SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
การวิจัยในชั้นเรียน
การให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google Site
โดย
นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ตาบลท่าล้อ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต8
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง : การให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google Site
1. ความเป็นมาและความสาคัญของการวิจัย
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษ
ที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการ
ดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียม
ความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจาก
ศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning
Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้
ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี มีความจาเป็นเนื่อง
ด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมี
ความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ ปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัย
ความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้
Google Site
3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถนาข้อสนเทศที่ได้จากการวิจัยไปปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
4. วิธีดาเนินการวิจัย
4.1 ประชากร
ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ที่เรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์ กับครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
จานวนทั้งหมด 157 คน
4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามการให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเอง
โดยใช้ Google Site
4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ให้นักเรียนทาแบบสอบถามแบบออนไลน์ ตาม Link ต่อไปนี้
http://goo.gl/LLiHd4
4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจัย
ในการให้ระดับความพึงพอใจสาหรับแบบสอบถามกาหนดมาตรส่วนระดับค่าความพึงพอใจไว้
5 ระดับ คือ
5 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมาก
3 หมายถึง ระดับความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด
ในการแปลผลคะแนนเฉลี่ยของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้เกณฑ์ค่าคะแนนเฉลี่ยแต่ละช่วงตาม
แบบของ จอห์น ดับบลิว เบสท์ (John W.Best) มีเกณฑ์ดังนี้
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 4.50 -5.00 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 3.50 -4.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมาก
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 -3.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจปานกลาง
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.50 -2.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อย
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.00 -1.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด
ค่าเฉลี่ย (Arithmetic mean) ( X ) ใช้คานวณค่าเฉลี่ยของตัวแปร เพื่อดูแนวโน้มของระดับ
ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (SD) ใช้คานวณเพื่อวัดการกระจาย
ระดับความคิดเห็นของข้อมูลความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม
5. ผลการวิจัย
จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 157 คน
เพศชาย 46 คน เพศหญิง 111 คน
ตาราง แสดงผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียนต่อการให้นักเรียนแก้ไขและ
พัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google Site
ข้อ รายการประเมิน  S.D. ระดับการประเมิน
1 นักเรียนสามารถประเมินผลงานตนเองได้ตลอดเวลา 3.96 0.82 มาก
2 นักเรียนสามารถศึกษารายละเอียดของงานที่ต้องทาส่ง
ได้ตลอดเวลา
3.99 0.86 มาก
3 นักเรียนสามารถตรวจสอบคะแนนของตนเองได้
ตลอดเวลา
4.40 0.78 มาก
4 นักเรียนสามารถติดตามการส่งงานของตนเอง 4.34 0.78 มาก
5 นักเรียนสามารถใช้วิธีการที่หลากหลายในการส่งงานได้
ตลอดเวลา
4.05 0.81 มาก
6 นักเรียนสามารถสอบถามครูได้ตลอดเวลา 3.60 1.05 มาก
7 นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าและอ่านเพิ่มเติมได้ 3.82 0.84 มาก
ข้อ รายการประเมิน  S.D. ระดับการประเมิน
8 นักเรียนสามารถเปรียบเทียบงานของตนเองกับผู้อื่น 4.11 0.79 มาก
9 นักเรียนสามารถแก้ไขหรือปรับปรุงงานของตนเองได้
ตลอดเวลา
4.10 0.81 มาก
10 นักเรียนคิดว่า Google site มีประโยชน์ต่อการเรียน
ของตนเอง
3.97 0.83 มาก
11 นักเรียนสามารถบันทึกงานไว้ใน Google Site 3.97 0.91 มาก
ค่าเฉลี่ยของการประเมิน 4.03 0.84 มาก
6. สรุปผล และอภิปรายผล
ผลการวิจัยครั้งนี้จะเห็นได้ว่าความพึงพอใจของนักเรียนต่อการให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนา
ผลงานตนเองโดยใช้ Google Site อยู่ในระดับมาก ( = 4.03) โดยประเด็นที่ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ย
สูงสุดคือนักเรียนสามารถตรวจสอบคะแนนของตนเอง ( =4.40) รองลงมาคือนักเรียนสามารถติดตาม
การส่งงานของตนเอง ( = 4.34)
7. เอกสารอ้างอิง
jiraporn_pakorn, 2558, ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21, (ออนไลน์), แหล่งที่มา:
http://www.vcharkarn.com/varticle/60454, สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2559
อารมณ์ สนามภู่, 2545, เอกสารคาสอน รายวิชาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย, คณะครุ
ศาสตร์ สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, ราชบุรี, หน้า 129-136, 232-241.
8. การเผยแพร่
https://krusongsak.wordpress.com/about/งานวิจัยในชั้นเรียน/
9. ภาคผนวก
แบบสอบถามออนไลน์ http://goo.gl/LLiHd4
สรุปผลตาม Link ต่อไปนี้ http://goo.gl/NUCAod
ผลงานของนักเรียน

More Related Content

Similar to การให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google site

บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
dnavaroj
 
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
SETTAWUTPOOLNAI
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
kanyarat chinwong
 
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก  บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
Maikeed Tawun
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
Wichai Likitponrak
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
krupornpana55
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
khuwawa
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
Anukun Khaiochaaum
 

Similar to การให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google site (20)

Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
613050502-4 เสฏฐวุฒิ พูลหน่าย รายงานทางวิชาการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้...
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
Tep summary
Tep summaryTep summary
Tep summary
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศกิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
กิตติกรรมประกาศ'งานลูกเกศ
 
