SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
๑๒๕ ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ
๒๕ ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ปี๒๕๖๐เป็นโอกาสครบ๑๒๕ปี  วันคล้ายวันพระราชสมภพ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
และครบ ๒๕ ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ที่พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้น
เพื่อถวายเป็นพระราชานุสรณ์แด่สมเด็จพระบรมราชชนก ผู้ทรง
บ�ำเพ็ญประโยชน์เป็นคุณูปการอันใหญ่หลวงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การที่ทรงวางรากฐานด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
ของไทยให้เจริญรุ่งเรือง ทัดเทียมนานาอารยประเทศ จนทรง
ได้รับการถวายพระสมัญญานามว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์
แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย” เป็นการสนอง
พระกรุณาธิคุณและธ�ำรงไว้ซึ่งพระเกียรติยศให้ปรากฏยืนยงใน
แผ่นดินไทย ทั้งเผยแผ่พระเกียรติยศและพระราชกรณียกิจให้
เป็นที่ประจักษ์ทั่วสากลโลก
	 มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์
ได้สนองพระราชปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดช
วิกรม พระบรมราชชนก ในการส่งเสริมและสนับสนุนการ
พัฒนาวงการแพทย์และการสาธารณสุข ด้วยการมอบรางวัลให้
แก่บุคคล หรือองค์กรจากทั่วโลก ที่มีผลงานดีเด่นในทางช่วยให้
คุณภาพชีวิตของคนหมู่มากดีขึ้น และเพื่อให้บุคคลทุกชาติภาษา
ผู้มีปณิธานที่จะใช้วิชาการทางแพทย์และสาธารณสุขให้
เกิดประโยชน์แก่มวลมนุษย์ ได้รับการยกย่องเชิดชู รางวัล
อันทรงเกียรตินี้จึงเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความมุ่งมั่น
ในการท�ำงานร่วมกันเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดีให้แก่ประชาคมโลก
	 โอกาสนี้ ข้าพเจ้าขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัล
สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลประจ�ำปี ๒๕๕๙ ทุกท่านเป็นผู้เสียสละ อุทิศ
แรงกายแรงใจท�ำงานเพื่อความเจริญก้าวหน้าของวงการแพทย์
และสาธารณสุข ส่งผลเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่มวลมนุษย์อย่าง
กว้างขวาง ถือเป็นแบบอย่างอันประเสริฐของสังคม ผลงานของ
ท่านยังจะเป็นแนวทางให้เกิดการศึกษาค้นคว้า แสวงหาวิธีการ
ใหม่ๆ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ที่จะช่วยบ�ำบัดโรคภัย
ไข้เจ็บ และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของมวลมนุษยชาติ
ให้ดีขึ้นสืบไป
ประธานมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
ในพระบรมราชูปถัมภ์
๒
เฉลิมพระราชเกียรติคุณ
“สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล”
	 สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่๖๙ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ และองค์ที่ ๗ ในสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี (สมเด็จ
พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในรัชกาลที่ ๘ และรัชกาลที่ ๙) ประสูติเมื่อ
วันที่๑มกราคมพ.ศ.๒๔๓๔(ตามปีปฏิทินปัจจุบันตรงกับวันที่๑มกราคมพ.ศ.๒๔๓๕*)ทรงศึกษา
เบื้องต้นณโรงเรียนราชกุมารในพระบรมมหาราชวังเมื่อถึงก�ำหนดพระราชพิธีโสกันต์ตามโบราณ
ราชประเพณีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้จัดการพระราชพิธีมหามงคล
โสกันต์ และพระราชทานพระสุพรรณบัฏเฉลิมพระนามเป็น “สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดล
อดุลเดช นเรศวรมหาราชาธิบดินทร จุฬาลงกรณินทรวรางกูร สมบูรณเบญจพรศิริสวัสดิ ขัตตินว
โรภโตสุชาติ คุณสังกาศเกียรติประกฤษฐ ลักษณวิจิตรพิสิษฐบุรุษย์ ชนุตมรัตน์พัฒนศักดิ อรรค
วรราชกุมาร กรมขุนสงขลานครินทร์”
	 เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๘ เสด็จไปทรงศึกษาในยุโรป ปีต่อมาทรงเข้าศึกษา ณ
โรงเรียนแฮร์โรว์(Harrow)กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษและเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่สองทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ
ทรงศึกษาวิชาการทหารบกที่ประเทศเยอรมนีต่อมาในปี๒๔๕๒ทรงเข้าศึกษาณโรงเรียนนายร้อย
ชั้นสูงทหารบก(HauptKadettenanstalt)ที่Gross-Lichterfeldeชานเมืองเบอร์ลินจนเมื่อพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในปีถัดมาจึงเสด็จกลับประเทศไทยในงานพระราชพิธี
พระบรมศพภายหลังงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้วจึงเสด็จกลับประเทศเยอรมนี
“เจ้าฟ้าพระราชกุมาร”
สู่ “เจ้าฟ้าทหารเรือ”
ขอให้ถือผลประโยชน์ส่วนตนเปนที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษเปนกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์และเกียรติยศจะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งวิชาชีพย์ไว้ให้บริสุทธิ์
(ความจากลายพระหัตถ์ทรงมีไปถึง นพ.สวัสดิ์ แดงสว่าง)
* ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มีการเปลี่ยนแปลงวันขึ้นปีใหม่
จากวันที่ ๑ เมษายน เป็นวันที่ ๑ มกราคม ตั้งแต่ปี ๒๔๘๔
สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชทรงเครื่องต้น วันสมโภชในพระราชพิธี
มหามงคลโสกันต์ ระหว่างวันที่ ๒๔ ถึง ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๖
๓
มเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชบิดาแห่งพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า ผู้ทรงคุณอันประเสริฐ
ถึงสองพระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชรัชกาลที่๙แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ทรงประกอบพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่เพื่อพัฒนาประเทศไทย
ในหลายด้าน ผลแห่งพระราชกรณียกิจเป็นที่ประจักษ์ทั้งในหมู่ประชาชนชาวไทยและสังคมโลก ทรงอุทิศทุ่มเทพระสติปัญญาด้วยพระปรีชา
สามารถตลอดพระชนม์ชีพพัฒนาประเทศชาติ ทั้งด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาล การสาธารณสุข ฯลฯ ก่อให้
เกิดประโยชน์เป็นคุณูปการที่เป็นรากฐานอันมั่นคงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการแพทย์และการสาธารณสุขจึงทรงได้รับการถวายพระสมัญญานามว่า
“พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย”
“ฉันจะไปเรียนหมอละ เพราะเป็นวิชาที่สนุกดี เรามีโอกาสรักษาคนได้
ทั้งคนจนและคนมั่งมีและเจ้านายต่างๆ ได้เต็มที่ หมอท�ำการกุศลในการรักษา
พยาบาลได้ดี ... เมืองไทยเรา ถ้าเจ้านายทรงท�ำหน้าที่อย่างสามัญชนเข้าบ้าง
เขาว่าเสียพระเกียรติ ฉันรู้สึกว่า มัวแต่จะรักษาพระเกียรติอยู่ก็ไม่ต้องท�ำงาน
อะไรกัน”
(พระราชด�ำรัสสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์
รับสั่งกับพลตรีพระศักดาพลรักษ์)
	 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ ทรงบรรยายไว้ว่า
สมเด็จพระบรมราชชนกทรงมาเป็นแพทย์อาจจะเป็นด้วยการท�ำงานในกองทัพเรือ
ช่วงนั้นไม่ราบรื่นนัก ท�ำอะไรไม่ได้ตามที่ทรงตั้งพระทัยไว้ ประกอบกับทรงมี
พระประสงค์ที่จะทรงงานด้านสาธารณสุขเพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บไข้ จึงตัดสิน
พระทัยรับช่วยเหลือพัฒนาการแพทย์ไทย และเตรียมการเสด็จไปทรงศึกษา
วิชาแพทย์ในต่างประเทศ
	 สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงได้รับพระบรมราชานุญาตให้เสด็จไป
ทรงศึกษาวิชาแพทย์ที่สหรัฐอเมริกา แต่ทรงพระประชวรไข้รากสาดน้อย ต้อง
รักษาอาการประชวรหลายเดือน จึงเสด็จออกจากเมืองไทยในเดือนมิถุนายน
พ.ศ. ๒๔๕๙ เสด็จถึงเมืองบอสตัน เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ เป็น
ช่วงที่ยังไม่เปิดภาคเรียนเหตุการณ์ครั้งนั้นเมื่อสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้า
กัลยาณิวัฒนาฯ เสด็จไปทรงบรรยาย “สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช
วิกรม พระบรมราชชนก” ณ ห้องบรรยายรวม ส�ำนักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดลศาลายาในวันพระราชทานนามมหาวิทยาลัยมหิดลปีที่๓๐
(๒มีนาคม๒๕๔๒)มีความตอนหนึ่งว่าระหว่างที่สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ
	 ทรงเข้าเป็นนักเรียนในวิทยาลัย
จักรพรรดินาวีเยอรมัน รุ่น CREW 1912
ณ โรงเรียนนายเรือ เฟลนส์บวร์ก มุรวิก
(Marineschule Flensburg Mürwik) ทรง
สอบผ่านวิชาเดินเรือและวิชาระดับนักเรียน
ท�ำการนายเรือทรงศึกษาตามหลักสูตรของ
โรงเรียนนายเรือและทรงปฏิบัติราชการใน
กองทัพเรือเยอรมัน จนถึงเดือนสิงหาคม
พ.ศ. ๒๔๕๗ สงครามโลกครั้งที่ ๑ เกิดขึ้น
ในยุโรป ประเทศไทยประกาศเป็นกลาง
จึงทรงลาออกแล้วเสด็จจากยุโรปกลับถึง
ประเทศไทยเมื่อวันที่๙มีนาคมพ.ศ.๒๔๕๗
โปรดเกล้าฯ ให้ทรงเข้ารับราชการใน
กระทรวงทหารเรือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘
ขอให้ท่านถือสุภาษิตว่า “ใจเขาใจเรา” ท่านอยากได้ความสบายแก่ตัวท่านอย่างไร ก็ควรพยายามให้ความสบายแก่คนไข้อย่างนั้น”
(ความจากลายพระหัตถ์ทรงมีไปถึงสมาชิกสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
โรงพยาบาลศิริราช ในช่วง พ.ศ. ๒๔๕๘ เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร์
เสด็จทอดพระเนตรโรงพยาบาลศิริราชเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ตัดสินพระทัยทรงช่วยเหลือพัฒนาการแพทย์ไทย
ต่อการแพทย์-การสาธารณสุข
เจ้าฟ้าผู้ทรงมีคุณูปการ
ทรงรับราชการกระทรวงทหารเรือ พ.ศ. ๒๔๕๘
๔
คุณลักษณะของการเป็นแพทย์คือความเชื่อถือและไว้ใจ ท่านต้องมีความเชื่อในความสามารถของตนเอง คือมีความมั่นใจ
ท่านต้องมีความไว้ใจระหว่างแพทย์กันเอง คือความเป็นปึกแผ่น ท่านต้องมีความเชื่อถือจากคนไข้ของท่าน คือความไว้ใจของคณะชน
(ความจากลายพระหัตถ์ถึงสมาชิกสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
ประทับอยู่ที่เมืองกลอสเตอร์ทรงให้สัมภาษณ์แก่นักข่าวTheAssociatedPress
ของนิวยอร์กว่า “ข้าพเจ้าเป็นร้อยโทในราชนาวี แต่เวลานี้เป็นทหารส�ำรอง
ข้าพเจ้าเชื่อว่ากองทัพบก และกองทัพเรือ ควรมีก�ำลังพอที่จะป้องกัน
ประเทศเท่านั้น แต่มากกว่านั้นข้าพเจ้าคิดว่า เงินของรัฐน่าจะใช้ส�ำหรับ
สาธารณประโยชน์ ข้าพเจ้าชอบที่จะสร้างโรงพยาบาลมากกว่าสร้างเรือรบ
ข้าพเจ้าได้เลือกที่จะเรียนการสาธารณสุข เพราะข้าพเจ้าคิดว่าจะเป็นทางที่จะ
ให้โอกาสแก่ข้าพเจ้ามากที่สุดในการท�ำประโยชน์”
	 สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงเรียนสาธารณสุขของโรงเรียน
สาธารณสุข (School of Health Officer) มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด จัดตั้งโดย
ความร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาจูเซตต์ (MIT) ในปีแรก ก่อนที่
จะทรงเรียนวิชาปรีคลินิก (ในคณะแพทย์) เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๐
ทรงมีลายพระหัตถ์ไปถึงสมเด็จแม่ (สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) ว่า
	 “ปีนี้เข้าเรียนในโรงเรียนหมอออกจากโรงเรียนสุขาภิบาลเพราะเห็นว่า
วิชาหมอจะมีประโยชน์มาก และเมื่อภายหลังจะเรียนสุขาภิบาลอีกก็ได้ ใน
ชั้นต้นนี้คิดว่าจะเรียนวิชาหมอเพียง๒ปีแล้วจะเข้าเรียนไปอีก๒ปีในเมืองไทย
ที่โรงเรียนราชแพทย์ จึงจะเป็นหมอรักษาคนได้”
	 เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๐ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรง
ลงทะเบียนเป็นนักศึกษาแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ต่อมาทรงฟังบรรยายและทรงศึกษาภาคปฏิบัติรายวิชาต่างๆณWhiteMarble
Building และทรงศึกษาวิชาอายุรศาสตร์ ประสาทวิทยาและศัลยศาสตร์ที่  Massachusetts General
Hospital และ Boston City Hospital ด้วย ทรงส�ำเร็จการศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ ๒ ในเดือนมิถุนายน
