SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Introduction to Computerand
Information Technology
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์
บทบาทคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำาวัน
เราใช้คอมพิวเตอร์ทำาอะไรได้บ้าง?
 สำารองที่นั่งของสายการบิน
 การประมวลผลข้อมูลเลือกตั้ง
 การฝากถอนเงินผ่านระบบ ATM
 ตรวจสอบผลการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
 ฯลฯ
คอมพิวเตอร์ใช้ได้ทุกที่ ทุกเวลา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)
ความเร็ว (Speed)
ความถูกต้อง แม่นยำา (Accuracy)
ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
การจัดเก็บข้อมูล (StorageCapability)
ทำางานซ้ำ้าๆได้ (Repeatability)
การติดต่อสื่อสาร (Communication)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 3
วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็น
คอมพิวเตอร์
ยุคก่อนเครื่องจักรกล (Premechanical)
ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical)
ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์
(Electromechnical)
ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 4
ยุคก่อนเครื่องจักรกล
(Premechanical)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 5
ยุคก่อนเครื่องจักรกล
(Premechanical) (ต่อ)
แผ่นหินอ่อนซ้าลามิส (Salamis Tablet)
เป็นแผ่นกระดานหินอ่อนขนาดใหญ่ เพื่อช่วย
สำาหรับการนับค่าตัวเลขที่มีมากขึ้น
และสะดวกกว่าการเอาแท่งไม้หรือก้อนหินหลายๆ
ก้อนมาใช้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 6
ลูกคิด (Abacus)
ประเทศจีนมีการคิดค้นเครื่องมือช่วยนับเพื่อให้
ง่ายและรวดเร็วมากขึ้นเรียกว่า ลูกคิด (Abacus)
ชาวจีนเรียกอุปกรณ์นี้ว่า Suan-Pan (ซ้่วน-ผาน)
ต่อมามีการนำาลูกคิดไปใช้ในเชิงการค้าและแพร่
หลายมากยิ่งขึ้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 7
ยุคก่อนเครื่องจักรกล
(Premechanical) (ต่อ)
แท่งคำานวณของเนเปีย
ร์ (Napier’s Bone)
นักคณิตศาสตร์ชาวสก๊อต
ชื่อ จอห์น เนเปียร์ (John
Napier) ได้สร้างอุปกรณ์
คำานวณ
เรียกว่า แท่งคำานวณของเน
เปียร์
(Napier’s Bo ne) ซ้ึ่งเป็น
เครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่ง
ไม้ตีเส้นเป็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 8
ยุคก่อนเครื่องจักรกล
(Premechanical) (ต่อ)
ไม้บรรทัดคำานวณ (Slide Rule)
จอห์น วิลเลียม ออดเทรด (John William Oughtred)
ได้นำาเอาหลักการของเนเปียร์มาสร้าง ไม้บรรทัด
คำานวณ (Slide Rule) โดยนำาเอาค่าต่างๆมาเขียนไว้
บนแท่งไม้
สองอัน เมื่อนำามาเลื่อนต่อกันจะสามารถหาผลลัพธ์
ต่างๆที่ต้องการได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 9
ยุคก่อนเครื่องจักรกล
(Premechanical) (ต่อ)
ยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 10
นาฬิกาคำานวณ (Calculating Clock)
วิลเฮล์ม ชิคการ์ด (Wilhelm Schickard) ได้สร้าง
นาฬิกาคำานวณ (Calculating Clo ck) ซ้ึ่งทำางาน
โดยอาศัยตัวเลขต่างๆบรรจุบนทรงกระบอก
จำานวน 6 ชุด แล้วใช้ฟันเฟืองเป็นเครื่องหมุนทด
เวลาคูณเลข
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 11
ยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical) (ต่อ)
เครื่องคำานวณของปาสคาล
(Pascaline Calculator)
 เบลส์ ปาสคาล (BlaisePascal)
ได้สร้างเครื่องมือช่วยบวกเลขเรียก
ว่า
เครื่องคำานวณของปาสคาล
(Pascaline Calculato r)
โดยอาศัยการหมุนของฟันเฟือง
ซ้ึ่งใช้ได้ดีในการคำานวณบวกและ
ลบเท่านั้น
ส่วนการคูณและหารยังไม่ดีเท่าไรความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 12
ยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical) (ต่อ)
เครื่องคำานวณของไลบ์นิซ้ (Leibniz
Wheel)
กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ้ (Gottfried Wilhelm
Leibniz) ได้ปรับปรุงเครื่องคำานวณของปาสคาล
ให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเดิม โดยปรับฟันเฟือง
ใหม่ให้มีความสามารถคูณและหารได้ด้วย เรียก
เครื่องมือนี้ว่า เครื่องคำานวณของไลบ์นิซ้ (Leibniz
Wheel หรืออีกชื่อหนึ่งคือ Stepped Recko ner)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 13
ยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical) (ต่อ)
เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด (Jacauard’s
loom)
โจเซ้ฟ มารี แจคการ์ด (Joseph MarieJacquard) ได้
พัฒนาเครื่องทอผ้า
ให้ควบคุมลวดลายที่ต้องการได้เองโดยอัตโนมัติ
เรียกว่า เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด (Jacquard’s
lo o m) ซ้ึ่งเป็นแนวคิดที่ก่อให้เกิดการสร้าง
คอมพิวเตอร์ให้ทำางานได้ตามชุดคำาสั่งในเวลาต่อมา
นั่นเอง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 14
ยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical) (ต่อ)
เครื่อง Difference Engine
ชาร์ลส แบบเบจ (CharlesBabbage) เสนอแนวคิด
ให้สร้างเครื่องจักรกลเพื่อคำานวณในงานที่ซ้ับซ้้อ
นมากๆ เป็นเครื่องคำานวณต้นแบบที่เรียกว่า
Difference Engine แต่สร้างไปได้เพียงบางส่วน
เท่านั้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 15
ยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical) (ต่อ)
เครื่อง Analytical
Engine
แบบเบจได้พยายาม
เสนอการสร้าง
เครื่องจักรกลชนิดใหม่
เรียกว่า Analytical
Engine เพื่อให้ทำางาน
ตามคำาสั่งได้
(Programmable)
โดยอาศัยแนวคิดของ
แจคการ์ดที่นำาบัตรเจาะความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 16
ยุคเครื่องจักรกล
(Mechanical) (ต่อ)
แบบร่างของเครื่อง
Analytical Engine
แบบร่างของเครื่อง Analytical Engineมีส่วน
ประกอบดังนี้
Input Device อาศัยบัตรเจาะรูในการนำาข้อมูลเข้าสู่ตัว
เครื่อง
Arithmetic Pro cesso r เป็นส่วนที่ทำาหน้าที่คำานวณเพื่อ
หาผลลัพธ์
Co ntro lUnit เป็นส่วนควบคุมและตรวจสอบงานที่จะ
นำาออกว่าได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องหรือไม่
Memo ry เป็นส่วนสำาหรับเก็บตัวเลขเพื่อรอการ
ประมวลผล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 17
ยุคเครื่องจักรกลระบบ
อิเล็กทรอนิกส์
(Electromechanical)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 18
เครื่อง Tabulating Machine
ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) ได้
พัฒนาระบบสำามะโนประชากรของประเทศสหรัฐ
ขึ้น โดยเก็บข้อมูลลงบนบัตรเจาะรู (Punch Card)
ที่ทำางานร่วมกันกับเครื่องมือที่เรียกว่า Tabulating
Machine
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 19
ยุคเครื่องจักรกลระบบ
อิเล็กทรอนิกส์
(Electromechanical) (ต่อ)
เครื่อง ABC (Atanasoff Berry
Computer)
ดร.จอห์น วี อตานาซอฟฟ์ (John V. Atanasoff)
และคลิฟฟอร์ด เบอร์รี่ (Clifford Berry) สร้าง
เครื่องมือที่อาศัยการทำางานของหลอด
สุญญากาศ
เพื่อนำามาช่วยในงานประมวลผลทั่วไป เรียกว่า
เครื่อง “ ABC”
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 20
ยุคเครื่องจักรกลระบบ
อิเล็กทรอนิกส์
(Electromechanical) (ต่อ)
เครื่อง Colossus
อลัน ทัวริ่ง (Alan Turing)
ได้ร่วมกับทีมงานกลุ่มหนึ่ง
ประกอบด้วย
ทอมมี่ ฟลาวเวอร์
(Tommy Flowers)
และ เอ็ม เอช เอ นิวแมน
(M.H.A.
