SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง
การเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP
จัดทาโดย
นายกฤศอนันต์ ชาญเชี่ยวเลขที่16
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
ปีการศึกษา 2558 ภาคเรียนที่2
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ข
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโปรแกรมสานักงานขั้นสูง จัดทาขึ้น
เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้มาศึกษาเพื่อที่จะได้รู้ข้อมูลที่เพิ่มมากขึ้นและรับรู้
ข้อมูลกว้างขึ้นและเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง
จัดทาโดย
นายกฤศอนันต์ ชาญเชี่ยว
ค
สารบัญ
คานา...........................................................................................................................ข
สารบัญรูปภาพ...........................................................................................................ง
1.เริ่มต้นด้วย PHP.......................................................................................................1
2.การใช้ PHP Tag.......................................................................................................2
2.1รูปแบบ PHP tag.................................................................................................2
3.การเพิ่มเนื้อหาแบบไดนามิคส์.................................................................................4
3.1 การกาหนดค่าให้กับตัวแปร..................................................................................5
4.การทางานกับฟอร์ม.................................................................................................6
4.3ตัวแปรฟอร์ม.........................................................................................................9
5.ฟังก์ชันที่มีประโยชน์ PHP.....................................................................................10
6.การประยุกต์เบื้องต้น.............................................................................................14
บรรณานุกรม............................................................................................................16
ง
สารบัญรูปภาพ
รูปภาพที่ 1รูปแบบของ PHP..........................................................................................................................1
รูปภาพที่ 2การใช้ PHP Tag...........................................................................................................................2
รูปภาพที่ 3ฟังก์ชัน date().............................................................................................................................4
รูปภาพที่ 4การใช้งานบน From .....................................................................................................................6
การเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP
รูปภาพที่ 1รูปแบบของ PHP
1.เริ่มต้นด้วย PHP
เป็นภาษาตัวแปลสคริปต์ หมายความว่าlanguage engine เรียกใช้สคริปต์ที่เขียนขึ้น
โดยไม่มีขั้นตอนกลางในการคอมไพล์ หรือไปเป็นรูปแบบไบนารี สคริปต์ส่วนใหญ่ที่
ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์เว็บอยู่ในที่เดียวกับไฟล์HTML ตามปกติไฟล์เก็บสคริปต์
จะเก็บเป็นนามสกุล .phpถึงแม้ว่าบุคคลทั่วไปจะใช้นามสกุลเก่าคือ .php3 และ .phtml
พื้นที่เก็บไฟล์เหล่านี้จะขึ้นกับการตั้งค่าคอนฟิกให้แม่ข่ายเว็บส่งผ่านไฟล์เหล่านี้ไปยัง
ตัวแปร PHP พื้นที่จัดเก็บไฟล์หรือเอกสารนี้ได้รับอ้างถึงในฐานะdocument root
2
รูปภาพที่ 2การใช้ PHP Tag