The best teacher_of_social_media
The best teacher_of_social_mediaThe best teacher_of_social_media
The best teacher_of_social_media
 
The Best Teacher of Social Media
The Best Teacher of Social MediaThe Best Teacher of Social Media
The Best Teacher of Social Media
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
 
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก  บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม  เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
บทคัดย่อการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
9789740333593
97897403335939789740333593
9789740333593
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google site

  • 1. การวิจัยในชั้นเรียน การให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google Site โดย นายทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ตาบลท่าล้อ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต8
  • 2. วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง : การให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google Site 1. ความเป็นมาและความสาคัญของการวิจัย ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการ ดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียม ความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจาก ศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี มีความจาเป็นเนื่อง ด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมี ความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ ปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัย ความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google Site 3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สามารถนาข้อสนเทศที่ได้จากการวิจัยไปปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น 4. วิธีดาเนินการวิจัย 4.1 ประชากร ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ที่เรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์ กับครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม จานวนทั้งหมด 157 คน 4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามการให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนาผลงานตนเอง โดยใช้ Google Site 4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ให้นักเรียนทาแบบสอบถามแบบออนไลน์ ตาม Link ต่อไปนี้ http://goo.gl/LLiHd4
  • 3. 4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจัย ในการให้ระดับความพึงพอใจสาหรับแบบสอบถามกาหนดมาตรส่วนระดับค่าความพึงพอใจไว้ 5 ระดับ คือ 5 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมาก 3 หมายถึง ระดับความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อย 1 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด ในการแปลผลคะแนนเฉลี่ยของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้เกณฑ์ค่าคะแนนเฉลี่ยแต่ละช่วงตาม แบบของ จอห์น ดับบลิว เบสท์ (John W.Best) มีเกณฑ์ดังนี้ คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 4.50 -5.00 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมากที่สุด คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 3.50 -4.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมาก คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 -3.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจปานกลาง คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.50 -2.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อย คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.00 -1.49 หมายถึง ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย (Arithmetic mean) ( X ) ใช้คานวณค่าเฉลี่ยของตัวแปร เพื่อดูแนวโน้มของระดับ ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (SD) ใช้คานวณเพื่อวัดการกระจาย ระดับความคิดเห็นของข้อมูลความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม 5. ผลการวิจัย จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 157 คน เพศชาย 46 คน เพศหญิง 111 คน ตาราง แสดงผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียนต่อการให้นักเรียนแก้ไขและ พัฒนาผลงานตนเองโดยใช้ Google Site ข้อ รายการประเมิน  S.D. ระดับการประเมิน 1 นักเรียนสามารถประเมินผลงานตนเองได้ตลอดเวลา 3.96 0.82 มาก 2 นักเรียนสามารถศึกษารายละเอียดของงานที่ต้องทาส่ง ได้ตลอดเวลา 3.99 0.86 มาก 3 นักเรียนสามารถตรวจสอบคะแนนของตนเองได้ ตลอดเวลา 4.40 0.78 มาก 4 นักเรียนสามารถติดตามการส่งงานของตนเอง 4.34 0.78 มาก 5 นักเรียนสามารถใช้วิธีการที่หลากหลายในการส่งงานได้ ตลอดเวลา 4.05 0.81 มาก 6 นักเรียนสามารถสอบถามครูได้ตลอดเวลา 3.60 1.05 มาก 7 นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าและอ่านเพิ่มเติมได้ 3.82 0.84 มาก
  • 4. ข้อ รายการประเมิน  S.D. ระดับการประเมิน 8 นักเรียนสามารถเปรียบเทียบงานของตนเองกับผู้อื่น 4.11 0.79 มาก 9 นักเรียนสามารถแก้ไขหรือปรับปรุงงานของตนเองได้ ตลอดเวลา 4.10 0.81 มาก 10 นักเรียนคิดว่า Google site มีประโยชน์ต่อการเรียน ของตนเอง 3.97 0.83 มาก 11 นักเรียนสามารถบันทึกงานไว้ใน Google Site 3.97 0.91 มาก ค่าเฉลี่ยของการประเมิน 4.03 0.84 มาก 6. สรุปผล และอภิปรายผล ผลการวิจัยครั้งนี้จะเห็นได้ว่าความพึงพอใจของนักเรียนต่อการให้นักเรียนแก้ไขและพัฒนา ผลงานตนเองโดยใช้ Google Site อยู่ในระดับมาก ( = 4.03) โดยประเด็นที่ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ย สูงสุดคือนักเรียนสามารถตรวจสอบคะแนนของตนเอง ( =4.40) รองลงมาคือนักเรียนสามารถติดตาม การส่งงานของตนเอง ( = 4.34) 7. เอกสารอ้างอิง jiraporn_pakorn, 2558, ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21, (ออนไลน์), แหล่งที่มา: http://www.vcharkarn.com/varticle/60454, สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2559 อารมณ์ สนามภู่, 2545, เอกสารคาสอน รายวิชาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย, คณะครุ ศาสตร์ สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง, ราชบุรี, หน้า 129-136, 232-241. 8. การเผยแพร่ https://krusongsak.wordpress.com/about/งานวิจัยในชั้นเรียน/
  • 6.
  • 7.
  • 9.
  • 10.
  • 11.