พ.ศ. ๒๔๖๒ ในปีเดียวกันนี้ ยังได้ทรงลงทะเบียนเป็นนักศึกษาสาธารณสุข อีกครั้งหนึ่ง
	 เดือนเมษายนพ.ศ.๒๔๖๓สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯเสด็จกลับประเทศไทยในพระราชพิธีถวาย
พระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ เสกสมรสกับ นางสาวสังวาลย์ ตะละภัฏ
(สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) นักเรียนพยาบาลทุนพระราชทาน ณ วังสระปทุม หลังจากนั้น
ได้เสด็จพร้อมด้วยหม่อมกลับสหรัฐอเมริกาผ่านทางยุโรป ครั้งนั้นทรงเข้าเรียนวิชาสาธารณสุข ภาคฤดู
ใบไม้ผลิ (ภาคการศึกษาที่ ๒) จนทรงส�ำเร็จการศึกษาวิชาสาธารณสุข ได้รับประกาศนียบัตรสาธารณสุข
(CertificateofPublicHealth)เมื่อวันที่๑๐กันยายนพ.ศ.๒๔๖๔ต่อมาเสด็จไปศึกษาวิชาแพทย์ชั้นปีที่๓
ที่ Royal Infirmary คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินเบอร์ก สกอตแลนด์ ใน พ.ศ. ๒๔๖๖ ในครั้งนั้น
พระธิดา (สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์) ประสูติ
ณ สถานพยาบาลเลขที่ ๔๘ Lexham Garden ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
	 เมื่อประทับ ณ ทวีปยุโรป สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงเป็นผู้แทนรัฐบาลไทย เจรจาจัดท�ำข้อ
ตกลงร่วมมือปรับปรุงการศึกษาวิชาแพทย์กับมูลนิธิร็อกกิเฟลเลอร์จนบรรลุผลส�ำเร็จในพ.ศ.๒๔๖๖และ
เสด็จกลับประเทศไทยมาทรงวางแผนปรับปรุงพัฒนาโรงพยาบาลหลักสูตรการแพทย์-พยาบาลพระบาท
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้ทรงเป็นอธิบดีกรมมหาวิทยาลัยต่อมาโปรดเกล้าฯให้ทรง
เป็นข้าหลวงส�ำรวจการศึกษาทั่วไป (ทรงด�ำรงต�ำแหน่งนี้ตลอดพระชนม์ชีพ) เมื่อทรงประชวรจึงเสด็จไป
ประทับรักษาพระองค์ ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นสถานที่ประสูติของพระโอรส
พระองค์แรก (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ประสูติเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘)
ต่อมาพระองค์เสด็จไปทรงศึกษาต่อด้านการแพทย์ ณ เมืองบอสตัน รัฐแมสซาซูเซตต์ สหรัฐอเมริกา
เมื่อวันที่๕ธันวาคมพ.ศ.๒๔๗๐พระโอรสพระองค์เล็ก(พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช)
ประสูติ ณ โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาจูเซตต์ (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาล
เมาท์ออเบิร์น)
	 พ.ศ. ๒๔๗๑ ทรงประชวรไข้หวัดใหญ่ และอาการพระวักกะ (ไต) ก�ำเริบ ต้องประทับรักษาพระองค์
ในโรงพยาบาลซีมส์ อาริงตัน (Syms Arington) ในเดือนมิถุนายน ทรงสอบไล่ปีสุดท้ายของหลักสูตร
แพทยศาสตร์  ทรงส�ำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตร์  (DoctorofMedicine)เกียรตินิยมระดับCumLaude
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและพระโอรส-พระธิดา
พระบรมฉายาลักษณ์นี้ฉายที่สวิตเซอร์แลนด์ใน พ.ศ. ๒๔๗๑
ทรงอุ้มพระโอรสพระองค์เล็ก ณ อุทยานเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ พ.ศ. ๒๔๗๑
๕
อาชีพแพทย์นั้นมีเกียรติ แพทย์ที่ดีไม่ร�่ำรวย แต่ไม่อดตาย ถ้าใครอยากร�่ำรวยควรเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่แพทย์ อาชีพแพทย์ต้องยึดมั่นในอุดมคติ คือเมตตากรุณา
(ทรงสอนนิสิตเตรียมแพทย์ปริญญา รุ่นที่ ๒)
	 ครอบครัวมหิดลเสด็จกลับถึงประเทศไทยเมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๑
ประทับที่พระต�ำหนักใหม่ วังสระปทุม สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ เสด็จไปทรงงาน
เป็นแพทย์ประจ�ำโรงพยาบาลแมคคอร์มิกเชียงใหม่ทรงผ่าตัดคนไข้หลายรายทรงสนพระทัย
รักษาโรคทางระบบประสาท กลางคืนก่อนบรรทมจะเสด็จออกตรวจคนไข้ทุกเตียง
ด้วยพระเมตตาการวางพระองค์ต่อบรรดาแพทย์และพยาบาลเป็นไปอย่างไม่ถือพระองค์
	 หลังจากประทับที่เชียงใหม่ได้ประมาณ๓สัปดาห์พระองค์เสด็จกลับกรุงเทพฯในงาน
พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงษาภิมุขเจ้าฟ้าภาณุรังษี
สว่างวงศ์กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชภายหลังจากนั้นพระองค์ประชวรด้วยโรคฝีบิด
ในตับและมีอาการโรคพระวักกะ(ไต)ก�ำเริบขึ้นมากจนถึงวันที่๒๔กันยายนพ.ศ.๒๔๗๒
หมอเจ้าฟ้า : การทรงงานเพื่อผู้ป่วยไข้“การที่จะได้ความไว้วางใจของคนไข้ ขอท่านถือสุภาสิตว่า ‘ใจเขาใจเรา’ ท่านคงจะคิดได้ว่า
ท่านอยากได้ความสบายแก่ตัวท่านอย่างไร ก็ควรพยายามให้ความสบายแก่คนไข้อย่างนั้น”
(พระราโชวาทสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์)
เสด็จไปทรงเปิดโรงพยาบาลแมคคอร์มิก ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗ โรงพยาบาลแมคคอร์มิก จังหวัดเชียงใหม่
ลายพระหัตถ์ใบสั่งยา เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๒
๖
มีพระอาการน�้ำท่วมพระปัปผาสะ (ปอด) และพระหทัยวาย สิ้นพระชนม์เวลา
๑๖.๔๕ น. พระชนมายุ ๓๗ ปี ๘ เดือน ๒๓ วัน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าฟ้า
มหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ และเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลฯ พระราชโอรส เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เฉลิมพระอิสริยศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชบิดาเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช
กรมหลวงสงขลานครินทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลที่๙ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ประกาศเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระราชบิดา
เป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓
อาชีพแพทย์นั้นมีเกียรติ แพทย์ที่ดีไม่ร�่ำรวย แต่ไม่อดตาย ถ้าใครอยากร�่ำรวยควรเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่แพทย์ อาชีพแพทย์ต้องยึดมั่นในอุดมคติ คือเมตตากรุณา
(ทรงสอนนิสิตเตรียมแพทย์ปริญญา รุ่นที่ ๒)
ระหว่างเสด็จประทับในพระนคร ใน พ.ศ. ๒๔๖๓ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร์
เสด็จไปทรงงานที่ห้องปฏิบัติการ ตึกเสาวภาคย์ โรงพยาบาลศิริราช
พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน
และการสาธารณสุขของไทย
	 สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุข การ
พยาบาล การเภสัชกรรม ทันตกรรม การประมง กองทัพเรือ และการอุดมศึกษาของประเทศ
เป็นคุณูปการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศ ทรงเล็งเห็น
ว่าการสาธารณสุขนั้นมีส่วนส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศและการสาธารณสุขจะมีผลดีก็ย่อมต้อง
อาศัยแพทย์ที่ดี มีพื้นฐานการศึกษาแพทย์ที่เหมาะสม จึงทรงเห็นความส�ำคัญและความจ�ำเป็น
ในการส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยเพื่อสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพและขยายองค์ความรู้ทางการแพทย์
ให้เจริญก้าวหน้า ทรงเป็นผู้แทนรัฐบาลไทยในการเจรจากับมูลนิธิร็อกกิเฟลเลอร์ให้มาช่วยเหลือ
ปรับปรุงการแพทย์ของประเทศไทย ทรงวางรากฐานให้การแพทย์ของไทยเจริญรุ่งเรืองทัดเทียม
นานาอารยประเทศทรงท�ำนุบ�ำรุงโรงเรียนราชแพทยาลัยและโรงพยาบาลศิริราชให้ทันสมัยโดย
การส่งแพทย์พยาบาลไปศึกษาต่อต่างประเทศ ตลอดพระชนม์ชีพทรงอุทิศทุ่มเทพระวรกาย
พระสติปัญญาและพระราชทรัพย์อย่างมากมายให้แก่การพัฒนาทางการแพทย์การพยาบาลและ
การสาธารณสุข อีกทั้งพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ปรับปรุงกิจการโรงเรียนแพทย์ ทั้งในด้าน
การพัฒนาบุคลากร การสร้างอาคารเรียนและหอผู้ป่วย พระราชทานเงินเดือนส�ำหรับพยาบาล
ชาวต่างประเทศที่มาช่วยสอนและวางแผนการศึกษาใหม่ในโรงเรียนพยาบาล ทรงซื้อที่ดินและ
อาคารโรงเรียนวังหลังเดิมให้เป็นโรงเรียนพยาบาลและหอพัก
	 นอกจากการที่ทรงมีบทบาทในฐานะแพทย์แล้วในฐานะพระอาจารย์ทรงถ่ายทอดไม่เพียงแต่
ความรู้โดยตรงแก่นักศึกษาแพทย์และผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขเท่านั้น แต่ยังทรงให้ข้อคิด
รวมทั้งข้อเตือนใจที่มีประโยชน์ในการท�ำงานและการด�ำรงชีวิตในแนวทางที่ถูกต้องไว้เป็นหลักในการ
ปฏิบัติทั้งยังทรงบ�ำเพ็ญพระองค์เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยพระจริยาวัตรที่งดงาม โดยเฉพาะในด้าน
พระอุปนิสัยที่อ่อนน้อมไม่ถือพระองค์ และการประหยัดอดออม แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธาน
สมเด็จพระบรมราชชนกทรงบันทึกสรุปเนื้อหาจากหนังสือและ
บทความลงในบัตรดรรชนี
ที่ทรงต้องพระประสงค์ที่จะให้ศิษย์ของพระองค์เป็นแพทย์ที่ดีที่เพียบพร้อมด้วย
คุณธรรมและจริยธรรม
	 การที่ทรงทุ่มเทให้แก่กิจการโรงเรียนแพทย์ นอกจากส่งผลดีต่อระบบการ
แพทย์และสาธารณสุขแล้ว ยังมีส่วนส�ำคัญในการวางรากฐานการอุดมศึกษาไทย
๗
เมืองไทยเรายังไม่มีอะไรเลย เมื่อเรียนส�ำเร็จแล้ว ควรพยายามคิดค้นทางวิชาการให้กว้างขวางขึ้น จะได้เทียบเคียงกับต่างประเทศเขา
ถ้าไม่รู้จะท�ำอะไรใหม่ ก็ให้ศึกษาหาสิ่งธรรมดา ให้รู้ว่าคนไทยเรามีอะไรเป็นธรรมดาซึ่งเป็นมาตรฐาน
(ทรงสอนนิสิตเตรียมแพทย์ปริญญา รุ่นที่ ๒ เล่าโดย นพ.ฝน แสงสิงแก้ว และ นพ.ประพนธ์ เสรีรัตน์)
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา ในขณะนั้น)
มีหนังสือกราบทูลพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าธานีนิวัต ถึงพระประสงค์พระราชทาน
ทุนพระมรดก ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลาฯ
ให้เจริญก้าวหน้าสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน อาทิ ทรงสร้างรากฐานวิชาทันตแพทยศาสตร์
ของไทย พระราชทานทุนส่วนพระองค์ให้แก่ศาสตราจารย์ทันตแพทย์ สี สิริสิงห และ
พระราชทานพระราชูปถัมภ์แก่ ศาสตราจารย์ พ.อ. หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์ ทั้งสองศึกษา
วิชาทันตแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อส�ำเร็จการศึกษา
แล้ว ทั้งสองท่านได้เป็นก�ำลังส�ำคัญในการก่อตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
แพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย
	 นอกจากนี้ยังทรงสร้างรากฐานการวิทยาศาสตร์แห่งชาติพระราชทานทุนส่งนักเรียน
ไปศึกษาวิชาฟิสิกส์เคมีชีววิทยาณประเทศอังกฤษผลิตบัณฑิตเป็นครูสอนวิทยาศาสตร์
ในมหาวิทยาลัยและในโรงเรียนทั่วประเทศทั้งยังมีแนวพระราชด�ำริที่ทรงเห็นแก่ประโยชน์
ของราษฎรเป็นที่ตั้ง สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงเป็นปูชนียบุคคลของชาติที่พระเมตตา
สถิตอยู่ในใจปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า มีพระวิริยะอุตสาหะอย่างยิ่ง แม้พระวรกายเสื่อม
ถอยลงพระองค์ก็ยังทรงงานอย่างต่อเนื่องขณะที่ประชวรหนักก็ยังรับสั่งถึงเรื่องการแพทย์
อยู่เป็นเวลานานๆ รับสั่งถึงการภายหน้า และถึงการที่จะทรงท�ำเมื่อหายประชวรแล้ว และ
แม้หลังสิ้นพระชนม์พระองค์ยังพระราชทานเงินจ�ำนวน๕๐๐,๐๐๐บาทตามลายพระหัตถ์
พินัยกรรมเพื่อบ�ำรุงวิชาแพทย์และพยาบาลให้แก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกต่อมา
ว่า “ทุนพระราชมรดกสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลาฯ” ภายหลังเมื่อจัดตั้งมหาวิทยาลัย
แพทยศาสตร์แล้ว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโอนทุนพระมรดกฯ ให้แก่มหาวิทยาลัย
แพทยศาสตร์ด�ำเนินการตามพระประสงค์ต่อไป
	 พระราชกรณียกิจโดยสังเขปของสมเด็จพระบรมราชชนก จากการที่ทรงมุ่งมั่นในการ
ปรับปรุงการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทยอย่างจริงจังเป็นคุณูปการอันใหญ่หลวง
ต่อประชาชนและประเทศชาติ เป็นที่ประจักษ์แก่ชนรุ่นหลัง จึงทรงได้รับการถวาย
พระสมัญญานามว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่ง
การสาธารณสุขไทย” เป็นการเฉลิมพระราชเกียรติคุณ และน้อมร�ำลึกถึงพระคุณูปการ
อันเปี่ยมล้นที่มีต่อแผ่นดินไทยและประชาชนคนไทยทั้งประเทศ  
เสด็จไปในพิธีเปิดสถานีประชานามัยพิทักษ์ที่ ๒ ชั่วคราว ของสภากาชาดสยาม ต่อมาเรียกว่า สถานีอนามัยที่ ๒