2.การใช้ PHP Tag
ตามตัวอย่าง เริ่มต้นด้วย <? และปิดด้วย ?>คล้ายกับ HTML tag เพราะเริ่มต้นด้วย
เครื่องหมายน้อยกว่า (<) และปิดด้วยเครื่องหมายมากกว่า (>) สัญลักษณ์เหล่านี้
เรียกว่า PHP tag ที่บอกแม่ข่ายเว็บการเริ่มต้นและสิ้นสุดคาสั่ง PHP ข้อความ
ระหว่าง tag จะได้รับการแปลในฐานะ PHP ข้อความภายนอก tag เหล่านี้ได้รับการ
ปฏิบัติเหมือน HTML ปกติ PHP tag ยอมให้หลีกจาก HTML
2.1รูปแบบ PHP tag
รูปแบบ PHP tag มี 4 แบบ แต่ละแบบของคาสั่งอย่างเหมือนกันรูปแบบย่อ(Short
style)
3
<? echo "<h1>พูนพนา</h1>";?>รูปแบบนี้เป็นรูปแบบง่ายที่สุดและเป็นไปตาม
มาตรฐานการประมวลผลSGML (Standard Generalized Markup Language) การใช้
tag ประเภทนี้ต้องให้ใช้ short tag ในไฟล์คอนฟิก php.ini ที่คาสั่ง short_open_tag
เป็น enable แต่ไม่แนะนาเนื่องจากไม่เป็นไปตามมาตรฐานXHTML และมาตรฐาน
ส่วนขยายเช่น PEARรูปแบบ XML
<?php echo "<h1>พูนพนา</h1>";?>tag รูปแบบนี้สามารถใช้กับเอกสาร XML
(Extensible Markup Language) ถ้าวางแผนให้ทางานกับ XML ต้องใช้รูปแบบนี้
รูปแบบ SCRIPT < SCRIPT LANGUAGE='php'> echo "<h1>พูนพนา</h1>";
</SCRIPT>tag รูปแบบนี้ ยาวที่สุดและอาจจะคุ้นเคย ถ้าเคยใช้ JavaScript หรือ
VBScript
รูปแบบ ASP <% echo "<h1>พูนพนา</h1>"; %>tag รูปแบบนี้เหมือนกับ Active
Server Pages (ASP) สามารถใช้ได้ ถ้าตั้งค่าคอนฟิกคาสั่ง asp_tagsให้เป็น enable
ประโยคคาสั่ง PHPใช้บอกตัวแปล PHP ให้ทางาน โดยให้อยู่ระหว่างtag เปิดและปิด
ตัวอย่างนี้ใช้ประโยคคาสั่งแบบหนึ่ง echo "<p>พูนพนา</p>";
คาสั่ง echo ตามตัวอย่างเป็นการพิมพ์ข้อมูลเมื่อส่งไปที่ browser สามารถมองเห็น
ผลลัพธ์ของข้อความ "พูนพนา" ปรากฎใน browserที่ท้ายประโยคคาสั่ง echo มี
semicolon(;) เครื่องหมายนี้ใช้แยกประโยคคาสั่งใน PHP เหมือนกับจุด (.) ที่ใช้แยก
ประโยคในภาษาอังกฤษ ถ้าเคยเขียนโปรแกรมด้วย C หรือ Java จะมีความคุ้นเคย
กับการใช้ semicolon
4
3.การเพิ่มเนื้อหาแบบไดนามิคส์
เหตุผลหลักในการใช้สคริปต์ด้านแม่ข่าย คือ ความสามารถในการให้เนื้อหาแบบไดนา
มิคส์ไปยังผู้ใช้ บทบาทที่สาคัญของการประยุกต์เพราะเนื้อหาเปลี่ยนตามความต้องการ
ของผู้ใช้ หรือตลอดเวลา PHP ช่วยให้ทางานลักษณะนี้ได้ง่าย ขอเริ่มต้นด้วยตัวอย่าง
ง่าย ๆ แทนที่ PHP ใน processorder.phpด้วยคาสั่งต่อไปนี้
<?
echo "<p>เวลาประมวลผลใบสั่งซื้อ";
echo date("H:i, jS F");
echo "</p>";
?>
ในคาสั่งนี้ใช้ฟังก์ชัน date () ของ PHP เพื่อบอกวันที่และเวลาประมวลผลใบสั่งซื้อ ที่
จะต่างกันในการทางานของสคริปต์แต่ละครั้ง ผลลัพธ์ของการเรียกสคริปต์ ดูจาก
ภาพ 1.1.2
รูปภาพที่ 3ฟังก์ชัน date()
5
การเรียกฟังก์ชัน
ให้ดูการเรียก date() นี่คือรูปแบบทั่วไปในการเรียกฟังก์ชัน PHP มี ไลบรารีของ
ฟังก์ชันให้ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์เว็บ
date("H=i,jsF")
สังเกตว่ามีการส่งผ่านข้อมูลที่เป็นข้อความ ให้กับฟังก์ชันภายในวงเล็บข้อความที่
ส่งผ่านเรียกว่า อากิวเมนต์หรือพารามิเตอร์ของฟังก์ชัน อากิวเมนต์เหล่านี้คือ การ
นาเข้าโดยฟังก์ชันเพื่อให้ผลลัพธ์ที่ต้องการฟังก์ชัน date()
การต่อข้อความ
การต่อข้อความใช้ จุด (.) ตัวอย่างเช่น
echo $soapqty." ก้อน<br/>";
อีกวิธีหนึ่ง คือ
echo "$soapqty ก้อน<br>";
3.1 การกาหนดค่าให้กับตัวแปร
ตัวแปร PHP ไม่ต้องประกาศก่อนการใช้ ซึ่งเป็นความแตกต่างของPHP จากภาษาอื่น
ซึ่งตัวแปรใน PHP แสดงโดยเครื่องหมายดอลลาร์($) ตามด้วยชื่อตัวแปรที่เริ่มต้นด้วย
ตัวอักษรหรือเส้นใต้ (underscore) จากนั้นจึงตามด้วยตัวอักษร เส้นใต้ หรือตัวเลข
รวมถึงชุดตัวอักษรส่วนขยายบางส่วน เช่น ลาติน ไทย สาหรับตัวอักษรส่วนขยายอื่น
เช่น พยัญชนะ จีนและญี่ปุ่น ยังไม่ยอมรับ
<?php
6
$varname = "varname"; // ok
$var____Name = "oink"; // ok
$__45var = 45; // ok
$กิน = "กิน"; // ok
$45__var = 45; // ไม่ได้ – ขึ้นต้นตัวเลข