Newman) คิดค้น
เครื่องจักรคำานวณ
ที่เรียกว่า Co lo ssus เพื่อความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 21
ยุคเครื่องจักรกลระบบ
อิเล็กทรอนิกส์
(Electromechanical) (ต่อ)
เครื่อง Mark Iหรือ IBMAutomatic
Sequence Controlled Calculator
ศาสตราจารย์โฮวาร์ด ไอเคน (HowardAiken) ได้
สร้างเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นตามหลัก
การของแบบเบจได้เป็นผลสำาเร็จ และเรียกเครื่องนี้
ว่า
Mark I(หรือ IBM Automatic SequenceControlled
Calculator)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 22
ยุคเครื่องจักรกลระบบ
อิเล็กทรอนิกส์
(Electromechanical) (ต่อ)
ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Machine)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 23
เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical
Integratorand Computer)
ดร. จอห์น ดับบลิว มอชลี่ (John W. Mauchly)
และจอห์น เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท
(John Presper Eckert) ได้ออกแบบ
สร้างคอมพิวเตอร์เพื่อคำานวณ
วิถีกระสุนของปืนใหญ่ มีชื่อว่าเครื่อง
ENIAC(Electro nics Numerical
Integrato r And Co mputer)
อาศัยหลอดสุญญากาศมากถึง
18,000 หลอด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 24
ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Machine) (ต่อ)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 25
ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Machine) (ต่อ)
การใช้งานเครื่อง ENIAC ยังยุ่งยากเพราะต้อง
คอยป้อนคำาสั่งใหม่ทุกครั้ง
ดร. จอห์น ฟอน นิวแมนน์ (John Von
Neumann) เห็นว่าเพื่อให้การทำางานง่ายยิ่งขึ้น
น่าจะพัฒนาเครื่องที่สามารถเก็บข้อมูลและชุด
คำาสั่งไว้ภายใน (Stored Program) โดยไม่ต้อง
ป้อนข้อมูลเข้าไปใหม่ทุกครั้ง จึงได้ตีพิมพ์เผย
แพร่หลักการดังกล่าวซึ่งมีชื่อว่า “ First Draft o f
a Repo rt o n the EDVACDesign”
เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage
Automatic Calculator)
มัวริซ วิลค์ส (MauriceWilkes) แห่งมหาวิทยาลัยเคม
บริดจ์ (University of Cambridge) นำาเอาแนวคิดของ
นิวแมนน์มาสร้างเครื่อง EDSAC
(Electro nics Delay Sto rage
Auto matic Calculato r) ขึ้นมาก่อน
ซึ่งเก็บชุดคำาสั่งเพื่อทำางานไว้ภายใน
ได้เอง โดยมีการเขียนชุดคำาสั่งการ
ทำางานแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆเรียกว่า
Subro utines เพื่อช่วยในการทำางาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 26
ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Machine) (ต่อ)
เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete
Variable Automatic Computer)
ถูกพัฒนามาเรื่อยๆตั้งแต่
ตอนที่มอชลี่และเอคเคิร์ท
พัฒนาเครื่อง ENIAC
จนกระทั่งมาสำาเร็จอย่าง
สมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1952
โดยมีรูปแบบตรงตามการออกแบบของ ดร.นิวแมนน์
ทุกประการ
ถือว่าเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์ตามแนว
สถาปัตยกรรมของ นิวแมนน์” (Jo hn Vo n Neumann
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 27
ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Machine) (ต่อ)
เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic
Computer)
บริษัท Remington Rand สร้างขึ้นเพื่อใช้ทำานาย
ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนที่ 34 ของ
สหรัฐอเมริกา
ถือเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์