๘
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
น้อมร�าลึกถึงพระกรุณาธิคุณ
เนื่องในโอกาสครบรอบ 125 ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
และครบรอบ 25 ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
www.chula.ac.th
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
หมายเลขโทรศัพท์ 0-2419-7466-80 โทรสาร 0-2412-8415
ครบรอบ 25 ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
น้อมร�าลึกถึงพระกรุณาธิคุณ เนื่องในโอกาสครบรอบ 125 ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ
ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ
สมเด็จพระมหิตลำธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมรำชชนก
พระบิดำแห่งกำรแพทย์แผนปัจจุบัน และกำรสำธำรณสุขของไทย
WWW.BDMS.CO.TH

  
 
 
น้อมรำ�ลึกถึงพระกรุณ�ธิคุณเนื่องในโอก�ส
ครบรอบ 125 ปี วันคล้�ยวันพระร�ชสมภพ
ครบรอบ 25 ปี ร�งวัลสมเด็จเจ้�ฟ้�มหิดล
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
ข้�พระพุทธเจ้� คณะผู้บริห�ร คณ�จ�รย์ บุคล�กร และนักศึกษ�
คณะแพทยศ�สตร์ศิริร�ชพย�บ�ล มห�วิทย�ลัยมหิดล
น้อมรำ�ลึกถึงพระกรุณ�ธิคุณ
เนื่องในโอก�สครบรอบ 125 ปี
วันคล้�ยวันพระร�ชสมภพ
คณะแพทยศ�สตร์โรงพย�บ�ลร�ม�ธิบดี มห�วิทย�ลัยมหิดล
เลขที่ 270 ถนนพระร�มหก แขวงพญ�ไท เขตร�ชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400
โทร. 02-201-1000
www.med.mahidol.ac.th
ครบรอบ 25 ปี ร�งวัลสมเด็จเจ้�ฟ้�มหิดล
สมเด็จพระมหิตล�ธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมร�ชชนก
ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ
๓๖๔/๑ ถนนศรีอยุธยำ แขวงพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
โทร. ๐-๒๖๔๐-๑๑๑๑
www.phyathai.com
สมเด็จพระมหิตลำธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมรำชชนก
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
โรงพยาบาลแมคคอร์มิค
Tel. 053-921777 Fax. 053-921734
www.mccormick.in.th
ด้วยสํานึกในพระกรุณาธิคุณ
ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ
สมเด็จพระมหิตลำธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมรำชชนก
พระบิดำแห่งกำรแพทย์แผนปัจจุบัน และกำรสำธำรณสุขของไทย
159 ถ.ประดิษฐ์มนูธรรม เขตวังทองหลำง กรุงเทพฯ 10310
โทร: 0-2308-7600,0-2105-0345 แฟ็กซ์: 0-2308-7614
Email: info@md-center.org
www.md-center.org
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ข้าพระพุทธเจ้า
ผู้บริหาร และพนักงานองค์การเภสัชกรรม
ด้วยสำานึกในพระกรุณาธิคุณ
พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน
และการสาธารณสุขของไทย
ดวยสำนึกในพระกรุณาธิคุณ
...แมกาลเวลาจะลวงผานไปนานเพียงใด พระราชกรณียกิจและพระราชจริยวัตรอันบริสุทธิ์งดงาม ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ยังสถิตอยูในดวงใจของปวงชนชาวไทยทุกคนไมวาจะประกอบอาชีพใด อยู ณ สถานที่แหงไหน ตางก็ไดรับผลแหงพระกรุณาธิคุณในสมเด็จพระบรมราชชนก
ผูทรงวางรากฐานในการพัฒนาการแพทย การสาธารณสุข การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาสังคม ใหเจริญรุดหนาสืบเน�องมาเปนระยะเวลายาวนาน
ความจงรักภักดีไดเพิ่มพูนและอุดมดวยความซาบซึ้งและสำนึกในพระกรุณาธิคุณ จึงพรอมใจกันตั้งปณิธานในการที่จะปฏิบัติงานดำเนินรอยตาม
เบื้องพระยุคลบาทดวยความกตัญูกตเวทีโดยนอมนำพระราโชวาทอันเปนอมตวาจาที่วา
“ใหถือประโยชนสวนตัวเปนกิจที่สอง ประโยชนของเพ�อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง”มาเปนแนวทางและอุดมคติในการปฏิบัติงาน...
ขาพระพุทธเจา
พลตรีหญิง คุณหญิงอัสนีย เสาวภาพ
ประธานสภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยฯ
พรอมดวยคณะกรรมการอำนวยการ เจาหนาที่ และอาสาสมัคร
สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยฯ
การรถไฟแห่งประเทศไทย
น้อมร�ำลึกถึงพระกรุณำธิคุณ เนื่องในโอกำสครบรอบ 125 ปี
วันคล้ายวันพระราชสมภพของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
โทรศัพท์สายด่วน
CALL CENTER 1690
เว็บไซต์ www.railway.co.th
กองทัพเรือส�ำนึกใน
พระมหำกรุณำธิคุณอย่ำงหำที่สุดมิได้
และจะเทิดทูนไว้
เหนือเกล้ำเหนือกระหม่อม
ตลอดกำลนำน
กองทัพเรือ
ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ
สมเด็จพระมหิตลำธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมรำชชนก
พระบิดำแห่งกำรแพทย์แผนปัจจุบัน และกำรสำธำรณสุขของไทย
บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จ�ำกัด
เลขที่ 998/1 ซอยพหลโยธิน 18/1 (ร่วมศิริมิตร) ถนนพหลโยธิน
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทร. 02-610-0777
www.ch7.com
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ด้วยสำานึกในพระกรุณาธิคุณ
บริษัท โรช ไทยแลนด์ จํากัด
www.roche.co.th
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ด้วยสํานึกในพระกรุณาธิคุณ
บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มห�ชน)
อ�ค�รเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ 99 ซอย รูเบีย ถนนสุขุมวิท 42
แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน
และการสาธารณสุขของไทย
ด้วยสำานึกในพระกรุณาธิคุณ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ดวยสำนึกในพระกรุณาธิคุณ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บริษัท อีคอนเทค ซัพพลาย จำกัด
เลขที่ 2120/11-12-13-14 หมู 4 ต.เทพารักษ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 10270
โทร.02-757-7252, 02-757-7242 แฟกซ. 02-757-6771
ธนาคารออมสิน
น้อมร�ำลึกถึงพระกรุณำธิคุณ เนื่องในโอกำสครบรอบ 125 ปี วันคล้ำยวันพระรำชสมภพ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ครบรอบ 25 ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
www.gsb.or.th
พระราชเกียรติคุณแห่ง สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรม
ราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย”
เป็นที่ประจักษ์ชัดทั้งในหมู่ประชาชนชาวไทย และสังคมโลก คณะแพทยศาสตร์
ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งได้รับพระกรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นจากสมเด็จ
พระบรมราชชนกในด้านการปรับปรุงการศึกษาแพทย์-พยาบาล และการปรับปรุง
โรงพยาบาลศิริราช ได้เสนอรัฐบาลให้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงาน
เฉลิมฉลองวันคล้ายวันพระราชสมภพครบ ๑๐๐ ปีเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕
และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดตั้งรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลเพื่อถวาย
เป็นพระราชานุสรณ์ ด�ำเนินการโดย“มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรม
ราชูปถัมภ์”
	 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อม พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณให้ด�ำเนินการได้และให้จัดตั้ง
มูลนิธิขึ้นเมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยทรงรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์
ตั้งแต่แรกตั้ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเป็น
ประธานมูลนิธิ เมื่อแรกใช้ชื่อมูลนิธิว่า “มูลนิธิรางวัลมหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์”
ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์”
เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
	 รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เป็นรางวัลอันทรงเกียรติที่มอบให้แก่ผู้ที่
ไม่ย่อท้อต่อการท�ำคุณประโยชน์แก่มนุษยชาติในด้านการแพทย์ (บุคคลหรือองค์กร
ที่ปฏิบัติงาน และ/หรือ วิจัยดีเด่นการแพทย์ อันก่อประโยชน์แก่มนุษยชาติ) และ
การสาธารณสุข (บุคคลหรือองค์กรที่ปฏิบัติงานดีเด่นทางด้านสาธารณสุข เป็น
ประโยชน์แก่สุขภาพอนามัยของมนุษยชาติ) โดยแต่ละรางวัล ประกอบด้วย เหรียญ
รางวัล, ประกาศนียบัตร และเงินรางวัล ๑๐๐,๐๐๐ เหรียญสหรัฐ
	 นับตั้งแต่แรกก่อตั้งรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๕ จนถึง
พุทธศักราช ๒๕๕๙ มีบุคลากรด้านการแพทย์และการสาธารณสุขจากสหรัฐอเมริกา
อเมริกากลาง อเมริกาใต้ ยุโรป เอเชีย แอฟริกา และออสเตรเลีย จ�ำนวนทั้งสิ้น
๗๔ คนที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณให้เป็นผู้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรตินี้ และใน
จ�ำนวนนี้มี ๔ ท่าน ได้รับคัดเลือกให้รับรางวัลโนเบลในเวลาต่อมา คือ ศาสตราจารย์
ซาโตชิ โอมูระ จากประเทศญี่ปุ่น ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
สาขาการแพทย์ ประจ�ำปี ๒๕๔๐ และได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ ประจ�ำปี
๒๕๕๘ ศ.นพ. แบรี่ เจ. มาร์แชล จากประเทศออสเตรเลีย ได้รับพระราชทานรางวัล
สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล สาขาสาธารณสุข ประจ�ำปี ๒๕๔๔ และได้รับรางวัลโนเบลสาขา
การแพทย์ประจ�ำปี๒๕๔๘ศาสตราจารย์ตูโยวโยวสมาชิกของกลุ่มChinaCooperative
Research Group on Qinghaosu and its Derivatives as Antimalarials
พิธีพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
๒๑
จากสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จ
เจ้าฟ้ามหิดลสาขาการแพทย์ประจ�ำปี๒๕๔๖และได้รับรางวัล
โนเบลสาขาการแพทย์ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ศ.นพ. ฮารัลด์ ซัวร์
เฮาเซน ประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จ
เจ้าฟ้ามหิดล สาขาการสาธารณสุข ประจ�ำปี ๒๕๔๘ และได้รับ
รางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ ประจ�ำปี ๒๕๕๑ และ ๑ ท่าน ใน
เวลาต่อมาได้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการองค์การอนามัยโลก
คือ พญ.มากาเร็ต เอฟซี ชาน และมีคนไทยได้รับพระราชทาน
รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ๔ ราย คือ ศ.นพ.ประสงค์ ตู้จินดา
และ ศ.พญ.สุจิตรา นิมมานนิตย์ (ประจ�ำปี ๒๕๓๙) และ
นพ.วิวัฒน์ โรจนพิทยากร และนายมีชัย วีระไวทยะ
(ประจ�ำปี ๒๕๕๒)
	 นอกจากนี้เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนกให้แผ่ไพศาลออกไปมากยิ่งขึ้น
มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯ จึงได้จัดกิจกรรมเพิ่มขึ้นอีก
๒ กิจกรรม คือ การประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัล
สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล และโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จ
เจ้าฟ้ามหิดล
พิธีพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒
ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
๒๒
	 นับเป็นเกียรติประวัติอย่างสูงสุดของตนเองและครอบครัวที่ได้รับเลือกให้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติยิ่ง เป็นการแสดงว่า
ผลการปฏิบัติงานได้รับความยอมรับว่าเป็นผลงานดีเด่นทางด้านสาธารณสุขและเป็นประโยชน์แก่สุขภาพอนามัยของมนุษยชาติ
การได้รับรางวัลอันยิ่งใหญ่นี้ เป็นบทพิสูจน์ว่า ใครก็ตามที่เพียรพยายามสร้างสรรค์ผลงานให้ก่อเกิดประโยชน์ในการสร้าง
เสริมสุขภาพหรือป้องกันมนุษยชาติให้รอดพ้นจากอันตรายของโรคภัยต่างๆ และสามารถผลักดันให้งานประสบความส�ำเร็จ
ก็มีโอกาสที่จะได้รับความยอมรับในสังคมและได้รับรางวัลตอบแทนที่ทรงคุณค่า และการได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลยัง
เป็นการสร้างโอกาสให้ผลงานเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ซึ่งก็เป็นการเพิ่มพูนคุณประโยชน์ของผลงานมากยิ่งขึ้น
