SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
บรรยายโดย อาจารย์วาสนา ศรีรักษ์
เคนเน็ธ โกลสไตน์ (Kennenth S. Goldstein,1964) :
นักคติชนวิทยาควรจะเรียนรู้แนววิจัยต่างๆ ให้กว้างขวางที่สุด
เท่าที่จะมากได้ เพื่อที่จะได้ไม่จากัดตนเองอยู่เฉพาะแนวใดแนวเดียว
หรือวิธีการเก็บข้อมูลภาคสนามวิธีใด วิธีเดียว แต่สามารถ
ที่จะเลือกใช้วิธีการและแนววิเคราะห์วิจัยที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด
ให้ความเข้าใจสิ่งที่ศึกษาได้กว้างลึกซึ้งที่สุด
ข้อควรตระหนักในการศึกษาวิจัยและการเก็บข้อมูล
 แนวการศึกษาวิจัยแต่ละแนว วิธีการเก็บข้อมูลแต่ละวิธี สามารถให้ข้อมูล
และคาตอบได้ตามที่ผู้วิจัยได้ตั้งเป้าหมายไว้เท่านั้น เช่น หากก่อนเก็บข้อมูล
ในสนามได้ตั้งเป้าหมายไว้แต่เพียงว่า ต้องการจะบรรยายเกี่ยวกับคติชนที่พบ
และเก็บได้ในสนาม ข้อมูลที่ได้จะเป็ นข้อมูลประเภทบรรยาย
(descriptive data) เท่านั้น และเมื่อขาดการวางประเด็น
การตั้งปัญหา ตั้งคาถาม ตั้งสมมุติฐานไว้ก่อนการศึกษาเก็บข้อมูลในสนาม
ข้อมูลที่เก็บมาได้ก็มักจะขาดข้อมูลที่จะให้คาตอบต่อประเด็น หรือคาถาม
อันน่าที่จะเป็นสมมุติฐาน น่าที่จะเป็นเป้าหมายการวิจัย โดยที่ผู้วิจัย
อาจมองข้าม ไม่ทันได้ตระหนักถึงความสาคัญของข้อมูลในประเด็นดังกล่าว
SCIENTIFIC INQUIRY – การเก็บข้อมูลอย่างเป็นวิชาการ
 ขั้นตอนการเก็บข้อมูล
 ๑. การวางประเด็นของเรื่องในรูปแบบของการตั้งสมมติฐาน
 ๒. การวิเคราะห์แผนการเก็บข้อมูล
 ๓. การเก็บข้อมูล
 ๔. การวิเคราะห์ข้อมูล
 ๕. การเสนอผลวิจัย
 ๖. การสร้างสมมติฐานจากผลการวิจัยเพื่อใช้เป็นเป้าหมาย หรือเป็นประเด็นสาหรับ
โครงการวิจัยอื่นต่อไป
 การวางประเด็นของเรื่องหมายถึงการตั้งเป้าหมายก่อนการเก็บข้อมูลภาคสนาม
ว่าต้องการศึกษาเก็บข้อมูลเรื่องนั้นด้านใด และวางปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนั้นไว้
อย่างไร
 สมมติฐานไม่ใช่การคาดคะเน แต่เป็นสิ่งสมมุติขึ่นชั่วคราวก่อนการเก็บข้อมูลว่า
เป็นความจริง เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัย เพื่อทาการทดสอบค้นหาคาตอบ
ในสนาม
 เพราะฉะนั้น ก่อนตั้งสมมติฐาน จะยังไม่มีข้อมูลหรือหลักฐานมาพิสูจน์ว่า
สมมติฐานนั้นสอดคล้องกับความเป็นจริงหรือไม่
๑.การวางประเด็นของเรื่องในรูปแบบของการตั้งสมมติฐาน
 คำตอบที่หำได้จำกข้อมูลภำคสนำมนั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นคำตอบที่สนับสนุน