// ตัวอักษรจีนและญี่ปุ่นไม่สามารถเป็นชื่อตัวแปร?>
รูปภาพที่ 4การใช้งานบน From
4.การทางานกับฟอร์ม
ฟอร์มเป็นกลไกการส่งข้อมูลจาก browser กับแม่ข่าย
7
4.1การส่งข้อมูล
คุณสมบัติ method มี 2 ค่าที่ควบคุมการส่งข้อมูลไปยังแม่ข่ายเมื่อส่งฟอร์ม คือ POST
และ GET
เมธอด HTTP GET ส่งข้อมูลทั้งชุดด้วยการต่อท้ายURI ที่ระบุในคุณลักษณะ action
บนฟอร์ม ข้อถูกจับต่อท้ายเครื่องหมายคาถาม(?) และแบ่งฟิลด์ด้วยตัวอักษร
ampersand (&) ชื่อแต่ละฟิลด์แบ่งจากค่าด้วยเครื่องหมายเท่ากับ ตัวอักษรที่ทาให้URI
ไม่ทางาน เช่น whitespace, เครื่องหมายคาถาม, เครื่องหมายเท่ากับ หรือตัวอักษรพิมพ์
ไม่ได้ จะได้รับการเข้าเป็นเลขฐานสิบหก
ตัวการส่งใบสั่งซื้อจากลูกค้าชื่อ "สุวรรณ แสงแก้ว" หมายเลขสมาชิก NA1235 และ
รายการสั่งซื้อ
http://localhost/phptrain/chapter01/processorder.php?name=%CA%D8%C7%C3%C
3%B3
+%E1%CA%A7%E1%A1%E9%C7+%2F+NA1235&shampooqty=6&conditionerqt
y=5&soapqty=3
การส่งด้วยเมธอด GET มีข้อดีคือ ทาการตรวจสอบข้อมูลได้ง่ายเพราะมองเห็นได้ใน
URI แต่มีข้ออ่อนบางประการ
ถ้า URI เป็นข้อความยาวมากของฟอร์มที่ฟิลด์จานวนมาก ถึงแม้ว่าbrowser ส่วนใหญ่
สามารถควบคุมข้อความนาเข้า แต่การอ่าน URI ทาได้ยากและการกระจายยุ่งยาก
ฟิลด์รหัสผ่านได้รับการส่งเป็นข้อความธรรมดาบน URI ขณะที่เมธอด POST ส่ง
รหัสผ่านเป็นข้อความธรรมดา URI ของ GET ได้รับการมองเห็นและจาได้โดย
browser ดังนั้นผู้ใช้อื่นที่ใช้คอมพิวเตอร์สามารถค้นหาชื่อและรหัสผ่านได้
8
เมธอด GET ไม่สนับสนุนการอัพโหลดไฟล์กับฟอร์ม
เมธอด GET ไม่สนับสนุนตัวอักษรอื่นนอกจาก ASCII จึงต้องมีงานเพิ่มขึ้น ถ้าส่งด้วย
ตัวอักษรส่วนขยาย
เมธอด POST เป็นอีกวิธีในการส่งข้อมูล โดยส่งในส่วนbody ของคาขอ HTTP ไปยัง
แม่ข่าย เมธอดนี้มีข้อได้เปรียบคือ เห็นน้อยกว่าเมธอด POST ควบคุมชุดตัวอักษรได้
มากกว่า ASCII และไม่จากัดโดย "history" ของ browser
คาแนะนาการเลือกเมธอดดังนี้
GET ใช้กับข้อมูลที่ส่งไปสาหรับการคิวรี่และไม่มีการปรับปรุงข้อมูลบนแม่ข่าย
POST ใช้กับกรณีอื่น
4.2การเข้าถึงตัวแปรฟอร์ม
จุดรวมของการใช้ฟอร์มใบสั่งซื้อ คือ การรวบรวมใบสั่งซื้อของลูกค้า การเก็บ
รายละเอียดสิ่งที่ลูกค้าป้อนลงไปทาได้ง่ายใน PHP
ภายในสคริปต์ PHP สามารถเข้าถึงแต่ละฟิลด์ของฟอร์มในฐานะตัวแปรที่มีชื่อ
เดียวกับฟิลด์ของฟอร์มให้ดูตัวอย่างคาสั่งในprocessorder.php
<?php
$printdate = date("H:i, jS F");
echo <<<ORDERSTR
<p>เวลาประมวลผลใบสั่งซื้อ {$printdate}</p>
ผู้สั่งซื้อ {$_GET['name']}<br/>
<p>รายละเอียดการสั่งซื้อ:<br/>
{$_GET['shampooqty']} ขวด แชมพู<br/>
9
{$_GET['conditionerqty']} ขวด ครีมนวดผม<br/>
{$_GET['soapqty']} ก้อน สบู่<br/>
</p>
ORDERSTR;
?>
ถ้า browser ได้รับการ refresh ผลลัพธ์ของสคริปต์ จะแสดงตามภาพ 1.1.3 ค่าแต่ละ
ประเภทจะปรากฎออกมา
4.3ตัวแปรฟอร์ม
ข้อมูลจากสคริปต์จะส่งผ่าน superglobal array คือ $_GET หรือ $_POST ที่สามารถ
เข้าถึงได้ผ่านตัวแปร PHP ชื่อตัวแปรนี้เริ่มต้นด้วยเครื่องหมายดอลลาร์($) การเข้าถึง
ข้อมูลของฟอร์มผ่านตัวแปรเขียนได้ 2 วิธ
วิธีที่ 1 คือ การใช้รูปแบบย่อ เช่น $soapqty
วิธีที่ 2 คือ ใช้นิพจน์แบบนี้
$$_GET["soapqty"]
เวอร์ชัน 4 รับข้อมูลจาก $HTTP_GET_VARS และ $HTTP_POST_VARS ที่ไม่ได้
เป็น superglobal array สาหรับ array นี้ยังมีอยู่และใช้ได้โดยการตั้งค่า
register_long_arraysเป็น on ในไฟล์ php.ini
10
ถ้าตั้งค่าคาสั่ง register_globalsในไฟล์ php.ini เป็น on สามารถใช้ได้เฉพาะรูปแบบ
short ค่านี้เป็นค่าเริ่มต้นปกติของไฟล์php.ini
ถ้าตั้งค่า register_globalsเป็น off สามารถใช้วิธีที่ 2 รวมถึงต้องตั้งค่าคาสั่ง track_var
เป็น on
รูปแบบเต็มจะทางานได้เร็วและหลีกเลี่ยงการสร้างตัวแปรอย่างอัตโนมัติ อย่างไรก็
ตาม รูปแบบย่ออ่านได้ง่าย และเหมือนกับPHP เวอร์ชันก่อน