	 ความส�ำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากแรงบันดาลใจที่ได้รับทราบตั้งแต่วันแรกของการเรียนแพทย์จากเอกสารพระราชด�ำรัสของ
สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ที่ทรงเคยสอนว่า “True success is not in the learning, but in its application to the benefit of
mankind” แรงบันดาลใจดังกล่าวส่งผลให้เกิดความเพียรพยายามที่จะแสดงให้สังคมได้เห็นว่า “ความส�ำเร็จที่แท้จริงมิใช่อยู่
ที่การเรียนรู้ แต่อยู่ที่การน�ำความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่มวลมนุษยชาติ”
นพ.วิวัฒน์ โรจนพิทยากร
ผู้ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล สาขาการสาธารณสุข ประจ�ำปี ๒๕๕๒
การประชุมวิชาการนานาชาติประจำ�ปี
รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
พิธีเปิดการประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๙
ปี ๒๕๕๘ เป็นต้นมา คณะกรรมการ PMAC ยังมุ่งที่จะท�ำงานร่วมกันเพื่อส่งเสริมการ
พัฒนาทางสังคมอย่างต่อเนื่องด้วยการเข้าถึงกลุ่มบุคคลที่ได้รับการยกเว้น พร้อมทั้ง
วางเป้าหมายการพัฒนาไปที่การขจัดความยากจนภายในปี ๒๕๗๓
	 PMACปี๒๕๖๐ที่จัดขึ้นระหว่าง๒๙มกราคม-๓กุมภาพันธ์๒๕๖๐จึงสอดคล้อง
กับการจัดท�ำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs)
ซึ่งมุ่งเน้นไปที่ “สุขภาพของประชากรที่เปราะบาง” หรือ “Health of Vulnerable
Populations”และมีเป้าหมายส�ำคัญ ๓ ประการ คือ หนึ่ง เพื่อให้เข้าใจถึงสถานการณ์
สาเหตุ และผลกระทบของการยกเว้นสุขภาพของประชากรที่เปราะบาง (ผู้ป่วยโรคจิต
ผู้สูงอายุที่มีความจ�ำบกพร่อง คนพิการ ชนกลุ่มน้อย ผู้ย้ายถิ่น ผู้อพยพ ฯลฯ) ในบริบท
ที่แตกต่างกัน สอง เพื่อหารือเกี่ยวกับตัวชี้วัดวิธีการวัดและตรวจสอบความคืบหน้าทาง
สังคมที่มีผลต่อสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบาง และสามเพื่อแบ่งปันประสบการณ์ใน
การด�ำเนินงานของนโยบาย / โปรแกรมเพื่อผลักดันให้มีการปรับปรุงการเข้าถึงบริการที่
มีอยู่และลดความไม่เท่าเทียมกันด้านสุขภาพให้แก่ประชากรกลุ่มเปราะบางทั่วโลกต่อไป
๒๓
	 การประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล(PrinceMahidal
Award Conference: PMAC) เกิดขึ้นในโอกาสที่มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯ
และรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล มีอายุครบ ๕ ปี และ ๑๐ ปี เมื่อปี ๒๕๔๐ และมี
ก�ำหนดให้มีการจัดประชุมขึ้นในทุกๆ ๕ ปี แต่ภายหลังจากมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า
มหิดลฯ ด�ำเนินงานครบ ๑๕ ปี คณะกรรมการจึงมีมติใหม่ ให้มีการจัดประชุมวิชาการ
เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อเผยแพร่พระราชเกียรติคุณของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ให้แผ่ไพศาลสู่นานาประเทศมากยิ่งขึ้น
	 ส�ำหรับการประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า
มหิดลที่ผ่านมา ภายใต้ความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย
มหิดล ตลอดจนสถาบันสุขภาพทั่วโลกทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิ องค์กร
อนามัยโลก (WHO) ธนาคารโลก (The World Bank) องค์กรเพื่อการพัฒนา
ระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (USAID) องค์กรความร่วมมือระหว่าง
ประเทศของญี่ปุ่น (JICA) มูลนิธิร็อกกิเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation)
มูลนิธิไชน่าเมดิคอลบอร์ด (China Medical Board) หน่วยงานองค์การ
สหประชาชาติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงพันธมิตรที่เกี่ยวข้องทั่วโลกมุ่งเน้น
จัดประชุมเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพที่มีความส�ำคัญระดับ
โลก เพื่อน�ำมาซึ่งข้อเสนอแนะแก่ประเทศต่างๆ ในการด�ำเนินการเกี่ยวกับ
สุขภาพอนามัยของมวลมนุษยชาติ ทั้งนี้ ในวาระการประชุม PMAC ครั้งที่ผ่านๆ มา
“One Health” หรือ “สุขภาพหนึ่งเดียว”เป็นอีกหนึ่งแนวคิดที่แสดงให้เห็นถึง
การร่วมกันผลักดันภายหลังจากมีการประชุม PMAC ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ในการ
สร้างความมั่นคงทางสุขภาพของประเทศระหว่าง ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้ง
ยังเกิดวิสัยทัศน์ที่สนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนในการเพิ่มศักยภาพของบุคลากรใน
การท�ำงานศาสตร์ข้ามศาสตร์ หรือการท�ำงานร่วมกันของหลายสาขาวิชาชีพ เพื่อ
ตอบโต้หรือเตรียมพร้อมกับโรคติดต่ออุบัติใหม่หรือโรคติดต่ออุบัติซ�้ำ ซึ่งรวมถึง
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน นอกจากนี้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน นับตั้งแต่
“เป็นทุนพระราชทานที่ได้มอบประสบการณ์อัน
ประเมินค่ามิได้ให้กับผมระยะเวลา๑ปีที่ผมได้ศึกษาดูงานและ
ท�ำวิจัยณEmoryUniversitySchoolofMedicine,GA,USA
เป็นช่วงเวลาที่ท�ำให้ผมได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มากมาย ทั้งด้าน
การวิจัยการใช้ชีวิตกระบวนการคิดและกระบวนการท�ำงาน
ที่เป็นระบบ แต่สิ่งที่ล�้ำค่าที่สุดที่ผมได้จากระยะเวลาสั้นๆ นี้
คือ Networking and Mentoring ที่ท�ำให้ผมมีเครือข่าย
เพื่อนร่วมงานชาวต่างชาติรวมถึงอาจารย์นักวิจัยระดับแนวหน้า
ของโลกหลังจากกลับจากการศึกษาดูงาน ผมได้ท�ำงาน
ในฐานะแพทย์เพิ่มพูนทักษะที่ รพ.มหาราชนครราชสีมา
จ.นครราชสีมา ผมตั้งใจที่จะใช้ความรู้ความสามารถที่เรียน
มาในการพัฒนาวงการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ
โดยการเป็นอาจารย์แพทย์ และแพทย์นักวิจัยศึกษาเรื่อง
หาแนวทางการรักษาวัณโรค พัฒนายา วัคซีน การควบคุม
การแพร่เชื้อ เพื่อน�ำความรู้ที่ได้มาต่อยอดไปสู่การพัฒนา
เทคโนโลยีทางการแพทย์ น�ำตัวยามาใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรค
ที่มีเป็นจ�ำนวนมากในประเทศไทยต่อไป”
	 “นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่ได้
รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า
มหิดลได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานในสาขาที่สนใจณองค์การ
อนามัยโลก นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส รวมถึงศึกษา
ดูงานการออกนโยบายด้านสาธารณสุขในระดับนานาชาติ
ท�ำให้ได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมสมัชชาสุขภาพนานาชาติ
และมีส่วนร่วมในการออกแนวทางเวชปฏิบัติขององค์การ
อนามัยโลกเรื่องการป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลัง
คลอดเฉียบพลันรวมถึงมีโอกาสได้วิเคราะห์สถานการณ์และ
ปัญหาที่เกิดกับมารดาวัยรุ่นในประเทศไทย หลังจากกลับ
มายังประเทศไทยนอกจากได้เข้าศึกษาต่อจนจบหลักสูตรจน
เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูติศาสตร์นรีเวชวิทยาและด�ำรง
ต�ำแหน่งอาจารย์ของภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาคณะ
แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลม.มหิดลแล้วยังมีความตั้งใจ
อย่างยิ่งที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาการดูแลมารดาและ
ทารกในประเทศไทยให้ได้มาตรฐานและปลอดภัย เพื่อลด
อัตราการตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจในวัยรุ่นให้ได้มากที่สุด”
	 “ไม่เคยคิดมาก่อนว่า จะได้รับโอกาสในการ
เดินทางไปศึกษาเรื่อง การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ซึ่งเป็นหนึ่งในสาขาทางการแพทย์ที่ไม่ค่อยได้รับ
การรวมเข้าในหลักสูตรของนักเรียนแพทย์มากนักใน
ขณะนั้น แต่ด้วยโอกาสที่ได้รับจากโครงการเยาวชน
รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประสบการณ์ ๑ ปีนั้น
นอกจากจะท�ำให้ได้เรียนรู้การดูแลผู้ป่วยอย่างเป็น
องค์รวม และเต็มไปด้วยความรักและความใส่ใจ
แล้ว ยังท�ำให้ตนเองตระหนักอยู่เสมอถึงค�ำสอน
ของสมเด็จพระบรมราชชนกที่ว่า“ความส�ำเร็จที่แท้จริง
ไม่ได้อยู่ในการเรียนรู้ แต่อยู่ที่การประยุกต์ใช้
เพื่อประโยชน์ของมนุษยชาติ” และถึงตอนนี้
ตนเองก็ได้ท�ำงานเป็นแพทย์ประจ�ำบ้าน สาขากุมาร
เวชศาสตร์ ในโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกา สิ่งที่คง
อยู่ในใจตลอดเวลาก็คือความรักในวิชาชีพความมุ่งมั่น
ที่จะท�ำงานหนักเพื่อดูแลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิต
ที่ดีขึ้น”
นพ.ศุภวิชญ์ เจษฎาชัย
ผู้ได้รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
ประจ�ำปี ๒๕๕๖
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
พญ.กนกวรุณ วัฒนนิรันตร์
ผู้ได้รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
ประจ�ำปี ๒๕๕๒
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
พญ.ทรรศนีย์ ชาติเมธากุล
ผู้ได้รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
ประจ�ำปี ๒๕๕๓
วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
	 ส�ำหรับผู้ที่ได้รับพระราชทานทุน ไปปฏิบัติงานด้านศึกษา/วิจัย/อบรม ยังสถาบัน
ในต่างประเทศแต่ละปี ล้วนเป็นผู้ที่มีความขยันหมั่นเพียร มีสติปัญญาดี มีความคิด
ริเริ่มและมีความประพฤติดีเป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรมอุทิศตนท�ำ
ประโยชน์เพื่อส่วนรวม ภายหลังจากกลับมาปฏิบัติงานในประเทศ นอกจากจะมีบทบาท
ในที่ประชุม “PMA Youth Conference” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้แพทย์รุ่นใหม่
แล้วยังเป็นผู้ที่ปฏิบัติตนดีงามเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษาวงการแพทย์ไทยและ
ต่อประเทศชาติโดยส่วนรวม อีกด้วย
โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล
	 โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล (Prince Mahidol Award Youth
Program)เกิดขึ้นภายหลังจากการประชุมคณะกรรมการมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯ
ครั้งที่ ๑/๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา
โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ รับเป็น
องค์ประธานการประชุมดังกล่าว ที่ประชุมมีมติให้จัดตั้งโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จ
เจ้าฟ้ามหิดลขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เยาวชนไทยที่รักและมุ่งมั่นในวิชาชีพด้านการแพทย์ด�ำเนิน
ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
เพื่อขับเคลื่อนระบบโลกาภิวัตน์ของการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตของประเทศไทยแก้ไข
ปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย และสร้างสรรค์สุขภาพอนามัยให้แก่มวลมนุษยชาติ
	 โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชด�ำริ
ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่
กรรมการรางวัลนานาชาติผู้หนึ่ง ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินโครงการด้านการเกษตร
เพื่อให้เกษตรกรมีอาหารที่เพียงพอส�ำหรับมวลมนุษยชาติกรรมการรางวัลนานาชาติผู้นี้ได้
น�ำโครงการดังกล่าวมาเสนอมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯด้วยเล็งเห็นว่าจะก่อให้เกิด
ประโยชน์กับสถาบันการศึกษาและวงการแพทย์ไทยองค์ประธานมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า
มหิดลฯ มีพระราชด�ำริให้จัดท�ำโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เริ่มที่สาขาการ
แพทย์และการสาธารณสุข ให้เป็นทุนแก่นักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ ๕
ซึ่งเป็นตัวแทนจากทุกมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ปีละไม่เกิน ๕ คน ให้เดินทางไปปฏิบัติงาน
ด้านการวิจัย (research) ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ (clinical practice) หรือด้านการพัฒนาชุมชน
(communitydevelopment)ยังสถาบันในต่างประเทศภายหลังจากส�ำเร็จการศึกษาแพทย