สมมติฐำนที่ตั้งไว้ เพรำะจุดประสงค์ของกำรตั้งสมมติฐำนนั้น คือ ช่วยทำให้
กระบวนกำรเก็บข้อมูลในสนำมไม่เลื่อนลอย มีเป้ ำหมำย และสำมำรถทำกำร
ทดสอบได้
 ไม่ว่ำข้อมูลที่เก็บได้ในภำคสนำมจะสนับสนุนสมมติฐำนหรือไม่ ข้อมูลนั้นก็
น่ำสนใจทั้งสิ้น
 กำรตั้งสมมติฐำนก่อนกำรเก็บข้อมูลในสนำมอำจตั้งไว้หลำยสมมติฐำนได้ เพื่อ
เป็นแนว เป็นเป้ ำหมำย และเป็นจุดเริ่มของกำรวิจัย
๑.กำรวำงประเด็นของเรื่องในรูปแบบของกำรตั้งสมมติฐำน
 เมื่อตั้งสมมติฐำนแล้ว ผู้เก็บข้อมูลควรวำงแนวควำมคิดของตนเองไว้ให้เป็น
กลำง ไม่ควรมีอคติเข้ำข้ำงสมมติฐำนที่ตั้งไว้ ซึ่งจะมีผลทำให้พยำยำม
ทดสอบพิสูจน์ว่ำสมมติฐำนที่ตั้งไว้นั้นสอดคล้องกับข้อมูลควำมเป็นจริงใน
ภำคสนำม ผู้วิจัยควรพยำยำมตรวจสอบข้อมูล สังเกตพฤติกรรม เหตุกำรณ์
และสอบถำมผู้ให้ข้อมูล รวมทั้งพยำยำมวิเครำะห์ค้นคว้ำว่ำมีข้อมูลที่คัดค้ำน
สมมติฐำนหรือไม่ อย่ำงไร
 ในกรณีที่เข้ำไปเก็บข้อมูลในสังคมหรือหมู่บ้ำนที่ไม่คุ้นเคย ผู้เก็บข้อมูล
จำเป็นจะต้องค้นคว้ำในห้องสมุดหรือตำมเว็บไซต์เพื่อค้นหำข้อมูล แนวคิด
หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น เพื่อนำมำเป็นพื้นฐำนของกำรตั้ง
สมมตฐำน
 ๑. สถานที่ที่จะดาเนินงานวิจัย
- เก็บข้อมูลจากสถานที่ใดบ้าง และสถานที่นั้นมีลักษณะเฉพาะอย่างไร
 ๒. กาหนดเวลาสาหรับเก็บข้อมูล
- จะใช้เวลาในการเก็บข้อมูลภาคสนามนานเท่าใด
 ๓. ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง
- มีข้อมูลอื่นใด ที่เกี่ยวข้องอีกหรือไม่ และจะค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ใด
๓. วิธีการเก็บข้อมูล
๓.๑ วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์สอบถาม
๓.๑.๑ สัมภาษณ์แบบเป็นทางการ formal interview
- มีแบบฟอร์มสอบถาม พูดคุยตามหัวข้อที่กาหนดไว้
- นัดล่วงหน้า อธิบายล่วงหน้าให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เข้าใจ
๓.๑.๒ สัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ informal
interview
- การพูดคุยแลกเปลี่ยน เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกโอกาส
๓. วิธีการเก็บข้อมูล
• ๓.๒ หลักการในการสัมภาษณ์
๑. ใช้คาพูดที่เข้าใจง่าย
๒. งดเว้นการใช้ศัพท์ทางวิชาการ
๓. ตามเรื่อง เพราะผู้พูดบางคนอาจพูดเก่ง ขี้อาย พูดน้อย ไม่นัดแสดงความ
คิดเห็น
๔. หากผู้ถูกสัมภาษณ์ไม่สะดวกใจให้มีการบันทึกเทป ผู้สัมภาษณ์ต้องมี
วิธีการบันทึกข้อมูลที่ได้สัมภาษณ์ให้ได้ข้อมูลครบถ้วน
