ้าคุณทหารลาดกระบัง - วิทยาลัยสื่อ ศิลปะ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - คณะเทคโนโลยีมีเดียและศิลป์ ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าธนบุรี - วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล - สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • 19. 13 - คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา - คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค ้าไทย - คณะอุตสาหกรรมสร ้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ เป็นต ้น ออกแบบนิเทศศิลป์ คือการเรียนพื้นฐานด้านหลักการออกแบบทั่วไป ทฤษฎีต่างๆ รวมถึงพื้นฐานด้านการปฏิบัติการ ออกแบบ สิ่งที่สาคัญในการเรียนการสอนก็คือ การสร้างนักศึกษาที่มีความสามารถด้านศิลปะที่ นอกจากจะมีความสามารถด้านการวิเคราะห์ที่จาเป็นหรือการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆแล้ว ยัง สามารถเข้าถึงซอร์ฟแวร์คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่เพื่อสื่อสารความคิด ภาพ และข้อความสู่ กลุ่มเป้าหมายได้ นอกจากนั้น นักศึกษายังจะได้รับประสบการณ์จากการปฏิบัติจริงโดยการเข้า ไปมีส่วนร่วมในสังคมของมืออาชีพที่ทางานและก้าวไปพร้อมกับสังคม เทคโนโลยี และ วัฒนธรรมในปัจจุบันครับ การเรียนในสาขานี้ช่วง 2 ปีแรกจะเป็นไปในลักษณะการพื้นฐานเรียนด้านทักษะการวาด Drawing วาดวัตถุสิ่งของใกล้ตัวไปจนถึงกายวิภาค จิตรกรรมขั้นพื้นฐาน ซึ่งต้องเรียนด้านการ ออกแบบด้วยมือ และการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ และในปี 3-4 จะมีการเรียนเจาะลึกมาก ขึ้น เช่น วิชาแอนิเมชั่น โฆษณา ออกแบบตัวอักษรขั้นสูง การออกแบบประเภทต่าง เช่น ปก หนังสือ โปสเตอร์ แผ่นพับ การเขียน Story Board การใช้สีให้เหมาะสมกับงาน เป็นต้น และในหลากหลายมหาวิทยาลัยก็จะมีชื่อเรียกที่ต่างกัน และอยู่ในคณะที่ต่างกัน เช่น - นิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - เอกเรขศิลป์ ภาควิชานฤมิตศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบสื่อสาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ - นิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา - นิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • 20. 14 - ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - การออกแบบนิเทศศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล - คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต - สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา - คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นต้น สาขาอาชีพหลังสาเร็จการศึกษา เช่น - นักออกแบบกราฟิก - นักออกแบบโฆษณา - นักออกแบบงานอินเตอร์แอคทิฟ - นักออกแบบตัวอักษร - นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ - ช่างภาพ - แอนิเมเตอร์ - สไตลิสต์ - การจัดนิทรรศการ - การออกแบบตกแต่งภายในหรืองานสถาปัตยกรรม - งานออกแบบหรืองานศิลปะ - งานเชิงตอบโต้ด้านมัลติมีเดีย และงานผลิตเว็บไซต์ - ประกอบอาชีพส่วนตัว - ศึกษาต่อในระดับสูงในด้าน นิเทศศิลป์ นิเทศศาสตร์ คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เป็นต้น เป็นอย่างไรกันบ้างครับกับสาขาอาชีพสดใสอาชีพที่ 8 ที่เหมาะกับผู้ที่ชอบการออกแบบเป็น อย่างมากเลย ใครสนใจสาขาอาชีพนี้แล้วหละก็ ลองเข้าเว็บไซต์มหาวิทยาลัยที่ตนเองสนใจไปดู หลักสูตรกันได้เลยจ้า ขอให้ทุกคนโชคดีครับ