5.ฟังก์ชันที่มีประโยชน์ PHP
มีฟังก์ชันภายในที่ทางานกับข้อความและการแสดงผล ในเบื้องต้นจะแนะนาบาง
ฟังก์ชันที่มีประโยชน์
nl2br
ถ้าสังเกตให้ดีจะพบว่าข้อความที่มีการเว้นบรรทัดนั้น เมื่อแสดงผลด้วยHTML จะไม่
ขึ้นบรรทัดใหม่ใน browser ของผู้ใช้ เนื่องจากการตัดwhitespace ดังนั้นการแสดงผล
ให้เว้นบรรทัด ให้เรียกฟังก์ชัน nl2br() ที่จะแปลงตัวอักษรบรรทัดใหม่ให้เป็น</br>
tag ตามสคริปต์นี้
<?php
$stringval =<<<NLSTRING
นี่เป็นตัวอย่างข้อความที่
ประกอบด้วยการขึ้นบรรทัดใหม่
11
และต้องการดูผลลัพธ์
ให้เหมือนกับข้อความต้นทางนี้
NLSTRING;
echo nl2br($stringval);
?>
ผลลัพธ์คือ
นี่เป็นตัวอย่างข้อความที่
ประกอบด้วยการขึ้นบรรทัดใหม่
และต้องการดูผลลัพธ์
ให้เหมือนกับข้อความต้นทางนี้
var_dump
มีบ่อยครั้งที่อาจจะมีการทดลองหรือเขียนโปรแกรม และมีความต้องการดูเนื้อหา
รวมทั้งธรรมชาติแบบไดนามิคส์และไม่มีการประกาศประเภทข้อมูลให้ตัวแปรอย่าง
ชัดเจน หมายความว่าจะไม่ทราบประเภทข้อมูลปัจจุบันที่แน่นอน ฟังก์ชันvar_dump
แสดงประเภทและค่าของตัวแปรในผลลัพธ์ สาหรับข้อความvar_dumpให้จานวน
ตัวอักษรในข้อความ
<?php
$floatval = 123e-456;
$intvar = 123456;
12
$stringval = "Hello world";
var_dump($floatval); echo "<br/>n";
var_dump($intvar); echo "<br/>n";
var_dump($stringval); echo "<br/>n";
?>
ผลลัพธ์จากคาสั่งข้างบนคือ
float(0)
int(123456)
string(10) “Hello world”
print_r
ฟังก์ชัน print_rคล้ายกับ var_dumpแต่สร้างผลลัพธ์ที่อ่านได้ง่าย print_r ให้มีการเพิ่ม
ค่าตัวเลือก(เรียกว่า พารามิเตอร์) ที่บอกให้ฟังก์ชันนี้ส่งออกผลลัพธ์เป็นข้อความแทนที่
การส่งผลลัพธ์ออกไป
<?php
$stringval = "เรายินดีให้บริการสินค้าหัตถกรรมฝีมือปราณีต";
print_r ($stringval); echo "<br/>n";
$result = print_r ($stringval, TRUE);
echo $result;
13
?>
ผลลัพธ์จากคาสั่งข้างบนคือ
เรายินดีให้บริการสินค้าหัตถกรรมฝีมือปราณีต
เรายินดีให้บริการสินค้าหัตถกรรมฝีมือปราณีต
var_export
ฟังก์ชันแสดงผลสุดท้ายคือ ฟังก์ชันvar_exportที่คล้ายกับ var_dumpมาก ยกเว้น
ผลลัพธ์ได้รับการนาเสนอค่าของข้อมูลแบบคาสั่ง PHP
<?php
$arr = array(1, 2, 3, 4);
var_export($arr);
?>
ผลลัพธ์จากคาสั่งข้างบนคือ
array( 0 => 1, 1 => 2, 2 => 3, 3 => 4)
Quoted
ในการเขียนคาสั่งข้อความโดยเฉพาะคาสั่งecho การใช้ quoted จะสร้างความสับสน
ให้กับตัวกระจาย PHP ได้ เช่น
echo "<td width="15%">";
14
คาสั่งนี้สร้างความผิดพลาด ดังนั้นต้องใช้quoted ต่างกัน
echo "<td width='15%'>";
หรือ
echo '<td width="15%">';
ในการเขียนประโยคคาสั่งคิวรี่ การใช้ quoted ภายในประโยคคาสั่งจะทาตัวกระจาย
MySQL เกิดความสับสน
INSERT INTO message VALUES("การสัมนาเรื่อง "การดูแลสุขภาพ" เริ่มเวลา 16.00
");
การคาสั่งต้องใช้ slash () กับ quoted ที่ไม่ใช้ส่วนการห้อหุ้ม
INSERT INTO message VALUES("การสัมนาเรื่อง "การดูแลสุขภาพ" เริ่มเวลา
16.00 ");
6.การประยุกต์เบื้องต้น
การเรียนรู้โปรแกรมแบบ OOP เริ่มต้นจากการสร้างและทางานclass ในฐานะอ๊อบเจค
ที่ประกอบด้วยคุณสมบัติ (หรือคุณลักษณะ) และปฏิบัติการ (หรือเมธอด)
Classการประกาศ class ใช้คีย์เวิร์ด class รายละเอียดของ class ได้รับการหุ้มในวงเล็ก
ปีกกา ({ })
<?php
classmyclass
{
15
// รายละเอียด รวมถึง คุณสมบัติ และเมธอด เป็นต้น
}
?>
classนี้ให้ชื่อว่า myclass
classสร้างคุณลักษณะเป็นการประกาศตัวแปรภายในข้อกาหนดclass ด้วยคีย์เวิร์ด var
และการสร้างปฏิบัติการใช้การประกาศฟังก์ชัน
ตัวอย่างการสร้าง Employee class ที่ประกอบ 4 คุณลักษณะ ใน PHP สามารถสร้างค่า
เริ่มต้นได้
<?php
class Employee
{public $id;
public $firstname = “unknown”;
public $lastname;public $sex = 1;
}
?>
16
บรรณานุกรม
http://www.mindphp.com/
http://www.widebase.net/internet/php/phpbasic/phpbasic0001.shtml
17