ศาสตรบัณฑิต และได้รับการดูแลโดยอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นระยะเวลา ๑๒ เดือน (ซึ่ง
นับเป็นเวลาของการใช้ทุนในการเรียนแพทย์)
๒๔
Supplement 125 Anniversary of the Birth of HRH Prince Mahidol of Songkla and the 25 Anniversary of the Prince Mahidol Award
Supplement 125 Anniversary of the Birth of HRH Prince Mahidol of Songkla and the 25 Anniversary of the Prince Mahidol Award
Supplement 125 Anniversary of the Birth of HRH Prince Mahidol of Songkla and the 25 Anniversary of the Prince Mahidol Award
Supplement 125 Anniversary of the Birth of HRH Prince Mahidol of Songkla and the 25 Anniversary of the Prince Mahidol Award

More Related Content

More from Pattie Pattie

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Supplement 125 Anniversary of the Birth of HRH Prince Mahidol of Songkla and the 25 Anniversary of the Prince Mahidol Award

  • 1. ๑๒๕ ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ ๒๕ ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
  • 2. ปี๒๕๖๐เป็นโอกาสครบ๑๒๕ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และครบ ๒๕ ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้น เพื่อถวายเป็นพระราชานุสรณ์แด่สมเด็จพระบรมราชชนก ผู้ทรง บ�ำเพ็ญประโยชน์เป็นคุณูปการอันใหญ่หลวงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ทรงวางรากฐานด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ของไทยให้เจริญรุ่งเรือง ทัดเทียมนานาอารยประเทศ จนทรง ได้รับการถวายพระสมัญญานามว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์ แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย” เป็นการสนอง พระกรุณาธิคุณและธ�ำรงไว้ซึ่งพระเกียรติยศให้ปรากฏยืนยงใน แผ่นดินไทย ทั้งเผยแผ่พระเกียรติยศและพระราชกรณียกิจให้ เป็นที่ประจักษ์ทั่วสากลโลก มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้สนองพระราชปณิธานของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดช วิกรม พระบรมราชชนก ในการส่งเสริมและสนับสนุนการ พัฒนาวงการแพทย์และการสาธารณสุข ด้วยการมอบรางวัลให้ แก่บุคคล หรือองค์กรจากทั่วโลก ที่มีผลงานดีเด่นในทางช่วยให้ คุณภาพชีวิตของคนหมู่มากดีขึ้น และเพื่อให้บุคคลทุกชาติภาษา ผู้มีปณิธานที่จะใช้วิชาการทางแพทย์และสาธารณสุขให้ เกิดประโยชน์แก่มวลมนุษย์ ได้รับการยกย่องเชิดชู รางวัล อันทรงเกียรตินี้จึงเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความมุ่งมั่น ในการท�ำงานร่วมกันเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดีให้แก่ประชาคมโลก โอกาสนี้ ข้าพเจ้าขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัล สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลประจ�ำปี ๒๕๕๙ ทุกท่านเป็นผู้เสียสละ อุทิศ แรงกายแรงใจท�ำงานเพื่อความเจริญก้าวหน้าของวงการแพทย์ และสาธารณสุข ส่งผลเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่มวลมนุษย์อย่าง กว้างขวาง ถือเป็นแบบอย่างอันประเสริฐของสังคม ผลงานของ ท่านยังจะเป็นแนวทางให้เกิดการศึกษาค้นคว้า แสวงหาวิธีการ ใหม่ๆ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ที่จะช่วยบ�ำบัดโรคภัย ไข้เจ็บ และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของมวลมนุษยชาติ ให้ดีขึ้นสืบไป ประธานมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๒
  • 3. เฉลิมพระราชเกียรติคุณ “สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล” สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่๖๙ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ และองค์ที่ ๗ ในสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี (สมเด็จ พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ในรัชกาลที่ ๘ และรัชกาลที่ ๙) ประสูติเมื่อ วันที่๑มกราคมพ.ศ.๒๔๓๔(ตามปีปฏิทินปัจจุบันตรงกับวันที่๑มกราคมพ.ศ.๒๔๓๕*)ทรงศึกษา เบื้องต้นณโรงเรียนราชกุมารในพระบรมมหาราชวังเมื่อถึงก�ำหนดพระราชพิธีโสกันต์ตามโบราณ ราชประเพณีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้จัดการพระราชพิธีมหามงคล โสกันต์ และพระราชทานพระสุพรรณบัฏเฉลิมพระนามเป็น “สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดล อดุลเดช นเรศวรมหาราชาธิบดินทร จุฬาลงกรณินทรวรางกูร สมบูรณเบญจพรศิริสวัสดิ ขัตตินว โรภโตสุชาติ คุณสังกาศเกียรติประกฤษฐ ลักษณวิจิตรพิสิษฐบุรุษย์ ชนุตมรัตน์พัฒนศักดิ อรรค วรราชกุมาร กรมขุนสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๘ เสด็จไปทรงศึกษาในยุโรป ปีต่อมาทรงเข้าศึกษา ณ โรงเรียนแฮร์โรว์(Harrow)กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษและเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่สองทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงศึกษาวิชาการทหารบกที่ประเทศเยอรมนีต่อมาในปี๒๔๕๒ทรงเข้าศึกษาณโรงเรียนนายร้อย ชั้นสูงทหารบก(HauptKadettenanstalt)ที่Gross-Lichterfeldeชานเมืองเบอร์ลินจนเมื่อพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตในปีถัดมาจึงเสด็จกลับประเทศไทยในงานพระราชพิธี พระบรมศพภายหลังงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้วจึงเสด็จกลับประเทศเยอรมนี “เจ้าฟ้าพระราชกุมาร” สู่ “เจ้าฟ้าทหารเรือ” ขอให้ถือผลประโยชน์ส่วนตนเปนที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษเปนกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์และเกียรติยศจะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งวิชาชีพย์ไว้ให้บริสุทธิ์ (ความจากลายพระหัตถ์ทรงมีไปถึง นพ.สวัสดิ์ แดงสว่าง) * ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล มีการเปลี่ยนแปลงวันขึ้นปีใหม่ จากวันที่ ๑ เมษายน เป็นวันที่ ๑ มกราคม ตั้งแต่ปี ๒๔๘๔ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชทรงเครื่องต้น วันสมโภชในพระราชพิธี มหามงคลโสกันต์ ระหว่างวันที่ ๒๔ ถึง ๓๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๖ ๓ มเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชบิดาแห่งพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า ผู้ทรงคุณอันประเสริฐ ถึงสองพระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชรัชกาลที่๙แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ทรงประกอบพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่เพื่อพัฒนาประเทศไทย ในหลายด้าน ผลแห่งพระราชกรณียกิจเป็นที่ประจักษ์ทั้งในหมู่ประชาชนชาวไทยและสังคมโลก ทรงอุทิศทุ่มเทพระสติปัญญาด้วยพระปรีชา สามารถตลอดพระชนม์ชีพพัฒนาประเทศชาติ ทั้งด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การพยาบาล การสาธารณสุข ฯลฯ ก่อให้ เกิดประโยชน์เป็นคุณูปการที่เป็นรากฐานอันมั่นคงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการแพทย์และการสาธารณสุขจึงทรงได้รับการถวายพระสมัญญานามว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย”
  • 4. “ฉันจะไปเรียนหมอละ เพราะเป็นวิชาที่สนุกดี เรามีโอกาสรักษาคนได้ ทั้งคนจนและคนมั่งมีและเจ้านายต่างๆ ได้เต็มที่ หมอท�ำการกุศลในการรักษา พยาบาลได้ดี ... เมืองไทยเรา ถ้าเจ้านายทรงท�ำหน้าที่อย่างสามัญชนเข้าบ้าง เขาว่าเสียพระเกียรติ ฉันรู้สึกว่า มัวแต่จะรักษาพระเกียรติอยู่ก็ไม่ต้องท�ำงาน อะไรกัน” (พระราชด�ำรัสสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์ รับสั่งกับพลตรีพระศักดาพลรักษ์) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ ทรงบรรยายไว้ว่า สมเด็จพระบรมราชชนกทรงมาเป็นแพทย์อาจจะเป็นด้วยการท�ำงานในกองทัพเรือ ช่วงนั้นไม่ราบรื่นนัก ท�ำอะไรไม่ได้ตามที่ทรงตั้งพระทัยไว้ ประกอบกับทรงมี พระประสงค์ที่จะทรงงานด้านสาธารณสุขเพื่อช่วยเหลือผู้เจ็บไข้ จึงตัดสิน พระทัยรับช่วยเหลือพัฒนาการแพทย์ไทย และเตรียมการเสด็จไปทรงศึกษา วิชาแพทย์ในต่างประเทศ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงได้รับพระบรมราชานุญาตให้เสด็จไป ทรงศึกษาวิชาแพทย์ที่สหรัฐอเมริกา แต่ทรงพระประชวรไข้รากสาดน้อย ต้อง รักษาอาการประชวรหลายเดือน จึงเสด็จออกจากเมืองไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๙ เสด็จถึงเมืองบอสตัน เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ เป็น ช่วงที่ยังไม่เปิดภาคเรียนเหตุการณ์ครั้งนั้นเมื่อสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนาฯ เสด็จไปทรงบรรยาย “สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช วิกรม พระบรมราชชนก” ณ ห้องบรรยายรวม ส�ำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดลศาลายาในวันพระราชทานนามมหาวิทยาลัยมหิดลปีที่๓๐ (๒มีนาคม๒๕๔๒)มีความตอนหนึ่งว่าระหว่างที่สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงเข้าเป็นนักเรียนในวิทยาลัย จักรพรรดินาวีเยอรมัน รุ่น CREW 1912 ณ โรงเรียนนายเรือ เฟลนส์บวร์ก มุรวิก (Marineschule Flensburg Mürwik) ทรง สอบผ่านวิชาเดินเรือและวิชาระดับนักเรียน ท�ำการนายเรือทรงศึกษาตามหลักสูตรของ โรงเรียนนายเรือและทรงปฏิบัติราชการใน กองทัพเรือเยอรมัน จนถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ สงครามโลกครั้งที่ ๑ เกิดขึ้น ในยุโรป ประเทศไทยประกาศเป็นกลาง จึงทรงลาออกแล้วเสด็จจากยุโรปกลับถึง ประเทศไทยเมื่อวันที่๙มีนาคมพ.ศ.๒๔๕๗ โปรดเกล้าฯ ให้ทรงเข้ารับราชการใน กระทรวงทหารเรือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๘ ขอให้ท่านถือสุภาษิตว่า “ใจเขาใจเรา” ท่านอยากได้ความสบายแก่ตัวท่านอย่างไร ก็ควรพยายามให้ความสบายแก่คนไข้อย่างนั้น” (ความจากลายพระหัตถ์ทรงมีไปถึงสมาชิกสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) โรงพยาบาลศิริราช ในช่วง พ.ศ. ๒๔๕๘ เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ เสด็จทอดพระเนตรโรงพยาบาลศิริราชเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ตัดสินพระทัยทรงช่วยเหลือพัฒนาการแพทย์ไทย ต่อการแพทย์-การสาธารณสุข เจ้าฟ้าผู้ทรงมีคุณูปการ ทรงรับราชการกระทรวงทหารเรือ พ.ศ. ๒๔๕๘ ๔