๕. หากมีการบันทึกเสียงด้วยเครื่องมือต่างๆ ผู้สัมภาษณ์ควรเปิดสิ่งที่บันทึก
ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ฟังด้วย
๓. วิธีการเก็บข้อมูล
 ๓.๓ จรรยาบรรณของผู้วิจัย
 ๓.๓.๑ หากผู้ให้ข้อมูลไม่เต็มใจที่จะให้มีการบันทึกข้อมูลไว้เป็นลายลักษณ์
อักษรหรือบันทึกเสียงด้วยเครื่องมือต่างๆ ผู้วิจัยควรเคารพสิทธิ์ของผู้ให้
ข้อมูล และปฏิบัติตามคาร้องขอ
 ๓.๓.๒ ผู้เก็บข้อมูลต้องบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาของข้อมูล ต้องระบุ
ชื่อและบันทึกรายละเอียดที่จาเป็นและเกี่ยวข้องกับผู้ให้ข้อมูลให้ครบถ้วน
เพื่อเป็นการให้เกียรติผู้ให้ข้อมูล
 ๓.๓.๓ หากทาโครงการวิจัยเกี่ยวข้องกับทั้งชุมชน ทั้งหมู่บ้าน ทุกคนใน
หมู่บ้านนั้นมีสิทธิ์ที่จะรู้ว่าตนเป็นเป้าหมายการวิจัย มีสิทธิ์ที่จะรู้ว่าหัวข้อ
วิจัยคืออะไร และเมื่อวิจัยเสร็จแล้ว ผลวิจัยจะถูกนาไปใช้อย่างไร
๓. วิธีการเก็บข้อมูล
 ๓.๓.๔ เมื่อทางานวิจัยเสร็จแล้ว หรือเก็บข้อมูลเขียนเป็นรายงานแล้ว
ควรส่งรายงานหรือผลการวิจัยกลับไปยังชุมชนหรือหมู่บ้านที่ผู้วิจัย
เข้าไปเก็บข้อมูล ถ้าชุมชนนั้นไม่มีห้องสมุด ให้ส่งกลับไปที่กานัน
ผู้ใหญ่บ้าน ครูใหญ่ เป็นต้น
 ๓.๓.๕ ผู้ให้ข้อมูลและชุมชนที่ศึกษา มีสิทธิ์ที่จะรับรู้ว่า เรื่องที่เขา
ถ่ายทอด ปัญหาที่เขาเปิดเผยให้ฟัง ได้รับการเสนอหรือวิเคราะห์
ตีความถูกต้องหรือไม่ เขาเห็นด้วยหรือไม่ ยิ่งเป็นประวัติศาสตร์จาก
คาบอกเล่าหรือเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิต เกียรติยศชื่อเสียง ยิ่งต้งอ
ระมัดระวังมากเป็นพิเศษ
๓. วิธีการเก็บข้อมูล
 ๓.๓.๖ ทัศนคติของผู้วิจัยเกี่ยวกับบทบาทของตนเองขณะที่เก็บข้อมูล
ภาคสนามเป็นตัวแปรที่สาคัญยิ่ง
 ๓.๓.๗ ผู้วิจัยควรเข้าไปทาการวิจัยด้วยทัศนคติที่ว่า ตนคือผู้ที่
ต้องการเรียนรู้ เป็นผู้ศึกษา เป็นผู้ไม่รู้ ไม่ใช่ผู้คงแก่เรียนที่รู้ดีแล้ว
เพราะหากรู้ดีแล้ว ก็ไม่ต้องเข้าไปศึกษาวิจัย
 ๓.๓.๘ ผู้วิจัยต้องมีความละเอียดอ่อน เอาใจเขามาใส่ใจเรา เคารพ
สิทธิ์ของผู้ให้ข้อมูล มีจรรยาบรรณ
 ๓.๓.๙ ต้องสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่ให้เกิด
ผลกระทบต่อผู้อื่น
 ๑. กล้องถ่ายรูป
 ๒. เครื่องมือสาหรับบันทึกเสียง – ภาพเคลื่อนไหว
 ๓. แบบฟอร์มบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับภาพถ่าย หรือ เสียงที่บันทึก หรือภาพ
เหตุการณ์ที่บันทึกไว้
 ผู้เก็บข้อมูล................................... เทป/ภาพถ่ายเลขที่...............................