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจคู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจNet Manthana
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัดTuang Thidarat Apinya
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
TH Developing communication key message
TH Developing communication key messageTH Developing communication key message
TH Developing communication key messageMassimiliano La Franca
 
ตัวอย่างการเขียนผังงาน
ตัวอย่างการเขียนผังงานตัวอย่างการเขียนผังงาน
ตัวอย่างการเขียนผังงานsarida ruangthai
 
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sitesการสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google SitesDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชAmmie Sweetty
 
How to การเตรียมรูปเล่มนิยาย
How to การเตรียมรูปเล่มนิยายHow to การเตรียมรูปเล่มนิยาย
How to การเตรียมรูปเล่มนิยายnoonatzu
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 

What's hot (20)

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจคู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษ(แบบพกพา)สำหรับข้าราชการตำรวจ
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัดแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับจังหวัด
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับจังหวัด
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
TH Developing communication key message
TH Developing communication key messageTH Developing communication key message
TH Developing communication key message
 
ตัวอย่างการเขียนผังงาน
ตัวอย่างการเขียนผังงานตัวอย่างการเขียนผังงาน
ตัวอย่างการเขียนผังงาน
 
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sitesการสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
 
5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล5.การประเมินบุคคล
5.การประเมินบุคคล
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
 
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
How to การเตรียมรูปเล่มนิยาย
How to การเตรียมรูปเล่มนิยายHow to การเตรียมรูปเล่มนิยาย
How to การเตรียมรูปเล่มนิยาย
 
9
99
9
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 

Viewers also liked

Fraudulent and Dangling Deeds of Trust
Fraudulent and Dangling Deeds of TrustFraudulent and Dangling Deeds of Trust
Fraudulent and Dangling Deeds of TrustSocially Savvy
 
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบleemeanxun
 
Desiderata
DesiderataDesiderata
DesiderataHaley
 
Feature writing
Feature writingFeature writing
Feature writingNova Starr
 
Презентация по ХАССП
Презентация по ХАССППрезентация по ХАССП
Презентация по ХАССПExpertgarant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3oraneehussem
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 

Viewers also liked (13)

Fraudulent and Dangling Deeds of Trust
Fraudulent and Dangling Deeds of TrustFraudulent and Dangling Deeds of Trust
Fraudulent and Dangling Deeds of Trust
 
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
 
Desiderata
DesiderataDesiderata
Desiderata
 
Избёнка
ИзбёнкаИзбёнка
Избёнка
 
Feature writing
Feature writingFeature writing
Feature writing
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Презентация по ХАССП
Презентация по ХАССППрезентация по ХАССП
Презентация по ХАССП
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 

Similar to การเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษาPhp

Similar to การเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษาPhp (6)

Ch18
Ch18Ch18
Ch18
 
Php
PhpPhp
Php
 
Unit3.1variables
Unit3.1variablesUnit3.1variables
Unit3.1variables
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
PBL2
PBL2PBL2
PBL2
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษาPhp

  • 1. รายงาน เรื่อง การเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP จัดทาโดย นายกฤศอนันต์ ชาญเชี่ยวเลขที่16 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ปีการศึกษา 2558 ภาคเรียนที่2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 3. ค สารบัญ คานา...........................................................................................................................ข สารบัญรูปภาพ...........................................................................................................ง 1.เริ่มต้นด้วย PHP.......................................................................................................1 2.การใช้ PHP Tag.......................................................................................................2 2.1รูปแบบ PHP tag.................................................................................................2 3.การเพิ่มเนื้อหาแบบไดนามิคส์.................................................................................4 3.1 การกาหนดค่าให้กับตัวแปร..................................................................................5 4.การทางานกับฟอร์ม.................................................................................................6 4.3ตัวแปรฟอร์ม.........................................................................................................9 5.ฟังก์ชันที่มีประโยชน์ PHP.....................................................................................10 6.การประยุกต์เบื้องต้น.............................................................................................14 บรรณานุกรม............................................................................................................16
  • 4. ง สารบัญรูปภาพ รูปภาพที่ 1รูปแบบของ PHP..........................................................................................................................1 รูปภาพที่ 2การใช้ PHP Tag...........................................................................................................................2 รูปภาพที่ 3ฟังก์ชัน date().............................................................................................................................4 รูปภาพที่ 4การใช้งานบน From .....................................................................................................................6
  • 5. การเขียนเว็บไซต์ด้วยภาษา PHP รูปภาพที่ 1รูปแบบของ PHP 1.เริ่มต้นด้วย PHP เป็นภาษาตัวแปลสคริปต์ หมายความว่าlanguage engine เรียกใช้สคริปต์ที่เขียนขึ้น โดยไม่มีขั้นตอนกลางในการคอมไพล์ หรือไปเป็นรูปแบบไบนารี สคริปต์ส่วนใหญ่ที่ ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์เว็บอยู่ในที่เดียวกับไฟล์HTML ตามปกติไฟล์เก็บสคริปต์ จะเก็บเป็นนามสกุล .phpถึงแม้ว่าบุคคลทั่วไปจะใช้นามสกุลเก่าคือ .php3 และ .phtml พื้นที่เก็บไฟล์เหล่านี้จะขึ้นกับการตั้งค่าคอนฟิกให้แม่ข่ายเว็บส่งผ่านไฟล์เหล่านี้ไปยัง ตัวแปร PHP พื้นที่จัดเก็บไฟล์หรือเอกสารนี้ได้รับอ้างถึงในฐานะdocument root
  • 6. 2 รูปภาพที่ 2การใช้ PHP Tag 2.การใช้ PHP Tag ตามตัวอย่าง เริ่มต้นด้วย <? และปิดด้วย ?>คล้ายกับ HTML tag เพราะเริ่มต้นด้วย เครื่องหมายน้อยกว่า (<) และปิดด้วยเครื่องหมายมากกว่า (>) สัญลักษณ์เหล่านี้ เรียกว่า PHP tag ที่บอกแม่ข่ายเว็บการเริ่มต้นและสิ้นสุดคาสั่ง PHP ข้อความ ระหว่าง tag จะได้รับการแปลในฐานะ PHP ข้อความภายนอก tag เหล่านี้ได้รับการ ปฏิบัติเหมือน HTML ปกติ PHP tag ยอมให้หลีกจาก HTML 2.1รูปแบบ PHP tag รูปแบบ PHP tag มี 4 แบบ แต่ละแบบของคาสั่งอย่างเหมือนกันรูปแบบย่อ(Short style)
  • 7. 3 <? echo "<h1>พูนพนา</h1>";?>รูปแบบนี้เป็นรูปแบบง่ายที่สุดและเป็นไปตาม มาตรฐานการประมวลผลSGML (Standard Generalized Markup Language) การใช้ tag ประเภทนี้ต้องให้ใช้ short tag ในไฟล์คอนฟิก php.ini ที่คาสั่ง short_open_tag เป็น enable แต่ไม่แนะนาเนื่องจากไม่เป็นไปตามมาตรฐานXHTML และมาตรฐาน ส่วนขยายเช่น PEARรูปแบบ XML <?php echo "<h1>พูนพนา</h1>";?>tag รูปแบบนี้สามารถใช้กับเอกสาร XML (Extensible Markup Language) ถ้าวางแผนให้ทางานกับ XML ต้องใช้รูปแบบนี้ รูปแบบ SCRIPT < SCRIPT LANGUAGE='php'> echo "<h1>พูนพนา</h1>"; </SCRIPT>tag รูปแบบนี้ ยาวที่สุดและอาจจะคุ้นเคย ถ้าเคยใช้ JavaScript หรือ VBScript รูปแบบ ASP <% echo "<h1>พูนพนา</h1>"; %>tag รูปแบบนี้เหมือนกับ Active Server Pages (ASP) สามารถใช้ได้ ถ้าตั้งค่าคอนฟิกคาสั่ง asp_tagsให้เป็น enable ประโยคคาสั่ง PHPใช้บอกตัวแปล PHP ให้ทางาน โดยให้อยู่ระหว่างtag เปิดและปิด ตัวอย่างนี้ใช้ประโยคคาสั่งแบบหนึ่ง echo "<p>พูนพนา</p>"; คาสั่ง echo ตามตัวอย่างเป็นการพิมพ์ข้อมูลเมื่อส่งไปที่ browser สามารถมองเห็น ผลลัพธ์ของข้อความ "พูนพนา" ปรากฎใน browserที่ท้ายประโยคคาสั่ง echo มี semicolon(;) เครื่องหมายนี้ใช้แยกประโยคคาสั่งใน PHP เหมือนกับจุด (.) ที่ใช้แยก ประโยคในภาษาอังกฤษ ถ้าเคยเขียนโปรแกรมด้วย C หรือ Java จะมีความคุ้นเคย กับการใช้ semicolon