  • 5. คุณลักษณะของการเป็นแพทย์คือความเชื่อถือและไว้ใจ ท่านต้องมีความเชื่อในความสามารถของตนเอง คือมีความมั่นใจ ท่านต้องมีความไว้ใจระหว่างแพทย์กันเอง คือความเป็นปึกแผ่น ท่านต้องมีความเชื่อถือจากคนไข้ของท่าน คือความไว้ใจของคณะชน (ความจากลายพระหัตถ์ถึงสมาชิกสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) ประทับอยู่ที่เมืองกลอสเตอร์ทรงให้สัมภาษณ์แก่นักข่าวTheAssociatedPress ของนิวยอร์กว่า “ข้าพเจ้าเป็นร้อยโทในราชนาวี แต่เวลานี้เป็นทหารส�ำรอง ข้าพเจ้าเชื่อว่ากองทัพบก และกองทัพเรือ ควรมีก�ำลังพอที่จะป้องกัน ประเทศเท่านั้น แต่มากกว่านั้นข้าพเจ้าคิดว่า เงินของรัฐน่าจะใช้ส�ำหรับ สาธารณประโยชน์ ข้าพเจ้าชอบที่จะสร้างโรงพยาบาลมากกว่าสร้างเรือรบ ข้าพเจ้าได้เลือกที่จะเรียนการสาธารณสุข เพราะข้าพเจ้าคิดว่าจะเป็นทางที่จะ ให้โอกาสแก่ข้าพเจ้ามากที่สุดในการท�ำประโยชน์” สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงเรียนสาธารณสุขของโรงเรียน สาธารณสุข (School of Health Officer) มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด จัดตั้งโดย ความร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาจูเซตต์ (MIT) ในปีแรก ก่อนที่ จะทรงเรียนวิชาปรีคลินิก (ในคณะแพทย์) เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๐ ทรงมีลายพระหัตถ์ไปถึงสมเด็จแม่ (สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) ว่า “ปีนี้เข้าเรียนในโรงเรียนหมอออกจากโรงเรียนสุขาภิบาลเพราะเห็นว่า วิชาหมอจะมีประโยชน์มาก และเมื่อภายหลังจะเรียนสุขาภิบาลอีกก็ได้ ใน ชั้นต้นนี้คิดว่าจะเรียนวิชาหมอเพียง๒ปีแล้วจะเข้าเรียนไปอีก๒ปีในเมืองไทย ที่โรงเรียนราชแพทย์ จึงจะเป็นหมอรักษาคนได้” เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๐ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรง ลงทะเบียนเป็นนักศึกษาแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมาทรงฟังบรรยายและทรงศึกษาภาคปฏิบัติรายวิชาต่างๆณWhiteMarble Building และทรงศึกษาวิชาอายุรศาสตร์ ประสาทวิทยาและศัลยศาสตร์ที่ Massachusetts General Hospital และ Boston City Hospital ด้วย ทรงส�ำเร็จการศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ ๒ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๒ ในปีเดียวกันนี้ ยังได้ทรงลงทะเบียนเป็นนักศึกษาสาธารณสุข อีกครั้งหนึ่ง เดือนเมษายนพ.ศ.๒๔๖๓สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯเสด็จกลับประเทศไทยในพระราชพิธีถวาย พระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ เสกสมรสกับ นางสาวสังวาลย์ ตะละภัฏ (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) นักเรียนพยาบาลทุนพระราชทาน ณ วังสระปทุม หลังจากนั้น ได้เสด็จพร้อมด้วยหม่อมกลับสหรัฐอเมริกาผ่านทางยุโรป ครั้งนั้นทรงเข้าเรียนวิชาสาธารณสุข ภาคฤดู ใบไม้ผลิ (ภาคการศึกษาที่ ๒) จนทรงส�ำเร็จการศึกษาวิชาสาธารณสุข ได้รับประกาศนียบัตรสาธารณสุข (CertificateofPublicHealth)เมื่อวันที่๑๐กันยายนพ.ศ.๒๔๖๔ต่อมาเสด็จไปศึกษาวิชาแพทย์ชั้นปีที่๓ ที่ Royal Infirmary คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินเบอร์ก สกอตแลนด์ ใน พ.ศ. ๒๔๖๖ ในครั้งนั้น พระธิดา (สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์) ประสูติ ณ สถานพยาบาลเลขที่ ๔๘ Lexham Garden ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อประทับ ณ ทวีปยุโรป สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ทรงเป็นผู้แทนรัฐบาลไทย เจรจาจัดท�ำข้อ ตกลงร่วมมือปรับปรุงการศึกษาวิชาแพทย์กับมูลนิธิร็อกกิเฟลเลอร์จนบรรลุผลส�ำเร็จในพ.ศ.๒๔๖๖และ เสด็จกลับประเทศไทยมาทรงวางแผนปรับปรุงพัฒนาโรงพยาบาลหลักสูตรการแพทย์-พยาบาลพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้ทรงเป็นอธิบดีกรมมหาวิทยาลัยต่อมาโปรดเกล้าฯให้ทรง เป็นข้าหลวงส�ำรวจการศึกษาทั่วไป (ทรงด�ำรงต�ำแหน่งนี้ตลอดพระชนม์ชีพ) เมื่อทรงประชวรจึงเสด็จไป ประทับรักษาพระองค์ ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นสถานที่ประสูติของพระโอรส พระองค์แรก (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ประสูติเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘) ต่อมาพระองค์เสด็จไปทรงศึกษาต่อด้านการแพทย์ ณ เมืองบอสตัน รัฐแมสซาซูเซตต์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่๕ธันวาคมพ.ศ.๒๔๗๐พระโอรสพระองค์เล็ก(พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช) ประสูติ ณ โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาจูเซตต์ (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาล เมาท์ออเบิร์น) พ.ศ. ๒๔๗๑ ทรงประชวรไข้หวัดใหญ่ และอาการพระวักกะ (ไต) ก�ำเริบ ต้องประทับรักษาพระองค์ ในโรงพยาบาลซีมส์ อาริงตัน (Syms Arington) ในเดือนมิถุนายน ทรงสอบไล่ปีสุดท้ายของหลักสูตร แพทยศาสตร์ ทรงส�ำเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตร์ (DoctorofMedicine)เกียรตินิยมระดับCumLaude สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและพระโอรส-พระธิดา พระบรมฉายาลักษณ์นี้ฉายที่สวิตเซอร์แลนด์ใน พ.ศ. ๒๔๗๑ ทรงอุ้มพระโอรสพระองค์เล็ก ณ อุทยานเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษ พ.ศ. ๒๔๗๑ ๕
  • 6. อาชีพแพทย์นั้นมีเกียรติ แพทย์ที่ดีไม่ร�่ำรวย แต่ไม่อดตาย ถ้าใครอยากร�่ำรวยควรเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่แพทย์ อาชีพแพทย์ต้องยึดมั่นในอุดมคติ คือเมตตากรุณา (ทรงสอนนิสิตเตรียมแพทย์ปริญญา รุ่นที่ ๒) ครอบครัวมหิดลเสด็จกลับถึงประเทศไทยเมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ ประทับที่พระต�ำหนักใหม่ วังสระปทุม สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ เสด็จไปทรงงาน เป็นแพทย์ประจ�ำโรงพยาบาลแมคคอร์มิกเชียงใหม่ทรงผ่าตัดคนไข้หลายรายทรงสนพระทัย รักษาโรคทางระบบประสาท กลางคืนก่อนบรรทมจะเสด็จออกตรวจคนไข้ทุกเตียง ด้วยพระเมตตาการวางพระองค์ต่อบรรดาแพทย์และพยาบาลเป็นไปอย่างไม่ถือพระองค์ หลังจากประทับที่เชียงใหม่ได้ประมาณ๓สัปดาห์พระองค์เสด็จกลับกรุงเทพฯในงาน พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงษาภิมุขเจ้าฟ้าภาณุรังษี สว่างวงศ์กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชภายหลังจากนั้นพระองค์ประชวรด้วยโรคฝีบิด ในตับและมีอาการโรคพระวักกะ(ไต)ก�ำเริบขึ้นมากจนถึงวันที่๒๔กันยายนพ.ศ.๒๔๗๒ หมอเจ้าฟ้า : การทรงงานเพื่อผู้ป่วยไข้“การที่จะได้ความไว้วางใจของคนไข้ ขอท่านถือสุภาสิตว่า ‘ใจเขาใจเรา’ ท่านคงจะคิดได้ว่า ท่านอยากได้ความสบายแก่ตัวท่านอย่างไร ก็ควรพยายามให้ความสบายแก่คนไข้อย่างนั้น” (พระราโชวาทสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสงขลานครินทร์) เสด็จไปทรงเปิดโรงพยาบาลแมคคอร์มิก ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗ โรงพยาบาลแมคคอร์มิก จังหวัดเชียงใหม่ ลายพระหัตถ์ใบสั่งยา เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๒ ๖ มีพระอาการน�้ำท่วมพระปัปผาสะ (ปอด) และพระหทัยวาย สิ้นพระชนม์เวลา ๑๖.๔๕ น. พระชนมายุ ๓๗ ปี ๘ เดือน ๒๓ วัน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าฟ้า มหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ และเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลฯ พระราชโอรส เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เฉลิมพระอิสริยศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชบิดาเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่๙ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ประกาศเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระราชบิดา เป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓
  • 7. อาชีพแพทย์นั้นมีเกียรติ แพทย์ที่ดีไม่ร�่ำรวย แต่ไม่อดตาย ถ้าใครอยากร�่ำรวยควรเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่แพทย์ อาชีพแพทย์ต้องยึดมั่นในอุดมคติ คือเมตตากรุณา (ทรงสอนนิสิตเตรียมแพทย์ปริญญา รุ่นที่ ๒) ระหว่างเสด็จประทับในพระนคร ใน พ.ศ. ๒๔๖๓ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ เสด็จไปทรงงานที่ห้องปฏิบัติการ ตึกเสาวภาคย์ โรงพยาบาลศิริราช พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขของไทย สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อวงการแพทย์ การสาธารณสุข การ พยาบาล การเภสัชกรรม ทันตกรรม การประมง กองทัพเรือ และการอุดมศึกษาของประเทศ เป็นคุณูปการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศ ทรงเล็งเห็น ว่าการสาธารณสุขนั้นมีส่วนส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศและการสาธารณสุขจะมีผลดีก็ย่อมต้อง อาศัยแพทย์ที่ดี มีพื้นฐานการศึกษาแพทย์ที่เหมาะสม จึงทรงเห็นความส�ำคัญและความจ�ำเป็น ในการส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยเพื่อสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพและขยายองค์ความรู้ทางการแพทย์ ให้เจริญก้าวหน้า ทรงเป็นผู้แทนรัฐบาลไทยในการเจรจากับมูลนิธิร็อกกิเฟลเลอร์ให้มาช่วยเหลือ ปรับปรุงการแพทย์ของประเทศไทย ทรงวางรากฐานให้การแพทย์ของไทยเจริญรุ่งเรืองทัดเทียม นานาอารยประเทศทรงท�ำนุบ�ำรุงโรงเรียนราชแพทยาลัยและโรงพยาบาลศิริราชให้ทันสมัยโดย การส่งแพทย์พยาบาลไปศึกษาต่อต่างประเทศ ตลอดพระชนม์ชีพทรงอุทิศทุ่มเทพระวรกาย พระสติปัญญาและพระราชทรัพย์อย่างมากมายให้แก่การพัฒนาทางการแพทย์การพยาบาลและ การสาธารณสุข อีกทั้งพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ปรับปรุงกิจการโรงเรียนแพทย์ ทั้งในด้าน การพัฒนาบุคลากร การสร้างอาคารเรียนและหอผู้ป่วย พระราชทานเงินเดือนส�ำหรับพยาบาล ชาวต่างประเทศที่มาช่วยสอนและวางแผนการศึกษาใหม่ในโรงเรียนพยาบาล ทรงซื้อที่ดินและ อาคารโรงเรียนวังหลังเดิมให้เป็นโรงเรียนพยาบาลและหอพัก นอกจากการที่ทรงมีบทบาทในฐานะแพทย์แล้วในฐานะพระอาจารย์ทรงถ่ายทอดไม่เพียงแต่ ความรู้โดยตรงแก่นักศึกษาแพทย์และผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขเท่านั้น แต่ยังทรงให้ข้อคิด รวมทั้งข้อเตือนใจที่มีประโยชน์ในการท�ำงานและการด�ำรงชีวิตในแนวทางที่ถูกต้องไว้เป็นหลักในการ ปฏิบัติทั้งยังทรงบ�ำเพ็ญพระองค์เป็นแบบอย่างที่ดีด้วยพระจริยาวัตรที่งดงาม โดยเฉพาะในด้าน พระอุปนิสัยที่อ่อนน้อมไม่ถือพระองค์ และการประหยัดอดออม แสดงให้เห็นถึงพระราชปณิธาน สมเด็จพระบรมราชชนกทรงบันทึกสรุปเนื้อหาจากหนังสือและ บทความลงในบัตรดรรชนี ที่ทรงต้องพระประสงค์ที่จะให้ศิษย์ของพระองค์เป็นแพทย์ที่ดีที่เพียบพร้อมด้วย คุณธรรมและจริยธรรม การที่ทรงทุ่มเทให้แก่กิจการโรงเรียนแพทย์ นอกจากส่งผลดีต่อระบบการ แพทย์และสาธารณสุขแล้ว ยังมีส่วนส�ำคัญในการวางรากฐานการอุดมศึกษาไทย ๗
  • 8. เมืองไทยเรายังไม่มีอะไรเลย เมื่อเรียนส�ำเร็จแล้ว ควรพยายามคิดค้นทางวิชาการให้กว้างขวางขึ้น จะได้เทียบเคียงกับต่างประเทศเขา ถ้าไม่รู้จะท�ำอะไรใหม่ ก็ให้ศึกษาหาสิ่งธรรมดา ให้รู้ว่าคนไทยเรามีอะไรเป็นธรรมดาซึ่งเป็นมาตรฐาน (ทรงสอนนิสิตเตรียมแพทย์ปริญญา รุ่นที่ ๒ เล่าโดย นพ.ฝน แสงสิงแก้ว และ นพ.ประพนธ์ เสรีรัตน์) สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา ในขณะนั้น) มีหนังสือกราบทูลพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าธานีนิวัต ถึงพระประสงค์พระราชทาน ทุนพระมรดก ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลาฯ ให้เจริญก้าวหน้าสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน อาทิ ทรงสร้างรากฐานวิชาทันตแพทยศาสตร์ ของไทย พระราชทานทุนส่วนพระองค์ให้แก่ศาสตราจารย์ทันตแพทย์ สี สิริสิงห และ พระราชทานพระราชูปถัมภ์แก่ ศาสตราจารย์ พ.อ. หลวงวาจวิทยาวัฑฒน์ ทั้งสองศึกษา วิชาทันตแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อส�ำเร็จการศึกษา แล้ว ทั้งสองท่านได้เป็นก�ำลังส�ำคัญในการก่อตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย นอกจากนี้ยังทรงสร้างรากฐานการวิทยาศาสตร์แห่งชาติพระราชทานทุนส่งนักเรียน ไปศึกษาวิชาฟิสิกส์เคมีชีววิทยาณประเทศอังกฤษผลิตบัณฑิตเป็นครูสอนวิทยาศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยและในโรงเรียนทั่วประเทศทั้งยังมีแนวพระราชด�ำริที่ทรงเห็นแก่ประโยชน์ ของราษฎรเป็นที่ตั้ง สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงเป็นปูชนียบุคคลของชาติที่พระเมตตา สถิตอยู่ในใจปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า มีพระวิริยะอุตสาหะอย่างยิ่ง แม้พระวรกายเสื่อม ถอยลงพระองค์ก็ยังทรงงานอย่างต่อเนื่องขณะที่ประชวรหนักก็ยังรับสั่งถึงเรื่องการแพทย์ อยู่เป็นเวลานานๆ รับสั่งถึงการภายหน้า และถึงการที่จะทรงท�ำเมื่อหายประชวรแล้ว และ แม้หลังสิ้นพระชนม์พระองค์ยังพระราชทานเงินจ�ำนวน๕๐๐,๐๐๐บาทตามลายพระหัตถ์ พินัยกรรมเพื่อบ�ำรุงวิชาแพทย์และพยาบาลให้แก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกต่อมา ว่า “ทุนพระราชมรดกสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลาฯ” ภายหลังเมื่อจัดตั้งมหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์แล้ว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโอนทุนพระมรดกฯ ให้แก่มหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ด�ำเนินการตามพระประสงค์ต่อไป พระราชกรณียกิจโดยสังเขปของสมเด็จพระบรมราชชนก จากการที่ทรงมุ่งมั่นในการ ปรับปรุงการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทยอย่างจริงจังเป็นคุณูปการอันใหญ่หลวง ต่อประชาชนและประเทศชาติ เป็นที่ประจักษ์แก่ชนรุ่นหลัง จึงทรงได้รับการถวาย พระสมัญญานามว่า “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย” และ “พระบิดาแห่ง การสาธารณสุขไทย” เป็นการเฉลิมพระราชเกียรติคุณ และน้อมร�ำลึกถึงพระคุณูปการ อันเปี่ยมล้นที่มีต่อแผ่นดินไทยและประชาชนคนไทยทั้งประเทศ เสด็จไปในพิธีเปิดสถานีประชานามัยพิทักษ์ที่ ๒ ชั่วคราว ของสภากาชาดสยาม ต่อมาเรียกว่า สถานีอนามัยที่ ๒ ๘