 ชื่อผู้ให้ข้อมูล/ชื่อเหตุการณ์.........................................................................
 ข้อมูลประกอบหน้า/เรื่อง...................ภาพ/เสียงประกอบเลขที่.....................
 วันเดือนปีที่บันทึก......................................เวลาที่บันทึก..............................
 สถานที่เก็บข้อมูล........................................................................................
 ฉาก/โอกาสที่แสดง......................................................................................
 ข้อมูลเพิ่มเติม/ข้อสังเกต..............................................................................
 ข้อมูลอื่นที่อาจเกี่ยวข้อง................................................................................
การวางแผนการวิจัยที่ดีนั้น ไม่ควรเป็น
การเก็บข้อมูลแบบสะเปะสะปะ แต่ควรมี
ขั้นตอน มีกระบวนการ ไม่กว้างเกินไป
จนเก็บข้อมูลไม่ได้สาเร็จครบถ้วน และไม่
แคบเกินไปจนมองไม่เห็นความสาคัญ
เลยว่า ทาไมจึงควรศึกษาคติชนนั้นๆ
ที่มาของข้อมูล
 วรรณี วิบูลย์สวัสดิ์ แอนเดอร์สัน (บรรณาธิการ). พื้นถิ่นพื้นฐาน:
มิติใหม่ของคติชนวิทยาและวิถีชีวิตสามัญของ “พื้นบ้าน
พื้นเมือง. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, ๒๕๓๑. หน้า ๙๐-
๑๐๔.

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1Similun_maya
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1Similun_maya
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Pop Punkum
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทนิทาน1
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาข้อมูลคติชน1
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 

ระเบียบวิธีวิจัย

  • 2. เคนเน็ธ โกลสไตน์ (Kennenth S. Goldstein,1964) : นักคติชนวิทยาควรจะเรียนรู้แนววิจัยต่างๆ ให้กว้างขวางที่สุด เท่าที่จะมากได้ เพื่อที่จะได้ไม่จากัดตนเองอยู่เฉพาะแนวใดแนวเดียว หรือวิธีการเก็บข้อมูลภาคสนามวิธีใด วิธีเดียว แต่สามารถ ที่จะเลือกใช้วิธีการและแนววิเคราะห์วิจัยที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด ให้ความเข้าใจสิ่งที่ศึกษาได้กว้างลึกซึ้งที่สุด