  • 8. 4 3.การเพิ่มเนื้อหาแบบไดนามิคส์ เหตุผลหลักในการใช้สคริปต์ด้านแม่ข่าย คือ ความสามารถในการให้เนื้อหาแบบไดนา มิคส์ไปยังผู้ใช้ บทบาทที่สาคัญของการประยุกต์เพราะเนื้อหาเปลี่ยนตามความต้องการ ของผู้ใช้ หรือตลอดเวลา PHP ช่วยให้ทางานลักษณะนี้ได้ง่าย ขอเริ่มต้นด้วยตัวอย่าง ง่าย ๆ แทนที่ PHP ใน processorder.phpด้วยคาสั่งต่อไปนี้ <? echo "<p>เวลาประมวลผลใบสั่งซื้อ"; echo date("H:i, jS F"); echo "</p>"; ?> ในคาสั่งนี้ใช้ฟังก์ชัน date () ของ PHP เพื่อบอกวันที่และเวลาประมวลผลใบสั่งซื้อ ที่ จะต่างกันในการทางานของสคริปต์แต่ละครั้ง ผลลัพธ์ของการเรียกสคริปต์ ดูจาก ภาพ 1.1.2 รูปภาพที่ 3ฟังก์ชัน date()
  • 9. 5 การเรียกฟังก์ชัน ให้ดูการเรียก date() นี่คือรูปแบบทั่วไปในการเรียกฟังก์ชัน PHP มี ไลบรารีของ ฟังก์ชันให้ใช้พัฒนาโปรแกรมประยุกต์เว็บ date("H=i,jsF") สังเกตว่ามีการส่งผ่านข้อมูลที่เป็นข้อความ ให้กับฟังก์ชันภายในวงเล็บข้อความที่ ส่งผ่านเรียกว่า อากิวเมนต์หรือพารามิเตอร์ของฟังก์ชัน อากิวเมนต์เหล่านี้คือ การ นาเข้าโดยฟังก์ชันเพื่อให้ผลลัพธ์ที่ต้องการฟังก์ชัน date() การต่อข้อความ การต่อข้อความใช้ จุด (.) ตัวอย่างเช่น echo $soapqty." ก้อน<br/>"; อีกวิธีหนึ่ง คือ echo "$soapqty ก้อน<br>"; 3.1 การกาหนดค่าให้กับตัวแปร ตัวแปร PHP ไม่ต้องประกาศก่อนการใช้ ซึ่งเป็นความแตกต่างของPHP จากภาษาอื่น ซึ่งตัวแปรใน PHP แสดงโดยเครื่องหมายดอลลาร์($) ตามด้วยชื่อตัวแปรที่เริ่มต้นด้วย ตัวอักษรหรือเส้นใต้ (underscore) จากนั้นจึงตามด้วยตัวอักษร เส้นใต้ หรือตัวเลข รวมถึงชุดตัวอักษรส่วนขยายบางส่วน เช่น ลาติน ไทย สาหรับตัวอักษรส่วนขยายอื่น เช่น พยัญชนะ จีนและญี่ปุ่น ยังไม่ยอมรับ <?php
  • 10. 6 $varname = "varname"; // ok $var____Name = "oink"; // ok $__45var = 45; // ok $กิน = "กิน"; // ok $45__var = 45; // ไม่ได้ – ขึ้นต้นตัวเลข // ตัวอักษรจีนและญี่ปุ่นไม่สามารถเป็นชื่อตัวแปร?> รูปภาพที่ 4การใช้งานบน From 4.การทางานกับฟอร์ม ฟอร์มเป็นกลไกการส่งข้อมูลจาก browser กับแม่ข่าย
  • 11. 7 4.1การส่งข้อมูล คุณสมบัติ method มี 2 ค่าที่ควบคุมการส่งข้อมูลไปยังแม่ข่ายเมื่อส่งฟอร์ม คือ POST และ GET เมธอด HTTP GET ส่งข้อมูลทั้งชุดด้วยการต่อท้ายURI ที่ระบุในคุณลักษณะ action บนฟอร์ม ข้อถูกจับต่อท้ายเครื่องหมายคาถาม(?) และแบ่งฟิลด์ด้วยตัวอักษร ampersand (&) ชื่อแต่ละฟิลด์แบ่งจากค่าด้วยเครื่องหมายเท่ากับ ตัวอักษรที่ทาให้URI ไม่ทางาน เช่น whitespace, เครื่องหมายคาถาม, เครื่องหมายเท่ากับ หรือตัวอักษรพิมพ์ ไม่ได้ จะได้รับการเข้าเป็นเลขฐานสิบหก ตัวการส่งใบสั่งซื้อจากลูกค้าชื่อ "สุวรรณ แสงแก้ว" หมายเลขสมาชิก NA1235 และ รายการสั่งซื้อ http://localhost/phptrain/chapter01/processorder.php?name=%CA%D8%C7%C3%C 3%B3 +%E1%CA%A7%E1%A1%E9%C7+%2F+NA1235&shampooqty=6&conditionerqt y=5&soapqty=3 การส่งด้วยเมธอด GET มีข้อดีคือ ทาการตรวจสอบข้อมูลได้ง่ายเพราะมองเห็นได้ใน URI แต่มีข้ออ่อนบางประการ ถ้า URI เป็นข้อความยาวมากของฟอร์มที่ฟิลด์จานวนมาก ถึงแม้ว่าbrowser ส่วนใหญ่ สามารถควบคุมข้อความนาเข้า แต่การอ่าน URI ทาได้ยากและการกระจายยุ่งยาก ฟิลด์รหัสผ่านได้รับการส่งเป็นข้อความธรรมดาบน URI ขณะที่เมธอด POST ส่ง รหัสผ่านเป็นข้อความธรรมดา URI ของ GET ได้รับการมองเห็นและจาได้โดย browser ดังนั้นผู้ใช้อื่นที่ใช้คอมพิวเตอร์สามารถค้นหาชื่อและรหัสผ่านได้
  • 12. 8 เมธอด GET ไม่สนับสนุนการอัพโหลดไฟล์กับฟอร์ม เมธอด GET ไม่สนับสนุนตัวอักษรอื่นนอกจาก ASCII จึงต้องมีงานเพิ่มขึ้น ถ้าส่งด้วย ตัวอักษรส่วนขยาย เมธอด POST เป็นอีกวิธีในการส่งข้อมูล โดยส่งในส่วนbody ของคาขอ HTTP ไปยัง แม่ข่าย เมธอดนี้มีข้อได้เปรียบคือ เห็นน้อยกว่าเมธอด POST ควบคุมชุดตัวอักษรได้ มากกว่า ASCII และไม่จากัดโดย "history" ของ browser คาแนะนาการเลือกเมธอดดังนี้ GET ใช้กับข้อมูลที่ส่งไปสาหรับการคิวรี่และไม่มีการปรับปรุงข้อมูลบนแม่ข่าย POST ใช้กับกรณีอื่น 4.2การเข้าถึงตัวแปรฟอร์ม จุดรวมของการใช้ฟอร์มใบสั่งซื้อ คือ การรวบรวมใบสั่งซื้อของลูกค้า การเก็บ รายละเอียดสิ่งที่ลูกค้าป้อนลงไปทาได้ง่ายใน PHP ภายในสคริปต์ PHP สามารถเข้าถึงแต่ละฟิลด์ของฟอร์มในฐานะตัวแปรที่มีชื่อ เดียวกับฟิลด์ของฟอร์มให้ดูตัวอย่างคาสั่งในprocessorder.php <?php $printdate = date("H:i, jS F"); echo <<<ORDERSTR <p>เวลาประมวลผลใบสั่งซื้อ {$printdate}</p> ผู้สั่งซื้อ {$_GET['name']}<br/> <p>รายละเอียดการสั่งซื้อ:<br/> {$_GET['shampooqty']} ขวด แชมพู<br/>
