SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บรรยายโดย อาจารย์วาสนา ศรีรักษ์
บทบาทหน้าที่ และความสาคัญของคติชนใน
เมืองไทย
คติชนกับการเป็นทางออก (social outlet)
สาหรับความขัดแย้งและกฎเกณฑ์ทางสังคม
คติชนกับการให้การศึกษาและอบรมระเบียบสังคม
คติชนกับการถ่ายทอดความเชื่อและพิธีกรรม
คติชนกับการสร้างเอกลักษณ์และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
คติชนกับการเป็นทางออก (social outlet)
๑. นิทานกับทางออกของความขัดแย้งในครอบครัว
 -นิทานฝรั่งกับทางออกของความขัดแย้งในครอบครัวฝรั่ง
 -นิทานจักรๆ วงศ์ๆ กับทางออกของความขัดแย้งในครอบครัวไทย
๒. มุกตลก : ทางออกของความกดดันจากกฎเกณฑ์และระเบียบสังคม
 -ยิ่งสังคมเคร่งครัดเรื่องใด เรื่องนั้นมักจะเป็นเนื้ อหาของมุกตลก
 -การดึงความจริงจากมุกตลกจึงดึงอย่างตรงไปตรงมาไม่ได้ กลับจะต้องแปลให้
ตรงกันข้ามกับความเป็นจริงเสียด้วยซ้า
 ความกตัญญู
 อานาจจิตศรัทธา
 การสั่งสอนจริยธรรม
คติชนกับการถ่ายทอดความเชื่อและพิธีกรรม
สังคมล่าสัตว์
สังคมเลี้ยงสัตว์
สังคมเกษตรกรรม
ตานานกับพิธีกรรม (myth and ritual)
ตานานในวัฒนธรรมข้าว
คติชนกับการสร้างเอกลักษณ์และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
 ๑. นิยายท้องถิ่น (legend) กับการอธิบายประวัติสถานที่
 ๒. นิยายท้องถิ่นเกี่ยวกับ “ผู้นาทางวัฒนธรรม” กับการ
“บันทึก” ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
 ๓. ตานาน (myth)กับการบันทึกประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติ
พันธุ์
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒธนธรรมหลวงและวัฒนธรรม
ราษฎร์
จากนิทานพื้นบ้านไปสู่วรรณคดีชาดกและวรรณคดีท้องถิ่น
จากนิทานพื้นบ้านไปสู่วรรณคดีราชสานัก ละคร
และทัศนศิลป์
นิทานสมัยใหม่กับสังคมร่วมสมัย
สรุป
 ๑. การเรียนการสอนคติชนควรมุ่งให้เห็นคุณค่าและบทบาทของคติชนในหลาย
ระดับ
 ๑.๑ บทบาทของคติชนที่มีต่อบุคคลในฐานะที่ตอบสนองความต้องการทาง
จิตใจของคนในสังคม เมื่อคนในสังคมมีความขัดแย้งในจิตใจ โดยทาหน้าที่เป็น
“ทางออก” สาหรับความกดดัน
 ๑.๒ บทบาทของคติชนต่อกลุ่มชน ต่อชุมชน หรือต่อท้องถิ่น ในฐานะเป็น
เครื่องบอกเอกลักษณ์ของกลุ่ม
 ๑.๓ บทบาทของคติชนในฐานะเป็นกลไกทางสังคมในการอบรมระเบียบ
สังคมและถ่ายทอดจารีตและวัฒนธรรม
สรุป
 คติชนเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม
 คติชนของแต่ละวัฒนธรรมย่อมต่างกัน
 คติชนสัมพันธ์กับชีวิตวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น
 การศึกษาคติชนควรนาไปสู่ความเข้าใจชีวิตจิตใจและวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้นๆ ให้ดีขึ้น
 นักคติชนควรทาความเข้าใจบทบาทของคติชนที่มีต่อคนในแต่ละท้องถิ่น
 การเรียนการสอนคติชน ควรศึกษาบริบททางสังคมวัฒนธรรมท้องถิ่นควบคู่ไปด้วย
 คติชนเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม
 ถ้าวัฒนธรรมเปลี่ยนไป คติชนย่อมเปลี่ยนไปด้วย
 การศึกษาคติชนจึงควรมองในแง่ความเปลี่ยนแปลงของคติชนด้วย
 การศึกษาคติชนท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของสังคมเป็นสิ่งจาเป็น
 ควรศึกษารูปแบบและเนื้อหาของคติชนที่เปลี่ยนไปเพื่อดูว่าสังคมที่เปลี่ยนไป เป็น
ตัวกาหนดเนื้อหาและรูปแบบของคติชนอย่างไร
 ควรศึกษาคติชนที่เปลี่ยนไปเพื่อใช้เป็นสิ่งสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สรุป
 ข้อมูลทางคติชนเป็นข้อมูลที่มีคุณค่า ทาให้คนเข้าใจกลไก
ทางสังคม
 คติชนเป็นสิ่งสากลที่มนุษย์ในทุกวัฒนธรรมสรรสร้างขึ้น
 คติชนทาให้เห็นลักษณะของมนุษยชาติที่มีศิลปะในจิตใจ
 คติชนเป็นข้อมูลที่เป็นศิลปวัฒนธรรม สะท้อนจินตนาการ
และสุนทรียะของมนุษย์
 คติชนที่เป็นเรื่องเล่าสะท้อนปัญญาและจินตนาการการผูกเรื่อง
 คติชนที่เป็นถ้อยคา เช่น ปริศนา ภาษิต สะท้อนศิลปะการใช้ภาษา
 คติชนที่เป็นการละเล่น การแสดง สะท้อนความสามารถทางเสียงเพลง ดนตรี
การร่ายราและการฟ้อนรา
 คติชนที่เป็นวัตถุสะท้อนความมีศิลปะและจินตนาการของมนุษย์
เห็นได้จาก ลายผ้า การทอผ้า การจักสาน การทาเครื่องประดับเงินทอง
 คติชนที่เป็นความเชื่อ พิธีกรรม สะท้อนปัญญาของมนุษย์ในการหาคาตอบ
และมีกลวิธีในการต่อรองและควบคุมธรรมชาติ
คติชนเป็นข้อมูลที่มีค่าแก่การศึกษาเพราะ
เป็นการสร้างสรรค์ของมนุษย์
ในแต่ละวัฒนธรรม เป็นผลผลิต
ทางจินตนาการ และปัญญา
ของมนุษยชาติ
 ศิราพร ฐิตะฐาน ณ ถลาง. ในท้องถิ่นมีนิทานและการละเล่น...
การศึกษาคติชนในบริบทสังคมไทย. กรุงเทพฯ : มติชน,
๒๕๓๙

More Related Content

What's hot

การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6WijittraSreepraram
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 

What's hot (20)

การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1Powerpoint คำนาม ม.1
Powerpoint คำนาม ม.1
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
Kruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contestKruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contest
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6โวหารการเขียน ม.6
โวหารการเขียน ม.6
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 

บทบาทหน้าที่ของข้อมูลคติชน