  • 9. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น้อมร�าลึกถึงพระกรุณาธิคุณ เนื่องในโอกาสครบรอบ 125 ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และครบรอบ 25 ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล www.chula.ac.th
  • 10. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หมายเลขโทรศัพท์ 0-2419-7466-80 โทรสาร 0-2412-8415 ครบรอบ 25 ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล น้อมร�าลึกถึงพระกรุณาธิคุณ เนื่องในโอกาสครบรอบ 125 ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ
  • 12.         น้อมรำ�ลึกถึงพระกรุณ�ธิคุณเนื่องในโอก�ส ครบรอบ 125 ปี วันคล้�ยวันพระร�ชสมภพ ครบรอบ 25 ปี ร�งวัลสมเด็จเจ้�ฟ้�มหิดล สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ข้�พระพุทธเจ้� คณะผู้บริห�ร คณ�จ�รย์ บุคล�กร และนักศึกษ� คณะแพทยศ�สตร์ศิริร�ชพย�บ�ล มห�วิทย�ลัยมหิดล
  • 13. น้อมรำ�ลึกถึงพระกรุณ�ธิคุณ เนื่องในโอก�สครบรอบ 125 ปี วันคล้�ยวันพระร�ชสมภพ คณะแพทยศ�สตร์โรงพย�บ�ลร�ม�ธิบดี มห�วิทย�ลัยมหิดล เลขที่ 270 ถนนพระร�มหก แขวงพญ�ไท เขตร�ชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400 โทร. 02-201-1000 www.med.mahidol.ac.th ครบรอบ 25 ปี ร�งวัลสมเด็จเจ้�ฟ้�มหิดล สมเด็จพระมหิตล�ธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมร�ชชนก
  • 14. ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ ๓๖๔/๑ ถนนศรีอยุธยำ แขวงพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๐-๒๖๔๐-๑๑๑๑ www.phyathai.com สมเด็จพระมหิตลำธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมรำชชนก
  • 15. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก โรงพยาบาลแมคคอร์มิค Tel. 053-921777 Fax. 053-921734 www.mccormick.in.th ด้วยสํานึกในพระกรุณาธิคุณ ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ สมเด็จพระมหิตลำธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมรำชชนก พระบิดำแห่งกำรแพทย์แผนปัจจุบัน และกำรสำธำรณสุขของไทย 159 ถ.ประดิษฐ์มนูธรรม เขตวังทองหลำง กรุงเทพฯ 10310 โทร: 0-2308-7600,0-2105-0345 แฟ็กซ์: 0-2308-7614 Email: info@md-center.org www.md-center.org
  • 16. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ข้าพระพุทธเจ้า ผู้บริหาร และพนักงานองค์การเภสัชกรรม ด้วยสำานึกในพระกรุณาธิคุณ พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขของไทย ดวยสำนึกในพระกรุณาธิคุณ ...แมกาลเวลาจะลวงผานไปนานเพียงใด พระราชกรณียกิจและพระราชจริยวัตรอันบริสุทธิ์งดงาม ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ยังสถิตอยูในดวงใจของปวงชนชาวไทยทุกคนไมวาจะประกอบอาชีพใด อยู ณ สถานที่แหงไหน ตางก็ไดรับผลแหงพระกรุณาธิคุณในสมเด็จพระบรมราชชนก ผูทรงวางรากฐานในการพัฒนาการแพทย การสาธารณสุข การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาสังคม ใหเจริญรุดหนาสืบเน�องมาเปนระยะเวลายาวนาน ความจงรักภักดีไดเพิ่มพูนและอุดมดวยความซาบซึ้งและสำนึกในพระกรุณาธิคุณ จึงพรอมใจกันตั้งปณิธานในการที่จะปฏิบัติงานดำเนินรอยตาม เบื้องพระยุคลบาทดวยความกตัญูกตเวทีโดยนอมนำพระราโชวาทอันเปนอมตวาจาที่วา “ใหถือประโยชนสวนตัวเปนกิจที่สอง ประโยชนของเพ�อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง”มาเปนแนวทางและอุดมคติในการปฏิบัติงาน... ขาพระพุทธเจา พลตรีหญิง คุณหญิงอัสนีย เสาวภาพ ประธานสภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยฯ พรอมดวยคณะกรรมการอำนวยการ เจาหนาที่ และอาสาสมัคร สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยฯ
  • 17. การรถไฟแห่งประเทศไทย น้อมร�ำลึกถึงพระกรุณำธิคุณ เนื่องในโอกำสครบรอบ 125 ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก โทรศัพท์สายด่วน CALL CENTER 1690 เว็บไซต์ www.railway.co.th กองทัพเรือส�ำนึกใน พระมหำกรุณำธิคุณอย่ำงหำที่สุดมิได้ และจะเทิดทูนไว้ เหนือเกล้ำเหนือกระหม่อม ตลอดกำลนำน กองทัพเรือ
  • 18. ด้วยส�ำนึกในพระกรุณำธิคุณ สมเด็จพระมหิตลำธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมรำชชนก พระบิดำแห่งกำรแพทย์แผนปัจจุบัน และกำรสำธำรณสุขของไทย บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จ�ำกัด เลขที่ 998/1 ซอยพหลโยธิน 18/1 (ร่วมศิริมิตร) ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-610-0777 www.ch7.com สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ด้วยสำานึกในพระกรุณาธิคุณ
  • 19. บริษัท โรช ไทยแลนด์ จํากัด www.roche.co.th สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ด้วยสํานึกในพระกรุณาธิคุณ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มห�ชน) อ�ค�รเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ 99 ซอย รูเบีย ถนนสุขุมวิท 42 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบัน และการสาธารณสุขของไทย ด้วยสำานึกในพระกรุณาธิคุณ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ดวยสำนึกในพระกรุณาธิคุณ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก บริษัท อีคอนเทค ซัพพลาย จำกัด เลขที่ 2120/11-12-13-14 หมู 4 ต.เทพารักษ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 10270 โทร.02-757-7252, 02-757-7242 แฟกซ. 02-757-6771
  • 20. ธนาคารออมสิน น้อมร�ำลึกถึงพระกรุณำธิคุณ เนื่องในโอกำสครบรอบ 125 ปี วันคล้ำยวันพระรำชสมภพ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ครบรอบ 25 ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล www.gsb.or.th
  • 21. พระราชเกียรติคุณแห่ง สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของไทย” เป็นที่ประจักษ์ชัดทั้งในหมู่ประชาชนชาวไทย และสังคมโลก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งได้รับพระกรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นจากสมเด็จ พระบรมราชชนกในด้านการปรับปรุงการศึกษาแพทย์-พยาบาล และการปรับปรุง โรงพยาบาลศิริราช ได้เสนอรัฐบาลให้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงาน เฉลิมฉลองวันคล้ายวันพระราชสมภพครบ ๑๐๐ ปีเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดตั้งรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลเพื่อถวาย เป็นพระราชานุสรณ์ ด�ำเนินการโดย“มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรม ราชูปถัมภ์” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณให้ด�ำเนินการได้และให้จัดตั้ง มูลนิธิขึ้นเมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยทรงรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งแต่แรกตั้ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเป็น ประธานมูลนิธิ เมื่อแรกใช้ชื่อมูลนิธิว่า “มูลนิธิรางวัลมหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์” ต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์” เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เป็นรางวัลอันทรงเกียรติที่มอบให้แก่ผู้ที่ ไม่ย่อท้อต่อการท�ำคุณประโยชน์แก่มนุษยชาติในด้านการแพทย์ (บุคคลหรือองค์กร ที่ปฏิบัติงาน และ/หรือ วิจัยดีเด่นการแพทย์ อันก่อประโยชน์แก่มนุษยชาติ) และ การสาธารณสุข (บุคคลหรือองค์กรที่ปฏิบัติงานดีเด่นทางด้านสาธารณสุข เป็น ประโยชน์แก่สุขภาพอนามัยของมนุษยชาติ) โดยแต่ละรางวัล ประกอบด้วย เหรียญ รางวัล, ประกาศนียบัตร และเงินรางวัล ๑๐๐,๐๐๐ เหรียญสหรัฐ นับตั้งแต่แรกก่อตั้งรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๕ จนถึง พุทธศักราช ๒๕๕๙ มีบุคลากรด้านการแพทย์และการสาธารณสุขจากสหรัฐอเมริกา อเมริกากลาง อเมริกาใต้ ยุโรป เอเชีย แอฟริกา และออสเตรเลีย จ�ำนวนทั้งสิ้น ๗๔ คนที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณให้เป็นผู้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรตินี้ และใน จ�ำนวนนี้มี ๔ ท่าน ได้รับคัดเลือกให้รับรางวัลโนเบลในเวลาต่อมา คือ ศาสตราจารย์ ซาโตชิ โอมูระ จากประเทศญี่ปุ่น ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล สาขาการแพทย์ ประจ�ำปี ๒๕๔๐ และได้รับรางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ศ.นพ. แบรี่ เจ. มาร์แชล จากประเทศออสเตรเลีย ได้รับพระราชทานรางวัล สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล สาขาสาธารณสุข ประจ�ำปี ๒๕๔๔ และได้รับรางวัลโนเบลสาขา การแพทย์ประจ�ำปี๒๕๔๘ศาสตราจารย์ตูโยวโยวสมาชิกของกลุ่มChinaCooperative Research Group on Qinghaosu and its Derivatives as Antimalarials พิธีพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ๒๑
  • 22. จากสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จ เจ้าฟ้ามหิดลสาขาการแพทย์ประจ�ำปี๒๕๔๖และได้รับรางวัล โนเบลสาขาการแพทย์ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ ศ.นพ. ฮารัลด์ ซัวร์ เฮาเซน ประเทศเยอรมนี ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จ เจ้าฟ้ามหิดล สาขาการสาธารณสุข ประจ�ำปี ๒๕๔๘ และได้รับ รางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ ประจ�ำปี ๒๕๕๑ และ ๑ ท่าน ใน เวลาต่อมาได้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการองค์การอนามัยโลก คือ พญ.มากาเร็ต เอฟซี ชาน และมีคนไทยได้รับพระราชทาน รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ๔ ราย คือ ศ.นพ.ประสงค์ ตู้จินดา และ ศ.พญ.สุจิตรา นิมมานนิตย์ (ประจ�ำปี ๒๕๓๙) และ นพ.วิวัฒน์ โรจนพิทยากร และนายมีชัย วีระไวทยะ (ประจ�ำปี ๒๕๕๒) นอกจากนี้เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนกให้แผ่ไพศาลออกไปมากยิ่งขึ้น มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯ จึงได้จัดกิจกรรมเพิ่มขึ้นอีก ๒ กิจกรรม คือ การประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัล สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล และโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จ เจ้าฟ้ามหิดล พิธีพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ๒๒ นับเป็นเกียรติประวัติอย่างสูงสุดของตนเองและครอบครัวที่ได้รับเลือกให้ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติยิ่ง เป็นการแสดงว่า ผลการปฏิบัติงานได้รับความยอมรับว่าเป็นผลงานดีเด่นทางด้านสาธารณสุขและเป็นประโยชน์แก่สุขภาพอนามัยของมนุษยชาติ การได้รับรางวัลอันยิ่งใหญ่นี้ เป็นบทพิสูจน์ว่า ใครก็ตามที่เพียรพยายามสร้างสรรค์ผลงานให้ก่อเกิดประโยชน์ในการสร้าง เสริมสุขภาพหรือป้องกันมนุษยชาติให้รอดพ้นจากอันตรายของโรคภัยต่างๆ และสามารถผลักดันให้งานประสบความส�ำเร็จ ก็มีโอกาสที่จะได้รับความยอมรับในสังคมและได้รับรางวัลตอบแทนที่ทรงคุณค่า และการได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลยัง เป็นการสร้างโอกาสให้ผลงานเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ซึ่งก็เป็นการเพิ่มพูนคุณประโยชน์ของผลงานมากยิ่งขึ้น ความส�ำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากแรงบันดาลใจที่ได้รับทราบตั้งแต่วันแรกของการเรียนแพทย์จากเอกสารพระราชด�ำรัสของ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ที่ทรงเคยสอนว่า “True success is not in the learning, but in its application to the benefit of mankind” แรงบันดาลใจดังกล่าวส่งผลให้เกิดความเพียรพยายามที่จะแสดงให้สังคมได้เห็นว่า “ความส�ำเร็จที่แท้จริงมิใช่อยู่ ที่การเรียนรู้ แต่อยู่ที่การน�ำความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่มวลมนุษยชาติ” นพ.วิวัฒน์ โรจนพิทยากร ผู้ได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล สาขาการสาธารณสุข ประจ�ำปี ๒๕๕๒