  • 13. 9 {$_GET['conditionerqty']} ขวด ครีมนวดผม<br/> {$_GET['soapqty']} ก้อน สบู่<br/> </p> ORDERSTR; ?> ถ้า browser ได้รับการ refresh ผลลัพธ์ของสคริปต์ จะแสดงตามภาพ 1.1.3 ค่าแต่ละ ประเภทจะปรากฎออกมา 4.3ตัวแปรฟอร์ม ข้อมูลจากสคริปต์จะส่งผ่าน superglobal array คือ $_GET หรือ $_POST ที่สามารถ เข้าถึงได้ผ่านตัวแปร PHP ชื่อตัวแปรนี้เริ่มต้นด้วยเครื่องหมายดอลลาร์($) การเข้าถึง ข้อมูลของฟอร์มผ่านตัวแปรเขียนได้ 2 วิธ วิธีที่ 1 คือ การใช้รูปแบบย่อ เช่น $soapqty วิธีที่ 2 คือ ใช้นิพจน์แบบนี้ $$_GET["soapqty"] เวอร์ชัน 4 รับข้อมูลจาก $HTTP_GET_VARS และ $HTTP_POST_VARS ที่ไม่ได้ เป็น superglobal array สาหรับ array นี้ยังมีอยู่และใช้ได้โดยการตั้งค่า register_long_arraysเป็น on ในไฟล์ php.ini
  • 14. 10 ถ้าตั้งค่าคาสั่ง register_globalsในไฟล์ php.ini เป็น on สามารถใช้ได้เฉพาะรูปแบบ short ค่านี้เป็นค่าเริ่มต้นปกติของไฟล์php.ini ถ้าตั้งค่า register_globalsเป็น off สามารถใช้วิธีที่ 2 รวมถึงต้องตั้งค่าคาสั่ง track_var เป็น on รูปแบบเต็มจะทางานได้เร็วและหลีกเลี่ยงการสร้างตัวแปรอย่างอัตโนมัติ อย่างไรก็ ตาม รูปแบบย่ออ่านได้ง่าย และเหมือนกับPHP เวอร์ชันก่อน 5.ฟังก์ชันที่มีประโยชน์ PHP มีฟังก์ชันภายในที่ทางานกับข้อความและการแสดงผล ในเบื้องต้นจะแนะนาบาง ฟังก์ชันที่มีประโยชน์ nl2br ถ้าสังเกตให้ดีจะพบว่าข้อความที่มีการเว้นบรรทัดนั้น เมื่อแสดงผลด้วยHTML จะไม่ ขึ้นบรรทัดใหม่ใน browser ของผู้ใช้ เนื่องจากการตัดwhitespace ดังนั้นการแสดงผล ให้เว้นบรรทัด ให้เรียกฟังก์ชัน nl2br() ที่จะแปลงตัวอักษรบรรทัดใหม่ให้เป็น</br> tag ตามสคริปต์นี้ <?php $stringval =<<<NLSTRING นี่เป็นตัวอย่างข้อความที่ ประกอบด้วยการขึ้นบรรทัดใหม่
  • 15. 11 และต้องการดูผลลัพธ์ ให้เหมือนกับข้อความต้นทางนี้ NLSTRING; echo nl2br($stringval); ?> ผลลัพธ์คือ นี่เป็นตัวอย่างข้อความที่ ประกอบด้วยการขึ้นบรรทัดใหม่ และต้องการดูผลลัพธ์ ให้เหมือนกับข้อความต้นทางนี้ var_dump มีบ่อยครั้งที่อาจจะมีการทดลองหรือเขียนโปรแกรม และมีความต้องการดูเนื้อหา รวมทั้งธรรมชาติแบบไดนามิคส์และไม่มีการประกาศประเภทข้อมูลให้ตัวแปรอย่าง ชัดเจน หมายความว่าจะไม่ทราบประเภทข้อมูลปัจจุบันที่แน่นอน ฟังก์ชันvar_dump แสดงประเภทและค่าของตัวแปรในผลลัพธ์ สาหรับข้อความvar_dumpให้จานวน ตัวอักษรในข้อความ <?php $floatval = 123e-456; $intvar = 123456;
  • 16. 12 $stringval = "Hello world"; var_dump($floatval); echo "<br/>n"; var_dump($intvar); echo "<br/>n"; var_dump($stringval); echo "<br/>n"; ?> ผลลัพธ์จากคาสั่งข้างบนคือ float(0) int(123456) string(10) “Hello world” print_r ฟังก์ชัน print_rคล้ายกับ var_dumpแต่สร้างผลลัพธ์ที่อ่านได้ง่าย print_r ให้มีการเพิ่ม ค่าตัวเลือก(เรียกว่า พารามิเตอร์) ที่บอกให้ฟังก์ชันนี้ส่งออกผลลัพธ์เป็นข้อความแทนที่ การส่งผลลัพธ์ออกไป <?php $stringval = "เรายินดีให้บริการสินค้าหัตถกรรมฝีมือปราณีต"; print_r ($stringval); echo "<br/>n"; $result = print_r ($stringval, TRUE); echo $result;
  • 17. 13 ?> ผลลัพธ์จากคาสั่งข้างบนคือ เรายินดีให้บริการสินค้าหัตถกรรมฝีมือปราณีต เรายินดีให้บริการสินค้าหัตถกรรมฝีมือปราณีต var_export ฟังก์ชันแสดงผลสุดท้ายคือ ฟังก์ชันvar_exportที่คล้ายกับ var_dumpมาก ยกเว้น ผลลัพธ์ได้รับการนาเสนอค่าของข้อมูลแบบคาสั่ง PHP <?php $arr = array(1, 2, 3, 4); var_export($arr); ?> ผลลัพธ์จากคาสั่งข้างบนคือ array( 0 => 1, 1 => 2, 2 => 3, 3 => 4) Quoted ในการเขียนคาสั่งข้อความโดยเฉพาะคาสั่งecho การใช้ quoted จะสร้างความสับสน ให้กับตัวกระจาย PHP ได้ เช่น echo "<td width="15%">";
  • 18. 14 คาสั่งนี้สร้างความผิดพลาด ดังนั้นต้องใช้quoted ต่างกัน echo "<td width='15%'>"; หรือ echo '<td width="15%">'; ในการเขียนประโยคคาสั่งคิวรี่ การใช้ quoted ภายในประโยคคาสั่งจะทาตัวกระจาย MySQL เกิดความสับสน INSERT INTO message VALUES("การสัมนาเรื่อง "การดูแลสุขภาพ" เริ่มเวลา 16.00 "); การคาสั่งต้องใช้ slash () กับ quoted ที่ไม่ใช้ส่วนการห้อหุ้ม INSERT INTO message VALUES("การสัมนาเรื่อง "การดูแลสุขภาพ" เริ่มเวลา 16.00 "); 6.การประยุกต์เบื้องต้น การเรียนรู้โปรแกรมแบบ OOP เริ่มต้นจากการสร้างและทางานclass ในฐานะอ๊อบเจค ที่ประกอบด้วยคุณสมบัติ (หรือคุณลักษณะ) และปฏิบัติการ (หรือเมธอด) Classการประกาศ class ใช้คีย์เวิร์ด class รายละเอียดของ class ได้รับการหุ้มในวงเล็ก ปีกกา ({ }) <?php classmyclass {
  • 19. 15 // รายละเอียด รวมถึง คุณสมบัติ และเมธอด เป็นต้น } ?> classนี้ให้ชื่อว่า myclass classสร้างคุณลักษณะเป็นการประกาศตัวแปรภายในข้อกาหนดclass ด้วยคีย์เวิร์ด var และการสร้างปฏิบัติการใช้การประกาศฟังก์ชัน ตัวอย่างการสร้าง Employee class ที่ประกอบ 4 คุณลักษณะ ใน PHP สามารถสร้างค่า เริ่มต้นได้ <?php class Employee {public $id; public $firstname = “unknown”; public $lastname;public $sex = 1; } ?>
  • 21. 17