  • 3. ข้อควรตระหนักในการศึกษาวิจัยและการเก็บข้อมูล  แนวการศึกษาวิจัยแต่ละแนว วิธีการเก็บข้อมูลแต่ละวิธี สามารถให้ข้อมูล และคาตอบได้ตามที่ผู้วิจัยได้ตั้งเป้าหมายไว้เท่านั้น เช่น หากก่อนเก็บข้อมูล ในสนามได้ตั้งเป้าหมายไว้แต่เพียงว่า ต้องการจะบรรยายเกี่ยวกับคติชนที่พบ และเก็บได้ในสนาม ข้อมูลที่ได้จะเป็ นข้อมูลประเภทบรรยาย (descriptive data) เท่านั้น และเมื่อขาดการวางประเด็น การตั้งปัญหา ตั้งคาถาม ตั้งสมมุติฐานไว้ก่อนการศึกษาเก็บข้อมูลในสนาม ข้อมูลที่เก็บมาได้ก็มักจะขาดข้อมูลที่จะให้คาตอบต่อประเด็น หรือคาถาม อันน่าที่จะเป็นสมมุติฐาน น่าที่จะเป็นเป้าหมายการวิจัย โดยที่ผู้วิจัย อาจมองข้าม ไม่ทันได้ตระหนักถึงความสาคัญของข้อมูลในประเด็นดังกล่าว
  • 4. SCIENTIFIC INQUIRY – การเก็บข้อมูลอย่างเป็นวิชาการ  ขั้นตอนการเก็บข้อมูล  ๑. การวางประเด็นของเรื่องในรูปแบบของการตั้งสมมติฐาน  ๒. การวิเคราะห์แผนการเก็บข้อมูล  ๓. การเก็บข้อมูล  ๔. การวิเคราะห์ข้อมูล  ๕. การเสนอผลวิจัย  ๖. การสร้างสมมติฐานจากผลการวิจัยเพื่อใช้เป็นเป้าหมาย หรือเป็นประเด็นสาหรับ โครงการวิจัยอื่นต่อไป
  • 5.  การวางประเด็นของเรื่องหมายถึงการตั้งเป้าหมายก่อนการเก็บข้อมูลภาคสนาม ว่าต้องการศึกษาเก็บข้อมูลเรื่องนั้นด้านใด และวางปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนั้นไว้ อย่างไร  สมมติฐานไม่ใช่การคาดคะเน แต่เป็นสิ่งสมมุติขึ่นชั่วคราวก่อนการเก็บข้อมูลว่า เป็นความจริง เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัย เพื่อทาการทดสอบค้นหาคาตอบ ในสนาม  เพราะฉะนั้น ก่อนตั้งสมมติฐาน จะยังไม่มีข้อมูลหรือหลักฐานมาพิสูจน์ว่า สมมติฐานนั้นสอดคล้องกับความเป็นจริงหรือไม่
  • 6. ๑.การวางประเด็นของเรื่องในรูปแบบของการตั้งสมมติฐาน  คำตอบที่หำได้จำกข้อมูลภำคสนำมนั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นคำตอบที่สนับสนุน สมมติฐำนที่ตั้งไว้ เพรำะจุดประสงค์ของกำรตั้งสมมติฐำนนั้น คือ ช่วยทำให้ กระบวนกำรเก็บข้อมูลในสนำมไม่เลื่อนลอย มีเป้ ำหมำย และสำมำรถทำกำร ทดสอบได้  ไม่ว่ำข้อมูลที่เก็บได้ในภำคสนำมจะสนับสนุนสมมติฐำนหรือไม่ ข้อมูลนั้นก็ น่ำสนใจทั้งสิ้น  กำรตั้งสมมติฐำนก่อนกำรเก็บข้อมูลในสนำมอำจตั้งไว้หลำยสมมติฐำนได้ เพื่อ เป็นแนว เป็นเป้ ำหมำย และเป็นจุดเริ่มของกำรวิจัย
  • 7. ๑.กำรวำงประเด็นของเรื่องในรูปแบบของกำรตั้งสมมติฐำน  เมื่อตั้งสมมติฐำนแล้ว ผู้เก็บข้อมูลควรวำงแนวควำมคิดของตนเองไว้ให้เป็น กลำง ไม่ควรมีอคติเข้ำข้ำงสมมติฐำนที่ตั้งไว้ ซึ่งจะมีผลทำให้พยำยำม ทดสอบพิสูจน์ว่ำสมมติฐำนที่ตั้งไว้นั้นสอดคล้องกับข้อมูลควำมเป็นจริงใน ภำคสนำม ผู้วิจัยควรพยำยำมตรวจสอบข้อมูล สังเกตพฤติกรรม เหตุกำรณ์ และสอบถำมผู้ให้ข้อมูล รวมทั้งพยำยำมวิเครำะห์ค้นคว้ำว่ำมีข้อมูลที่คัดค้ำน สมมติฐำนหรือไม่ อย่ำงไร  ในกรณีที่เข้ำไปเก็บข้อมูลในสังคมหรือหมู่บ้ำนที่ไม่คุ้นเคย ผู้เก็บข้อมูล จำเป็นจะต้องค้นคว้ำในห้องสมุดหรือตำมเว็บไซต์เพื่อค้นหำข้อมูล แนวคิด หรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น เพื่อนำมำเป็นพื้นฐำนของกำรตั้ง สมมตฐำน
