SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
บัณฑิตศึกษา
ความคาดหวัง ความท้าทาย
และการแสวงหาทางออก
วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์
มุมมองของรัฐ
ความคาดหวัง
• พลเมืองมีคุณภาพสูงขึ้น
• มีงานวิจัยแก้ปัญหาประเทศทั้งด้านเทคโนโลยี
เศรษฐกิจและสังคม
• สร้างอุตสาหกรรมไทยให้เข้มแข็ง สามารถแข่งขัน
กับต่างชาติ
ความท้าทาย
• Skill-mix ของบัณฑิตศึกษายังไม่ดี สาขาด้าน
เทคโนโลยีน้อยเกินไป
• ความร่วมมือกับอุตสาหกรรมน้อยไป
• โจทย์อุตสาหกรรมกับความชานาญของอาจารย์ไม่
สอดคล้องกัน งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยนาไปต่อ
ยอดได้ยาก
• มีมหาวิทยาลัยมากเกินไป รัฐไม่สามารถสนับสนุน
ได้ทั่วถึง
ทางออกของรัฐ
• ประกาศนโยบายบัณฑิตศึกษาให้ชัด (ประกาศแล้ว)
• เน้นคุณภาพ ความเป็นเลิศ ไม่ใช่การกระจายโอกาส
• ทบทวนเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบเก่าที่ยึดสาขาวิชาของอาจารย์มากเกินไปซึ่งไม่เพียง เสริมความคล่องตัว
ของนักวิชาการในการทางานแก้ปัญหา
• ใช้วิธีการทางงบประมาณและการเก็บภาษีเป็นเครื่องมือ กระตุ้นทั้งการแข่งขันและความร่วมมือระหว่าง
สถาบัน และระหว่างภาคเอกชนกับมหาวิทยาลัย
• มีทางออกให้มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ยุบและควบรวมปรับโครงสร้างภายในภูมิภาคเดียวกันให้มีประสิทธิภาพ
มุมมองของผู้เรียน
ความคาดหวัง
• ผู้เรียนจะได้อยู่ในบรรยากาศทางวิชาการที่ดี
• คนที่มีงานทาแล้ว เรียนเพิ่มพูนคุณวุฒิทาให้การ
งานก้าวหน้าดีขึ้น
• คนที่ยังไม่ได้ทางานเข้าเรียนเพื่อเพิ่มโอกาสในการ
ได้งานดี ๆ เงินเดือนสูง มั่นคง
ความท้าทาย
• บรรยากาศทางวิชาการไม่ดี ได้เรียนรู้ไม่มาก
เท่าที่ควร
• เข้ามาเรียนโดยไม่รู้แน่ว่าจบไปแล้วจะทางานอะไร
ทาให้มีส่วนร่ามน้อยในการกาหนด expected
learning outcome
• มหาวิทยาลัยเน้นหลักสูตรวิจัย ตลาดแรงงาน
ต้องการสมรรถนะหลายด้าน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่
ในหลักสูตร
• จบแล้วอยากเป็นอาจารย์แต่ตาแหน่งมีจากัด
ทางออกของผู้เรียน
• วิเคราะห์ตลาดการศึกษา และ แรงงาน
• ทาความรู้จักกับสถาบัน หลักสูตร และ คณาจารย์
• ร่วมออกความเห็นเรื่อง expected learning outcome
• เรียนรู้วิธีการสร้างสมรรถนะทั้งนอกและในหลักสูตร
• สร้างความคล่องตัวในการปรับตัวเองเข้ากับงานต่าง ๆ ที่มีในตลาด
มุมมองของมหาวิทยาลัย
ความคาดหวัง
• บัณฑิตศึกษาเป็นแรงงานสร้างผลงานวิจัย
• ผลงานวิจัยดีทาให้มหาวิทยาลัยถูกจัดอยู่ในลาดับ
ดี
ความท้าทาย
• คนนิยมเรียนมหาวิทยาลัยน้อยลงทั้ง ป.ตรี โท เอก
• ทุนวิจัยได้ยากขึ้น
• ทุนการศึกษาจากัด ไม่สามารถดึงดูดคนเก่ง
• อาจารย์จานวนมากขาดประสบการณ์วิจัย ยังไม่
สามารถแข่งขันกับสถาบันอื่น
• พื้นที่ไม่มั่นคง คนเก่งนอกพื้นที่ไม่กล้ามาเรียน
ทางออกของมหาวิทยาลัย
• พัฒนา conceptual framework พิเศษเจรจากับรัฐในเรื่องจุดเน้นที่เป็น comparative
advantage ของมหาวิทยาลัย เพื่อรับการสนับสนุนเป็นกรณีพิเศษ
• Reorientate & reformulate หลักสูตร เน้นปัญหาเป็นที่ตั้ง ลดหลักสูตรที่ทาตามความเคยชิน
ของสาขาวิชา อาจจะปรับองค์กรระดับคณะและภาควิชา จากการจัดหมวดหมู่ตามสาขาวิชาเป็นการจัด
หมวดหมู่ตามพันธกิจมากขึ้น
• เน้นการพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นาและบุคลิกเชิงบวก (positive characters) ของผู้เรียน ไม่
เพียงแต่ให้ผู้เรียนเป็นเครื่องมือทาวิจัยของอาจารย์และมหาวิทยาลัย
มุมมองของอาจารย์
ความคาดหวัง
• การมีนศ. ช่วยเพิ่ม livelihood, self
esteem และ motivation for life-
long learning
• มีแรงงานช่วยทาวิจัย ช่วยให้เลื่อนตาแหน่ง
วิชาการและเพิ่มรายได้ในระยะยาว
ความท้าทาย
• นักศึกษานิยมเรียนต่อน้อยลง ด้วยเหตุผลข้างต้น
• จานวนนศ. ที่น้อยลงทาให้งานสอนและงานวิจัย
น้อยลง หน้าที่การงานของอาจารย์ไม่มั่นคง
• นักศึกษาไม่มั่นคงทางการเงิน ไม่อยากลาเรียนเต็ม
เวลา ทาให้ทางานวิจัยได้ไม่เต็มที่
• คุณภาพนักศึกษาต้นน้าต่า พัฒนาได้ยาก
• งบประมาณวิจัยมีจากัด ทาให้ตีพิมพ์ผลงานใน
วารสารที่ดีได้ยาก
ทางออกของอาจารย์(ใหม่)
• อาจารย์ใหม่ต้องการ mentor ที่เข้มแข้ง วิชาการแก่กล้า ทุนสนับสนุนแน่นหนา (แต่หายาก)
• กาหนดจุดยืนตนเองใหม่ตามสถานการณ์และองค์กรที่กาลังเปลี่ยนไป แล้วเจรจากับสถาบันต้นสังกัดในการ
กาหนดภาระงานในแต่ละช่วง
• คณาจารย์ทบทวน stakeholder analysis ให้รอบด้าน identify ทั้ง push และ pull
components
• อาจารย์อาวุโสนาทีม engage ในการหารือกับ key stakeholders อย่างจริงจัง
• ทุกคนเรียนรู้สิ่งใหม่ ที่จาเป็นสาหรับภาระงานที่เปลี่ยนไปโดยเฉพาะการบริหารจัดการการศึกษาและการ
วิจัย เพื่อปรับเข้ากับ expected learning outcome ของสถานการณ์ใหม่