  • 21. 15 คอมพิวเตอร์อาร์ต เป็นสาขาที่มีการเรียนการสอนด ้านการใช ้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออกแบบ สร ้างสรรค์ ทางความคิด มุ่งเน้นการฝึกทักษะปฏิบัติในการใช ้คอมพิวเตอร์ และการปรับพื้นความรู้ทาง ศิลปะ โดยแบ่งออกเป็น 3 หลักสูตรคือ 2D Animation, 3D Animation และ Broadcast Design เป็นสาขาวิชาที่มีประโยชน์และความจาเป็นอย่างยิ่งต่อวงการศึกษา วงการอุตสาหกรรม ภาพยนตร์และวงการแอนิเมชัน ด ้วยงานอุตสาหกรรมบันเทิง ทีวีดิจิทัล ในปัจจุบันมีการใช ้ คอมพิวเตอร์ช่วยสร ้างสรรค์ผลงานให ้สวยงาม คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องมือที่สาคัญอย่างยิ่งใน การแสดงความคิดสร ้างสรรค์ของนักออกแบบ ไม่ว่าจะเป็นผลงานออกแบบตัวละคร งาน แอนิเมชัน 2 และ 3 มิติ ตลอดจนงานเทคนิคพิเศษในภาพยนตร์ครับ รายวิชาที่ผู้เรียนคอมพิวเตอร์อาร์ต จะต ้องเรียน ได ้แก่ การออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ ศิลปะ สร ้างสรรค์ด ้วยคอมพิวเตอร์ ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ และ 3 มิติ จิตรกรรมดิจิทัล การออกแบบตัว ละคร การแสดงท่าทางสาหรับนักสร ้างภาพเคลื่อนไหว ทฤษฎีและการผลิตภาพยนตร์ จิตรกรรม เบื้องต ้น เป็นต ้น วิชวลเอฟเฟค (Visual Effects) คือการทางานร่วมกันระหว่างการสร้างภาพสามมิติด ้วย คอมพิวเตอร์ (CG หรือ 3D Animation)บวกกับการถ่ายทาภาพยนตร์ในระบบดิจิตอลเพื่อให ้ได ้ ภาพที่มีความสมจริง โดยในปัจจุบันวิชวลเอฟเฟคมีบทบาทมากในทุกขบวนการผลิตภาพยนตร์ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์ ที่ใช ้นัก แสดงจริงหรือภาพยนตร์แอนนิเมชั่น เช่นการปรับเปรียนสีของภาพเพื่อให ้ได ้อารมส์ ความรู้สึกสอด คล ้องกับบรรยากาศของเรื่องหรือการนาภาพมาทับซ ้อนกัน แล ้วตกแต่งด ้วย คอมพิวเตอร์เพื่อให ้ผู้ชมเชื่อว่าเหตุการนั้นเกิดขึ้นจริง การที่จะสามารถสร ้างภาพให ้มีความ สมบูรณ์ในการทางานทางด ้านวิชวลเอฟเฟคนั้นประกอบไปด ้วยขบวนการผลิตจากสี่สายงาน ดังนี้ 3D Dynamic Simulation, 3D Visual Effects , 3D Digital Compositing และ 3D Modeling ครับ รายวิชาที่ผู้เรียนวิชวลเอฟเฟค จะต ้องเรียน ได ้แก่ ภาพถ่ายดิจิทัล วาดเส ้นสิ่งมีชีวิต ทัศนียภาพ และสัดส่วน ศิลปะร่วมสมัย การสร ้างภาพ 3 มิติและระบบเคลื่อนไหว วิชวลเอฟเฟคไปป์ ไลน์ เทคนิคการซ ้อนภาพ การออกแบบเสียงเพื่องานดิจิทัลอาร์ต การทาแมทช์มูฟวิง วิชวลเอฟเฟค โปรดักชัน การสร ้างพื้นผิว การจัดแสงและการแสดงภาพ โมชั่นแคปเจอร์ เป็นต ้น การจัดการธุรกิจไซเบอร์ เป็นสาขาที่มีการเรียนรู้ยุคสมัยใหม่ของการทาธุรกิจที่อยู่ในโลกเสมือน อันได้แก่ เว็บไซต์ สื่อ สังคมออนไลน์ ซึ่งมีความสาคัญเป็นอย่างมากต่อการค้าขายในปัจจุบัน โดยการจัดการธุรกิจไซ เบอร์จะมีการเรียนการสอนในทุนด้านขององค์ความรู้ด้านบริหารธุรกิจ ซึ่งประกอบไปด้วย การ
  • 22. 16 จัดการ การตลาดซึ่งเน้นการตลาดออนไลน์ การเงิน การบัญชี เศรษฐศาสตร์ และองค์ความรู้ด้าน การสื่อสารและการใช้สื่อในการทาธุรกิจ เป็นต้น ปัจจุบันมหาวิทยาลัยไทยที่เปิดสอนด้านการจัดการธุรกิจไซเบอร์ โดยเฉพาะ ได้แก่ วิทยาลัย นวัตกรรมสื่อสารสังคม (Collage of Social Communication Innovation ) มหาวิทยาลัยศรีนค รินทรวิโรฒ (มศว) โดยเป็นการศึกษาในหลักสูตร 4 ปี โดยมีการใช้คะแนน O-Net ประกอบกับ ผลการเรียนไม่ต่ากว่า 2.00 ทั้งนี้จุดเด่นของการเรียนการสอนคือ การใช้ภาษาอังกฤษและ ภาษาไทยเป็นสื่อในการสอนควบคู่กันไป โดยนักศึกษาจะต้องเรียนในสาขาวิชาที่สาคัญ ได้แก่ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เศรษฐศาสตร์มหภาค การจัดการธุรกิจระหวางประเทศ การจัดการระบบการขนส่ง การพัฒนาธุรกิจรูปแบบ ใหม่ นโยบาย เทคโนโลยีและนวัตกรรมธุรกิจ รูปแบบและเทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การ บริหารความเสี่ยงของระบบข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารทางธุรกิจ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมาย ธุรกิจสารสนเทศ เป็นต้น อาชีพหลังสาเร็จการศึกษา - นักธุรกิจออนไลน์ - พนักงานฝ่ายการตลาด ฝ่ายพัฒนาเว็บไซต์ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ทั้งภาครัฐและเอกชน - สื่อมวลชน - ประกอบอาชีพส่วนตัว หรือศึกษาต่อในระดับสูงด้าน นิเทศศาสตร์ บริหารธุรกิจ เป็นต้น เป็นอย่างไรบ้างครับกับสาขา การจัดการธุรกิจไซเบอร์ เป็นอีกหนึ่งสาขาที่มีความสาคัญและ เหมาะกับวัยรุ่นยุคใหม่เป็นอย่างมากที่ชื่นชอบการทางานหน้าคอมพิวเตอร์ครับ ทางทีมงานก็ขอ ฝากไว้เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจให้กับชาว eduzones ทุกคนด้วยจ้า