  • 8.  ๑. สถานที่ที่จะดาเนินงานวิจัย - เก็บข้อมูลจากสถานที่ใดบ้าง และสถานที่นั้นมีลักษณะเฉพาะอย่างไร  ๒. กาหนดเวลาสาหรับเก็บข้อมูล - จะใช้เวลาในการเก็บข้อมูลภาคสนามนานเท่าใด  ๓. ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง - มีข้อมูลอื่นใด ที่เกี่ยวข้องอีกหรือไม่ และจะค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ใด
  • 9. ๓. วิธีการเก็บข้อมูล ๓.๑ วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์สอบถาม ๓.๑.๑ สัมภาษณ์แบบเป็นทางการ formal interview - มีแบบฟอร์มสอบถาม พูดคุยตามหัวข้อที่กาหนดไว้ - นัดล่วงหน้า อธิบายล่วงหน้าให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เข้าใจ ๓.๑.๒ สัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ informal interview - การพูดคุยแลกเปลี่ยน เกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกโอกาส
  • 10. ๓. วิธีการเก็บข้อมูล • ๓.๒ หลักการในการสัมภาษณ์ ๑. ใช้คาพูดที่เข้าใจง่าย ๒. งดเว้นการใช้ศัพท์ทางวิชาการ ๓. ตามเรื่อง เพราะผู้พูดบางคนอาจพูดเก่ง ขี้อาย พูดน้อย ไม่นัดแสดงความ คิดเห็น ๔. หากผู้ถูกสัมภาษณ์ไม่สะดวกใจให้มีการบันทึกเทป ผู้สัมภาษณ์ต้องมี วิธีการบันทึกข้อมูลที่ได้สัมภาษณ์ให้ได้ข้อมูลครบถ้วน ๕. หากมีการบันทึกเสียงด้วยเครื่องมือต่างๆ ผู้สัมภาษณ์ควรเปิดสิ่งที่บันทึก ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ฟังด้วย
  • 11. ๓. วิธีการเก็บข้อมูล  ๓.๓ จรรยาบรรณของผู้วิจัย  ๓.๓.๑ หากผู้ให้ข้อมูลไม่เต็มใจที่จะให้มีการบันทึกข้อมูลไว้เป็นลายลักษณ์ อักษรหรือบันทึกเสียงด้วยเครื่องมือต่างๆ ผู้วิจัยควรเคารพสิทธิ์ของผู้ให้ ข้อมูล และปฏิบัติตามคาร้องขอ  ๓.๓.๒ ผู้เก็บข้อมูลต้องบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาของข้อมูล ต้องระบุ ชื่อและบันทึกรายละเอียดที่จาเป็นและเกี่ยวข้องกับผู้ให้ข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นการให้เกียรติผู้ให้ข้อมูล  ๓.๓.๓ หากทาโครงการวิจัยเกี่ยวข้องกับทั้งชุมชน ทั้งหมู่บ้าน ทุกคนใน หมู่บ้านนั้นมีสิทธิ์ที่จะรู้ว่าตนเป็นเป้าหมายการวิจัย มีสิทธิ์ที่จะรู้ว่าหัวข้อ วิจัยคืออะไร และเมื่อวิจัยเสร็จแล้ว ผลวิจัยจะถูกนาไปใช้อย่างไร
  • 12. ๓. วิธีการเก็บข้อมูล  ๓.๓.๔ เมื่อทางานวิจัยเสร็จแล้ว หรือเก็บข้อมูลเขียนเป็นรายงานแล้ว ควรส่งรายงานหรือผลการวิจัยกลับไปยังชุมชนหรือหมู่บ้านที่ผู้วิจัย เข้าไปเก็บข้อมูล ถ้าชุมชนนั้นไม่มีห้องสมุด ให้ส่งกลับไปที่กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ครูใหญ่ เป็นต้น  ๓.๓.๕ ผู้ให้ข้อมูลและชุมชนที่ศึกษา มีสิทธิ์ที่จะรับรู้ว่า เรื่องที่เขา ถ่ายทอด ปัญหาที่เขาเปิดเผยให้ฟัง ได้รับการเสนอหรือวิเคราะห์ ตีความถูกต้องหรือไม่ เขาเห็นด้วยหรือไม่ ยิ่งเป็นประวัติศาสตร์จาก คาบอกเล่าหรือเรื่องเล่าเกี่ยวกับชีวิต เกียรติยศชื่อเสียง ยิ่งต้งอ ระมัดระวังมากเป็นพิเศษ