เครื่องแรกที่ใช้ในเชิงธุรกิจ”
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 28
ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Machine) (ต่อ)
J o h n B a rd e e n W a lte r B ra tta in
W illia m S h o c k le y
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุค
ทรานซิสเตอร์ (Transistor)
หลอดสุญญากาศมีอายุการใช้งานสั้น และมี
ขนาดใหญ่เกินไป จึงต้องพัฒนาอุปกรณ์ที่เรียก
ว่า ทรานซิสเตอร์ (Transisto r) ขึ้นมาแทน
โดยนักวิทยาศาสตร์ 3 คน ประกอบด้วย วิลเลียม
ช็อคเลย์ (William Shockley)
จอห์น บาร์ดีน (John Bardeen)
และวอลเตอร์ แบรทเทน
(Walter Brattain)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 29
เครื่อง IBM 1620
มีการนำาเอามาใช้ในเมืองไทยเป็นครั้งแรกที่ภาค
วิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และ
การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เครื่อง IBM 1401
สำานักงานสถิติแห่งชาติ ได้เอามาใช้เพื่องานด้าน
สำามะโนประชากร
คอมพิวเตอร์ในเมืองไทยจึงได้แพร่ขยายการ
ใช้ไปยังหน่วยงานอื่นๆความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 30
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์
(Transistor) (ต่อ)
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผง
วงจรรวม (IC)
ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์นับ
พันตัวรวมกัน
ลดต้นทุนในการผลิตเครื่อง
คอมพิวเตอร์
ลงไปได้มาก
เครื่องที่ผลิตได้จะมีขนาดเล็กลง
หรือที่เรียกว่า “มินิคอมพิวเตอร์”
(Minicomputer)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 31
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจร
รวมขนาดใหญ่
(LSI และ LVSI)
นำาไมโครโปรเซสเซอร์ (Micro pro cesso r) ซึ่ง
เป็นวงจรรวมขนาดใหญ่มาใช้แทนแผงวงจรรวม
(IC) แบบเดิม
อาศัยเทคโนโลยี LSI(Large Scale Integrated)
และ VLSI(Very Large Scale Integrated)
บรรจุวงจรทรานซิสเตอร์นับหมื่น แสน หรือล้าน
ตัว
ลงในชิ้นสารซิลิกอน (Silicon) เล็กๆ
เป็นจุดกำาเนิด ไมโครคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 32
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือ
ข่าย (Network)
ไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยมอย่าง
แพร่หลายไปทั่วโลก
เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง
 มุ่งเน้นให้เกิดการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย
(Netwo rk) มากยิ่งขึ้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 33
ประเภทของคอมพิวเตอร์
แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
ใช้งานทั่วไป
ใช้งานเฉพาะ
แบ่งตามขนาดและความสามารถ
ของคอมพิวเตอร์
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe
Computer
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 34
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
(Supercomputer)
เครื่องคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสูง (High
PerformanceComputer)
นำาไปใช้กับการทำางาน
เฉพาะทางที่ต้องการ
ความเร็วในการประมวล
ผลมาก
เหมาะกับงานคำานวณซับ
ซ้อนมากๆ เช่นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 35
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainfram
Computer)
เป็นเครื่องที่มี
สมรรถนะการทำางานสูง
เช่นเดียวกัน แต่เหมาะ
กับการใช้งานทั่วไป
มากกว่าซูเปอร์
คอมพิวเตอร์
เหมาะสำาหรับหน่วย
งานที่มีบริษัทสาขาและ
ประมวลผลข้อมูลใน
ปริมาณมาก เช่นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 36