More Related Content

Similar to Virasakppt

เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6TupPee Zhouyongfang
 
เทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษาJaengJy Doublej
 
About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2Ultraman Taro
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาChommy Rainy Day
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชแผนงาน นสธ.
 

Similar to Virasakppt (10)

Move610724 n four
Move610724 n fourMove610724 n four
Move610724 n four
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา C6
 
เทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลียีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Move610724 n one
Move610724 n oneMove610724 n one
Move610724 n one
 
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
แผนพัฒนาการศึกษาฉบับที่ 11
 
Lo mini ukm_620531
Lo mini ukm_620531Lo mini ukm_620531
Lo mini ukm_620531
 
About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2About thaihealthexperts2
About thaihealthexperts2
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาการประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
การประชุมสัมมนาตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
 
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิชเปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
เปลี่ยนกระบวนทัศน์อุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Virasakppt

  • 2. มุมมองของรัฐ ความคาดหวัง • พลเมืองมีคุณภาพสูงขึ้น • มีงานวิจัยแก้ปัญหาประเทศทั้งด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคม • สร้างอุตสาหกรรมไทยให้เข้มแข็ง สามารถแข่งขัน กับต่างชาติ ความท้าทาย • Skill-mix ของบัณฑิตศึกษายังไม่ดี สาขาด้าน เทคโนโลยีน้อยเกินไป • ความร่วมมือกับอุตสาหกรรมน้อยไป • โจทย์อุตสาหกรรมกับความชานาญของอาจารย์ไม่ สอดคล้องกัน งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยนาไปต่อ ยอดได้ยาก • มีมหาวิทยาลัยมากเกินไป รัฐไม่สามารถสนับสนุน ได้ทั่วถึง
  • 3. ทางออกของรัฐ • ประกาศนโยบายบัณฑิตศึกษาให้ชัด (ประกาศแล้ว) • เน้นคุณภาพ ความเป็นเลิศ ไม่ใช่การกระจายโอกาส • ทบทวนเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบเก่าที่ยึดสาขาวิชาของอาจารย์มากเกินไปซึ่งไม่เพียง เสริมความคล่องตัว ของนักวิชาการในการทางานแก้ปัญหา • ใช้วิธีการทางงบประมาณและการเก็บภาษีเป็นเครื่องมือ กระตุ้นทั้งการแข่งขันและความร่วมมือระหว่าง สถาบัน และระหว่างภาคเอกชนกับมหาวิทยาลัย • มีทางออกให้มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ยุบและควบรวมปรับโครงสร้างภายในภูมิภาคเดียวกันให้มีประสิทธิภาพ