  • 13. ๓. วิธีการเก็บข้อมูล  ๓.๓.๖ ทัศนคติของผู้วิจัยเกี่ยวกับบทบาทของตนเองขณะที่เก็บข้อมูล ภาคสนามเป็นตัวแปรที่สาคัญยิ่ง  ๓.๓.๗ ผู้วิจัยควรเข้าไปทาการวิจัยด้วยทัศนคติที่ว่า ตนคือผู้ที่ ต้องการเรียนรู้ เป็นผู้ศึกษา เป็นผู้ไม่รู้ ไม่ใช่ผู้คงแก่เรียนที่รู้ดีแล้ว เพราะหากรู้ดีแล้ว ก็ไม่ต้องเข้าไปศึกษาวิจัย  ๓.๓.๘ ผู้วิจัยต้องมีความละเอียดอ่อน เอาใจเขามาใส่ใจเรา เคารพ สิทธิ์ของผู้ให้ข้อมูล มีจรรยาบรรณ  ๓.๓.๙ ต้องสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่ให้เกิด ผลกระทบต่อผู้อื่น
  • 14.  ๑. กล้องถ่ายรูป  ๒. เครื่องมือสาหรับบันทึกเสียง – ภาพเคลื่อนไหว  ๓. แบบฟอร์มบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับภาพถ่าย หรือ เสียงที่บันทึก หรือภาพ เหตุการณ์ที่บันทึกไว้
  • 15.  ผู้เก็บข้อมูล................................... เทป/ภาพถ่ายเลขที่...............................  ชื่อผู้ให้ข้อมูล/ชื่อเหตุการณ์.........................................................................  ข้อมูลประกอบหน้า/เรื่อง...................ภาพ/เสียงประกอบเลขที่.....................  วันเดือนปีที่บันทึก......................................เวลาที่บันทึก..............................  สถานที่เก็บข้อมูล........................................................................................  ฉาก/โอกาสที่แสดง......................................................................................  ข้อมูลเพิ่มเติม/ข้อสังเกต..............................................................................  ข้อมูลอื่นที่อาจเกี่ยวข้อง................................................................................
  • 16. การวางแผนการวิจัยที่ดีนั้น ไม่ควรเป็น การเก็บข้อมูลแบบสะเปะสะปะ แต่ควรมี ขั้นตอน มีกระบวนการ ไม่กว้างเกินไป จนเก็บข้อมูลไม่ได้สาเร็จครบถ้วน และไม่ แคบเกินไปจนมองไม่เห็นความสาคัญ เลยว่า ทาไมจึงควรศึกษาคติชนนั้นๆ
  • 17. ที่มาของข้อมูล  วรรณี วิบูลย์สวัสดิ์ แอนเดอร์สัน (บรรณาธิการ). พื้นถิ่นพื้นฐาน: มิติใหม่ของคติชนวิทยาและวิถีชีวิตสามัญของ “พื้นบ้าน พื้นเมือง. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, ๒๕๓๑. หน้า ๙๐- ๑๐๔.