มินิคอมพิวเตอร์
(Minicomputer)
ให้บริการแก่เครื่องลูกข่าย
(Client) บางอย่าง เช่น แฟ้ม
ข้อมูล เว็บ เครื่องพิมพ์
บางรุ่นเทียบได้กับเมนเฟรม
บางรุ่นอาจมีความเร็วเทียบเท่า
พีซี
แต่เดิมใช้กับบริษัทธุรกิจหรือ
หน่วยงานขนาดกลาง
ปัจจุบันมินิคอมพิวเตอร์ไม่
นิยมใช้แล้ว สำาหรับงานขนาด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 37
ไมโครคอมพิวเตอร์
(Microcomputer)
ได้รับความนิยมมาก ราคาถูก และหาซื้อมา
ใช้ได้ทั่วไปตามบ้านและสำานักงาน
อาจรวมถึงคอมพิวเตอร์ประเภทเคลื่อนย้าย
สะดวก เช่น โน้ตบุ๊ค, เน็ตบุ๊ค
และ Ultrabook
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 38
คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld
Computer)
มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบ
กับคอมพิวเตอร์ประเภท
อื่นๆ ตัวอย่างเช่น สมาร์ท
โฟน
และแท็บเล็ต
ใช้จัดการข้อมูลประจำาวัน
สร้างปฏิทิน
นัดหมาย ดูหนัง ฟังเพลง
ท่องอินเทอร์เน็ต รับส่งความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 39
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่
เดสก์ท็อป (Desktop)
โน้ตบุ๊ค (Notebook)
อัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook)
เน็ตบุ๊ค (Netbook)
แท็บเล็ต (Tablet)
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
คอมพิวเตอร์ในรูปลักษณ์อื่นๆ เช่น
(นาฬิกา แหวน และแว่นอัจฉริยะ)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 40
เดสก์ทอป (Desktop)
 ตัวเครื่องและจอภาพ
สามารถจัดวางเพื่อ
ทำางานบนโต๊ะได้อย่าง
สบาย
นิยมที่ใช้ในสำานักงาน
หรือตามบ้านทั่วไป เช่น
พิมพ์งาน ดูหนัง ฟังเพลง
เล่นเกม หรือท่อง
อินเทอร์เน็ต
ปัจจุบันมีการผลิตที่เน้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 41
โน้ตบุ๊ค (Notebook)
มีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับ
เครื่องพีซี
มีขนาดเล็กและบาง นำ้า
หนักเบา
สามารถพกพาได้สะดวก
มากขึ้น
เหมาะกับผู้ใช้ที่ต้องย้าย
สถานที่ทำางานบ่อยๆ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 42
อัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook)
มีขนาดบางเบากว่าโน้ตบุ๊ค
ประหยัดแบตเตอรี่ใช้งานได้
ยาวนานขึ้น
(อย่างน้อย 5 ชั่วโมง)
บู๊ทเครื่องได้รวดเร็ว
สั่งงานสะดวกด้วยหน้าจอ
สัมผัส
เหมาะกับการใช้งานนอก
สถานที่เป็นเวลานาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 43
เน็ตบุ๊ค (Netbook)
ขนาดเล็กและนำ้าหนักเบา กินไฟน้อย ราคาไม่แพง
ซีพียูและวงจรต่างๆมีสมรรถนะไม่สูง แต่ประหยัด
ไฟมาก
เน้นใช้งานบนอินเทอร์เน็ตและงานที่ไม่ซับซ้อน
มาก เช่น พิมพ์เอกสาร ฟังเพลง
ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมแล้ว
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 44
แท็บเล็ต (Tablet)
ตัวเครื่องมีขนาดกะทัดรัด ใช้งานได้คล่องตัว
ทำางานด้วยระบบทัชสกรีน โดยใช้ปลายนิ้วสัมผัส
หรือปากกาสั่งงาน (สไตลัส)
รองรับการใช้งานทั่วไป เช่น นำาเสนอไฟล์งาน, อ่าน
E-book, ดูหนัง, ท่องเน็ต ฯลฯ
ซื้อหรือดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่นมาใช้งานได้ตาม
ต้องการ เช่น แผนที่นำาทาง
แต่งเพลง ซื้อขายหลักทรัพย์ เรียนภาษา หรือเกม
ต่างๆ เป็นต้นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 45
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
โทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีดความสามารถการ
ทำางานแบบอรรถประโยชน์
อำานวยความสะดวกในการใช้งานทั่วไป เช่น
บันทึกรายชื่อ สร้างปฏิทินนัดหมาย อ่านข่าว
สื่อสารออนไลน์ ดูหนัง ฟังเพลง และใช้งาน