  • 4. มุมมองของผู้เรียน ความคาดหวัง • ผู้เรียนจะได้อยู่ในบรรยากาศทางวิชาการที่ดี • คนที่มีงานทาแล้ว เรียนเพิ่มพูนคุณวุฒิทาให้การ งานก้าวหน้าดีขึ้น • คนที่ยังไม่ได้ทางานเข้าเรียนเพื่อเพิ่มโอกาสในการ ได้งานดี ๆ เงินเดือนสูง มั่นคง ความท้าทาย • บรรยากาศทางวิชาการไม่ดี ได้เรียนรู้ไม่มาก เท่าที่ควร • เข้ามาเรียนโดยไม่รู้แน่ว่าจบไปแล้วจะทางานอะไร ทาให้มีส่วนร่ามน้อยในการกาหนด expected learning outcome • มหาวิทยาลัยเน้นหลักสูตรวิจัย ตลาดแรงงาน ต้องการสมรรถนะหลายด้าน ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่ ในหลักสูตร • จบแล้วอยากเป็นอาจารย์แต่ตาแหน่งมีจากัด
  • 5. ทางออกของผู้เรียน • วิเคราะห์ตลาดการศึกษา และ แรงงาน • ทาความรู้จักกับสถาบัน หลักสูตร และ คณาจารย์ • ร่วมออกความเห็นเรื่อง expected learning outcome • เรียนรู้วิธีการสร้างสมรรถนะทั้งนอกและในหลักสูตร • สร้างความคล่องตัวในการปรับตัวเองเข้ากับงานต่าง ๆ ที่มีในตลาด
  • 6. มุมมองของมหาวิทยาลัย ความคาดหวัง • บัณฑิตศึกษาเป็นแรงงานสร้างผลงานวิจัย • ผลงานวิจัยดีทาให้มหาวิทยาลัยถูกจัดอยู่ในลาดับ ดี ความท้าทาย • คนนิยมเรียนมหาวิทยาลัยน้อยลงทั้ง ป.ตรี โท เอก • ทุนวิจัยได้ยากขึ้น • ทุนการศึกษาจากัด ไม่สามารถดึงดูดคนเก่ง • อาจารย์จานวนมากขาดประสบการณ์วิจัย ยังไม่ สามารถแข่งขันกับสถาบันอื่น • พื้นที่ไม่มั่นคง คนเก่งนอกพื้นที่ไม่กล้ามาเรียน
  • 7. ทางออกของมหาวิทยาลัย • พัฒนา conceptual framework พิเศษเจรจากับรัฐในเรื่องจุดเน้นที่เป็น comparative advantage ของมหาวิทยาลัย เพื่อรับการสนับสนุนเป็นกรณีพิเศษ • Reorientate & reformulate หลักสูตร เน้นปัญหาเป็นที่ตั้ง ลดหลักสูตรที่ทาตามความเคยชิน ของสาขาวิชา อาจจะปรับองค์กรระดับคณะและภาควิชา จากการจัดหมวดหมู่ตามสาขาวิชาเป็นการจัด หมวดหมู่ตามพันธกิจมากขึ้น • เน้นการพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้นาและบุคลิกเชิงบวก (positive characters) ของผู้เรียน ไม่ เพียงแต่ให้ผู้เรียนเป็นเครื่องมือทาวิจัยของอาจารย์และมหาวิทยาลัย
  • 8. มุมมองของอาจารย์ ความคาดหวัง • การมีนศ. ช่วยเพิ่ม livelihood, self esteem และ motivation for life- long learning • มีแรงงานช่วยทาวิจัย ช่วยให้เลื่อนตาแหน่ง วิชาการและเพิ่มรายได้ในระยะยาว ความท้าทาย • นักศึกษานิยมเรียนต่อน้อยลง ด้วยเหตุผลข้างต้น • จานวนนศ. ที่น้อยลงทาให้งานสอนและงานวิจัย น้อยลง หน้าที่การงานของอาจารย์ไม่มั่นคง • นักศึกษาไม่มั่นคงทางการเงิน ไม่อยากลาเรียนเต็ม เวลา ทาให้ทางานวิจัยได้ไม่เต็มที่ • คุณภาพนักศึกษาต้นน้าต่า พัฒนาได้ยาก • งบประมาณวิจัยมีจากัด ทาให้ตีพิมพ์ผลงานใน วารสารที่ดีได้ยาก
  • 9. ทางออกของอาจารย์(ใหม่) • อาจารย์ใหม่ต้องการ mentor ที่เข้มแข้ง วิชาการแก่กล้า ทุนสนับสนุนแน่นหนา (แต่หายาก) • กาหนดจุดยืนตนเองใหม่ตามสถานการณ์และองค์กรที่กาลังเปลี่ยนไป แล้วเจรจากับสถาบันต้นสังกัดในการ กาหนดภาระงานในแต่ละช่วง • คณาจารย์ทบทวน stakeholder analysis ให้รอบด้าน identify ทั้ง push และ pull components • อาจารย์อาวุโสนาทีม engage ในการหารือกับ key stakeholders อย่างจริงจัง • ทุกคนเรียนรู้สิ่งใหม่ ที่จาเป็นสาหรับภาระงานที่เปลี่ยนไปโดยเฉพาะการบริหารจัดการการศึกษาและการ วิจัย เพื่อปรับเข้ากับ expected learning outcome ของสถานการณ์ใหม่