SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
 รหัสเทียม (Pseudocode)
รหัสเทียม (Pseudocode) คือ การเขียน
โปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้น
ตอนและรูปแบบแน่นอนกระทัดรัด และมอง
ดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษา
หนึ่ง
การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฏที่แน่นอน
ตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษา
คอมพิวเตอร์
 รหัสเทียม (Pseudocode)
 เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียมมีดังนี้
1. ประโยคคำาสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษ
อย่างง่าย
2. ประโยคคำาสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่ง
บรรทัดเท่านั้น
3. คำาหลัก (key word) และการเขียน
ย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม
4. คำาสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทาง
เข้า-ออก เพียงทางเดียว
การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) –
cont.
 การเขียนรหัสเทียมจะมีคำาที่ใช้ในการปฏิบัติ
การคอมพิวเตอร์ประกอบเป็นส่วนใหญ่ ซึ่ง
ช่วยให้การเปลี่ยนรหัสเทียมเป็นภาษา
คอมพิวเตอร์ ทำาได้ง่ายขึ้น
 การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น
6 แบบดังนี้
1. การกำาหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล
1.1 กำาหนดค่าเริ่มต้น คำาที่ใช้ Initialize หรือ
การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code)
–cont.
1.2 กำาหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่
ตัวเก็บ จะใช้เครื่องหมาย = เช่น
AA = 500 + 1 หรือ BB = 100 หรือ CC =
AA
2. การรับข้อมูล คำาที่ใช้ Read หรือ Get
เช่น Read AA
การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) –
cont.
3. การแสดงข้อมูลออก คำาที่ใช้ Print
,Write , Put , Display , Output
เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA
4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * ,
( )
เช่น C = (F-32) * 5/9
การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) –
cont.
5. การเปรียบเทียบและทำาการเลือก คำาที่ใช้
IF, THEN, ELSE เช่น
การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code)
–cont
6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซำ้า คำาที่ใช้
คือDOWHILE และ END DO เช่น
ตัวอย่างการเขียนรหัสเทียม (Pseudo
code) –cont.
ตัวอย่าง 3.1 จงเขียนรหัสเทียมเพื่อเปรียบเทียบ
ค่าข้อมูลที่เก็บในตัวแปร xโดยมีเงื่อนไขดังนี้
ถ้า x >0 ให้แสดงคำาว่า “Positive Number”
ถ้า x <0 ให้แสดงคำาว่า “Negative
Number”
ถ้า x =0 ให้แสดงคำาว่า “Zero Number”
ตัวอย่างการเขียนรหัสเทียม (Pseudo
code) –cont.
ตัวอย่าง 3.2 จงเขียนรหัสเทียมแสดงการเพิ่ม
ของข้อมูลตัวเลขที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำาที่
แอดเดรส J โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0 ให้ทำาการ
เพิ่มค่าขึ้นไปเรื่อยๆ ทีละ 1 จนกระทั่ง J มีค่า
ข้อมูลมากกว่า 100 จึงจะหยุดการทำางาน

More Related Content

Similar to รหัสเทียม ปฏิพัทธ์

หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4
หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4
หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4
sup11
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Pete Panupong
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
Adisak' Jame
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
Thidaporn Kaewta
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
saengtham
 

Similar to รหัสเทียม ปฏิพัทธ์ (20)

หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4
หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4
หลักการเบื้องต้นการเขียนโปรแกรม4
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
4.programming
4.programming4.programming
4.programming
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Unit1 psudocode
Unit1 psudocodeUnit1 psudocode
Unit1 psudocode
 

รหัสเทียม ปฏิพัทธ์

  • 1.  รหัสเทียม (Pseudocode) รหัสเทียม (Pseudocode) คือ การเขียน โปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้น ตอนและรูปแบบแน่นอนกระทัดรัด และมอง ดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษา หนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฏที่แน่นอน ตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษา คอมพิวเตอร์
  • 2.  รหัสเทียม (Pseudocode)  เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียมมีดังนี้ 1. ประโยคคำาสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษ อย่างง่าย 2. ประโยคคำาสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่ง บรรทัดเท่านั้น 3. คำาหลัก (key word) และการเขียน ย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำาสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทาง เข้า-ออก เพียงทางเดียว
  • 3. การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) – cont.  การเขียนรหัสเทียมจะมีคำาที่ใช้ในการปฏิบัติ การคอมพิวเตอร์ประกอบเป็นส่วนใหญ่ ซึ่ง ช่วยให้การเปลี่ยนรหัสเทียมเป็นภาษา คอมพิวเตอร์ ทำาได้ง่ายขึ้น  การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำาหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำาหนดค่าเริ่มต้น คำาที่ใช้ Initialize หรือ
  • 4. การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) –cont. 1.2 กำาหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ ตัวเก็บ จะใช้เครื่องหมาย = เช่น AA = 500 + 1 หรือ BB = 100 หรือ CC = AA 2. การรับข้อมูล คำาที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA
  • 5. การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) – cont. 3. การแสดงข้อมูลออก คำาที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9
  • 6. การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) – cont. 5. การเปรียบเทียบและทำาการเลือก คำาที่ใช้ IF, THEN, ELSE เช่น
  • 7. การเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) –cont 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซำ้า คำาที่ใช้ คือDOWHILE และ END DO เช่น
  • 8. ตัวอย่างการเขียนรหัสเทียม (Pseudo code) –cont. ตัวอย่าง 3.1 จงเขียนรหัสเทียมเพื่อเปรียบเทียบ ค่าข้อมูลที่เก็บในตัวแปร xโดยมีเงื่อนไขดังนี้ ถ้า x >0 ให้แสดงคำาว่า “Positive Number” ถ้า x <0 ให้แสดงคำาว่า “Negative Number” ถ้า x =0 ให้แสดงคำาว่า “Zero Number”
  • 10. ตัวอย่าง 3.2 จงเขียนรหัสเทียมแสดงการเพิ่ม ของข้อมูลตัวเลขที่เก็บอยู่ในหน่วยความจำาที่ แอดเดรส J โดยมีค่าเริ่มต้นจาก 0 ให้ทำาการ เพิ่มค่าขึ้นไปเรื่อยๆ ทีละ 1 จนกระทั่ง J มีค่า ข้อมูลมากกว่า 100 จึงจะหยุดการทำางาน