  • 23. การประชุมวิชาการนานาชาติประจำ�ปี รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล พิธีเปิดการประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๙ ปี ๒๕๕๘ เป็นต้นมา คณะกรรมการ PMAC ยังมุ่งที่จะท�ำงานร่วมกันเพื่อส่งเสริมการ พัฒนาทางสังคมอย่างต่อเนื่องด้วยการเข้าถึงกลุ่มบุคคลที่ได้รับการยกเว้น พร้อมทั้ง วางเป้าหมายการพัฒนาไปที่การขจัดความยากจนภายในปี ๒๕๗๓ PMACปี๒๕๖๐ที่จัดขึ้นระหว่าง๒๙มกราคม-๓กุมภาพันธ์๒๕๖๐จึงสอดคล้อง กับการจัดท�ำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) ซึ่งมุ่งเน้นไปที่ “สุขภาพของประชากรที่เปราะบาง” หรือ “Health of Vulnerable Populations”และมีเป้าหมายส�ำคัญ ๓ ประการ คือ หนึ่ง เพื่อให้เข้าใจถึงสถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการยกเว้นสุขภาพของประชากรที่เปราะบาง (ผู้ป่วยโรคจิต ผู้สูงอายุที่มีความจ�ำบกพร่อง คนพิการ ชนกลุ่มน้อย ผู้ย้ายถิ่น ผู้อพยพ ฯลฯ) ในบริบท ที่แตกต่างกัน สอง เพื่อหารือเกี่ยวกับตัวชี้วัดวิธีการวัดและตรวจสอบความคืบหน้าทาง สังคมที่มีผลต่อสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบาง และสามเพื่อแบ่งปันประสบการณ์ใน การด�ำเนินงานของนโยบาย / โปรแกรมเพื่อผลักดันให้มีการปรับปรุงการเข้าถึงบริการที่ มีอยู่และลดความไม่เท่าเทียมกันด้านสุขภาพให้แก่ประชากรกลุ่มเปราะบางทั่วโลกต่อไป ๒๓ การประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล(PrinceMahidal Award Conference: PMAC) เกิดขึ้นในโอกาสที่มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯ และรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล มีอายุครบ ๕ ปี และ ๑๐ ปี เมื่อปี ๒๕๔๐ และมี ก�ำหนดให้มีการจัดประชุมขึ้นในทุกๆ ๕ ปี แต่ภายหลังจากมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า มหิดลฯ ด�ำเนินงานครบ ๑๕ ปี คณะกรรมการจึงมีมติใหม่ ให้มีการจัดประชุมวิชาการ เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อเผยแพร่พระราชเกียรติคุณของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ให้แผ่ไพศาลสู่นานาประเทศมากยิ่งขึ้น ส�ำหรับการประชุมวิชาการนานาชาติประจ�ำปีรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า มหิดลที่ผ่านมา ภายใต้ความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย มหิดล ตลอดจนสถาบันสุขภาพทั่วโลกทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิ องค์กร อนามัยโลก (WHO) ธนาคารโลก (The World Bank) องค์กรเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (USAID) องค์กรความร่วมมือระหว่าง ประเทศของญี่ปุ่น (JICA) มูลนิธิร็อกกิเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) มูลนิธิไชน่าเมดิคอลบอร์ด (China Medical Board) หน่วยงานองค์การ สหประชาชาติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงพันธมิตรที่เกี่ยวข้องทั่วโลกมุ่งเน้น จัดประชุมเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพที่มีความส�ำคัญระดับ โลก เพื่อน�ำมาซึ่งข้อเสนอแนะแก่ประเทศต่างๆ ในการด�ำเนินการเกี่ยวกับ สุขภาพอนามัยของมวลมนุษยชาติ ทั้งนี้ ในวาระการประชุม PMAC ครั้งที่ผ่านๆ มา “One Health” หรือ “สุขภาพหนึ่งเดียว”เป็นอีกหนึ่งแนวคิดที่แสดงให้เห็นถึง การร่วมกันผลักดันภายหลังจากมีการประชุม PMAC ประจ�ำปี ๒๕๕๖ ในการ สร้างความมั่นคงทางสุขภาพของประเทศระหว่าง ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้ง ยังเกิดวิสัยทัศน์ที่สนับสนุนให้เกิดความยั่งยืนในการเพิ่มศักยภาพของบุคลากรใน การท�ำงานศาสตร์ข้ามศาสตร์ หรือการท�ำงานร่วมกันของหลายสาขาวิชาชีพ เพื่อ ตอบโต้หรือเตรียมพร้อมกับโรคติดต่ออุบัติใหม่หรือโรคติดต่ออุบัติซ�้ำ ซึ่งรวมถึง โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน นอกจากนี้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน นับตั้งแต่
  • 24. “เป็นทุนพระราชทานที่ได้มอบประสบการณ์อัน ประเมินค่ามิได้ให้กับผมระยะเวลา๑ปีที่ผมได้ศึกษาดูงานและ ท�ำวิจัยณEmoryUniversitySchoolofMedicine,GA,USA เป็นช่วงเวลาที่ท�ำให้ผมได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มากมาย ทั้งด้าน การวิจัยการใช้ชีวิตกระบวนการคิดและกระบวนการท�ำงาน ที่เป็นระบบ แต่สิ่งที่ล�้ำค่าที่สุดที่ผมได้จากระยะเวลาสั้นๆ นี้ คือ Networking and Mentoring ที่ท�ำให้ผมมีเครือข่าย เพื่อนร่วมงานชาวต่างชาติรวมถึงอาจารย์นักวิจัยระดับแนวหน้า ของโลกหลังจากกลับจากการศึกษาดูงาน ผมได้ท�ำงาน ในฐานะแพทย์เพิ่มพูนทักษะที่ รพ.มหาราชนครราชสีมา จ.นครราชสีมา ผมตั้งใจที่จะใช้ความรู้ความสามารถที่เรียน มาในการพัฒนาวงการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ โดยการเป็นอาจารย์แพทย์ และแพทย์นักวิจัยศึกษาเรื่อง หาแนวทางการรักษาวัณโรค พัฒนายา วัคซีน การควบคุม การแพร่เชื้อ เพื่อน�ำความรู้ที่ได้มาต่อยอดไปสู่การพัฒนา เทคโนโลยีทางการแพทย์ น�ำตัวยามาใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรค ที่มีเป็นจ�ำนวนมากในประเทศไทยต่อไป” “นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ที่ได้ รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า มหิดลได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานในสาขาที่สนใจณองค์การ อนามัยโลก นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส รวมถึงศึกษา ดูงานการออกนโยบายด้านสาธารณสุขในระดับนานาชาติ ท�ำให้ได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมสมัชชาสุขภาพนานาชาติ และมีส่วนร่วมในการออกแนวทางเวชปฏิบัติขององค์การ อนามัยโลกเรื่องการป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลัง คลอดเฉียบพลันรวมถึงมีโอกาสได้วิเคราะห์สถานการณ์และ ปัญหาที่เกิดกับมารดาวัยรุ่นในประเทศไทย หลังจากกลับ มายังประเทศไทยนอกจากได้เข้าศึกษาต่อจนจบหลักสูตรจน เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูติศาสตร์นรีเวชวิทยาและด�ำรง ต�ำแหน่งอาจารย์ของภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาคณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลม.มหิดลแล้วยังมีความตั้งใจ อย่างยิ่งที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาการดูแลมารดาและ ทารกในประเทศไทยให้ได้มาตรฐานและปลอดภัย เพื่อลด อัตราการตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจในวัยรุ่นให้ได้มากที่สุด” “ไม่เคยคิดมาก่อนว่า จะได้รับโอกาสในการ เดินทางไปศึกษาเรื่อง การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ซึ่งเป็นหนึ่งในสาขาทางการแพทย์ที่ไม่ค่อยได้รับ การรวมเข้าในหลักสูตรของนักเรียนแพทย์มากนักใน ขณะนั้น แต่ด้วยโอกาสที่ได้รับจากโครงการเยาวชน รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประสบการณ์ ๑ ปีนั้น นอกจากจะท�ำให้ได้เรียนรู้การดูแลผู้ป่วยอย่างเป็น องค์รวม และเต็มไปด้วยความรักและความใส่ใจ แล้ว ยังท�ำให้ตนเองตระหนักอยู่เสมอถึงค�ำสอน ของสมเด็จพระบรมราชชนกที่ว่า“ความส�ำเร็จที่แท้จริง ไม่ได้อยู่ในการเรียนรู้ แต่อยู่ที่การประยุกต์ใช้ เพื่อประโยชน์ของมนุษยชาติ” และถึงตอนนี้ ตนเองก็ได้ท�ำงานเป็นแพทย์ประจ�ำบ้าน สาขากุมาร เวชศาสตร์ ในโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกา สิ่งที่คง อยู่ในใจตลอดเวลาก็คือความรักในวิชาชีพความมุ่งมั่น ที่จะท�ำงานหนักเพื่อดูแลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น” นพ.ศุภวิชญ์ เจษฎาชัย ผู้ได้รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๖ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พญ.กนกวรุณ วัฒนนิรันตร์ ผู้ได้รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๒ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พญ.ทรรศนีย์ ชาติเมธากุล ผู้ได้รับพระราชทานทุนโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจ�ำปี ๒๕๕๓ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า ส�ำหรับผู้ที่ได้รับพระราชทานทุน ไปปฏิบัติงานด้านศึกษา/วิจัย/อบรม ยังสถาบัน ในต่างประเทศแต่ละปี ล้วนเป็นผู้ที่มีความขยันหมั่นเพียร มีสติปัญญาดี มีความคิด ริเริ่มและมีความประพฤติดีเป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรมอุทิศตนท�ำ ประโยชน์เพื่อส่วนรวม ภายหลังจากกลับมาปฏิบัติงานในประเทศ นอกจากจะมีบทบาท ในที่ประชุม “PMA Youth Conference” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้แพทย์รุ่นใหม่ แล้วยังเป็นผู้ที่ปฏิบัติตนดีงามเป็นประโยชน์ต่อสถาบันการศึกษาวงการแพทย์ไทยและ ต่อประเทศชาติโดยส่วนรวม อีกด้วย โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล (Prince Mahidol Award Youth Program)เกิดขึ้นภายหลังจากการประชุมคณะกรรมการมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ รับเป็น องค์ประธานการประชุมดังกล่าว ที่ประชุมมีมติให้จัดตั้งโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จ เจ้าฟ้ามหิดลขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เยาวชนไทยที่รักและมุ่งมั่นในวิชาชีพด้านการแพทย์ด�ำเนิน ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เพื่อขับเคลื่อนระบบโลกาภิวัตน์ของการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตของประเทศไทยแก้ไข ปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย และสร้างสรรค์สุขภาพอนามัยให้แก่มวลมนุษยชาติ โครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากพระราชด�ำริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่ กรรมการรางวัลนานาชาติผู้หนึ่ง ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินโครงการด้านการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรมีอาหารที่เพียงพอส�ำหรับมวลมนุษยชาติกรรมการรางวัลนานาชาติผู้นี้ได้ น�ำโครงการดังกล่าวมาเสนอมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลฯด้วยเล็งเห็นว่าจะก่อให้เกิด ประโยชน์กับสถาบันการศึกษาและวงการแพทย์ไทยองค์ประธานมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า มหิดลฯ มีพระราชด�ำริให้จัดท�ำโครงการเยาวชนรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล เริ่มที่สาขาการ แพทย์และการสาธารณสุข ให้เป็นทุนแก่นักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ ๕ ซึ่งเป็นตัวแทนจากทุกมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ปีละไม่เกิน ๕ คน ให้เดินทางไปปฏิบัติงาน ด้านการวิจัย (research) ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ (clinical practice) หรือด้านการพัฒนาชุมชน (communitydevelopment)ยังสถาบันในต่างประเทศภายหลังจากส�ำเร็จการศึกษาแพทย ศาสตรบัณฑิต และได้รับการดูแลโดยอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นระยะเวลา ๑๒ เดือน (ซึ่ง นับเป็นเวลาของการใช้ทุนในการเรียนแพทย์) ๒๔