อินเทอร์เน็ต
ซื้อหรือดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่นเพิ่มเติมได้ตาม
ต้องการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 46
คอมพิวเตอร์ในรูปลักษณ์อื่นๆ
(Smart Devices)
นำาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับสิ่งของต่างๆ เช่น
แว่นตา นาฬิกา แหวน ทีวี ฯลฯ
มีสัญญาณไร้สายเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่นหรือ
อินเทอร์เน็ตได้
เน้นใช้งานได้สะดวกรวดเร็ว เช่น สนทนา
ออนไลน์ ถ่ายรูป แชร์ไฟล์ ฟังเพลง ฯลฯ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 47
ทิศทางของคอมพิวเตอร์ยุค
ใหม่
เน้นการใช้งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใช้บริการด้านข้อมูลด้วยระบบคลาวด์ (Cloud
Computing) โดยไม่จำากัดสถานที่ เวลา และ
ชนิดของอุปกรณ์ที่เรียกใช้ข้อมูล
พยายามคิดค้นและพัฒนาขีดความสามารถให้
ใกล้เคียงกับมนุษย์มากยิ่งขึ้น
เกิดศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์หรือ AI
(ArtificialIntelligence)
ระบบ Expert System หรือระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบ Roboticsหรือระบบหุ่นยนต์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 48
ทิศทางของคอมพิวเตอร์ยุค
ใหม่ (ต่อ)
ระบบ Expert System หรือระบบผู้
เชี่ยวชาญ
เก็บรวบรวมความรู้ต่างๆที่จำาเป็นต้องใช้สำาหรับงาน
ใดงานหนึ่งให้อยู่ตลอดไป
สามารถเอามาใช้ทดแทนในกรณีที่หน่วยงาน
ขาดแคลนบุคลากรได้เป็นอย่างดี
อาศัยการสร้าง ” ฐานความรู้” (Kno wledge Base)
ของผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆเก็บไว้
ตัวอย่างเช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์เพื่อ
ช่วยวินิจฉัยโรค ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 49
ระบบ Robotics หรือระบบ
หุ่นยนต์
ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทำางานร่วม
กับเครื่องจักรและอุปกรณ์บังคับ
บางชนิดเกิดเป็น “ หุ่นยนต์”
(Ro bo t) เพื่อทดแทนแรงงานคน
ได้เป็นอย่างดี
เหมาะกับงานเสี่ยงอันตรายตาม
โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่
การสำารวจข้อมูลทางอวกาศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 50
ทิศทางของคอมพิวเตอร์ยุค
ใหม่ (ต่อ)
ระบบ Natural Language หรือการเข้าใจ
ภาษาธรรมชาติของมนุษย์
นำาเอาความสามารถของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยใน
การสื่อสารกับ
มนุษย์ให้สะดวกขึ้น
ใช้ระบบรับรู้และจำาเสียงพูดของมนุษย์ (Speech
Recognition)
ใช้ระบบรับรู้เสียงและจดจำาเสียงดนตรี (Music
Recognition)
แยกแยะและวิเคราะห์คำาสั่งเสียงที่ได้รับและทำางาน
ตามที่สั่งการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 51
ทิศทางของคอมพิวเตอร์ยุค
ใหม่ (ต่อ)
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์กับการใช้งานภาครัฐ
ประยุกต์ใช้กับงานทะเบียนราษฎร์ของภาครัฐบาล เช่น
โครงการบัตรประชาชน Smart Card
บริการ E-Serviceเช่น E-Revenueของกรมสรรพากรที่
ให้บริการยื่นภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 52
คอมพิวเตอร์กับการใช้งานทางด้านธุรกิจ
ทั่วไป
เพื่อการประมวลผลที่รวดเร็ว ทันต่อความต้องการของ
ลูกค้าผู้รับบริการที่มีเพิ่มมากขึ้น
มีการใช้ “ระบบสำานักงานอัตโนมัติ” หรือ Office
Automation ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 53
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
(ต่อ)
คอมพิวเตอร์กับงานสายการบิน
ระบบจองตั๋วเครื่องบินที่ง่ายขึ้น และลูกค้าสามารถ
ทำาได้เอง เช่น ค้นหาเที่ยวบิน
การเช็คที่นั่งว่าง และการชำาระเงิน
ลดงานเอกสาร (Paperwork) โดยเอาระบบ E-
Ticketing มาใช้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 54
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
(ต่อ)
คอมพิวเตอร์กับงาน
ทางด้านการศึกษา
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
(CAI : Computer Aided
Instruction )
บทเรียนออนไลน์ผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เปิดสอนหลักสูตรระดับ
ปริญญา
โดยเรียนผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 55
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
(ต่อ)
คอมพิวเตอร์กับธุรกิจการนำา
เข้าและส่งออกสินค้า
ใช้ระบบ EDI(Electro nic Data
Interchange)
ในพิธีการศุลกากร
ซื้อขายสินค้าผ่านระบบ พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์
หรือ E-Co mmerce
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 56
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
(ต่อ)
คอมพิวเตอร์กับ
ธุรกิจธนาคาร
ลูกค้าธนาคารสามารถ
ทำาธุรกรรมเอง
ได้ทุกที่ทุกเวลา ผ่าน
ช่องทางต่างๆ
ตู้ ATM
ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์
E-Banking
ธนาคารบนมือถือ M-
Banking
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 57
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
(ต่อ)
คอมพิวเตอร์กับงานทางด้าน
วิทยาศาสตร์และการแพทย์
ช่วยวินิจฉัยโรคและตรวจสอบอาการของคนไข้
เก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการรักษา
การทดลองและวิจัยทางวิทยาศาสตร์
การคำานวณและจำาลองแบบ เพื่อสร้างผลงานทาง
วิทยาศาสตร์ใหม่ๆ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 58
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
(ต่อ)
คอมพิวเตอร์กับภูมิสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS: Geographic
Information System)
ระบบการชี้ตำาแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (GPS: Global
Positioning System)
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ เช่น งานวางแผนจัดสรร
ทรัพยากร ระบบแจ้งเตือนแผ่นดินไหว รายงาน
สภาพจราจร ระบบแผนที่และการนำาทาง ฯลฯ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 59
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
(ต่อ)
ปัญหาและข้อจำากัดของการใช้
งานคอมพิวเตอร์
ข้อจำากัด
แม้จะมีความสามารถในเรื่องของการคิดและตัดสินใจ
ได้แทนมนุษย์
แต่เป็นเพียงบางเรื่องหรือบางกรณีเท่านั้น
ไม่สามารถเข้ามาแทนที่มนุษย์ได้ 100% เพราะมนุษย์
ต้องคอยเป็นผู้ควบคุมและสร้างคำาสั่งให้คอมพิวเตอร์
ทำางานได้อยู่ดี
ได้รับข้อมูลอย่างไรก็ประมวลผลไปตามนั้น
(GIGO : GarbageIn GarbageOut)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 60
ปัญหา
“ความรู้ไม่ทันเทคโนโลยี” ของผู้ใช้ที่ขาดทักษะ
บางประการ
หรือไม่ติดตามข่าวสารใหม่ๆ เช่น ปัญหาไวรัสที่
แพร่กระจาย
ปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่เพิ่มขึ้น
การโกงหรือหลอกลวงข้อมูล
การขโมยทรัพย์สินทางปัญญา
การละเมิดความเป็นส่วนตัว
ฯลฯ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 61
ปัญหาและข้อจำากัดของการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ (ต่อ)
“มนุษย์” ต้องรู้จักเลือกใช้งานคอมพิวเตอร์ให้
ถูกวิธี
ติดตามข่าวสารเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์
อย่างสมำ่าเสมอ
ตระหนักถึงจริยธรรมในการใช้งานโดยทั่วไป
และไม่สร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 62
ปัญหาและข้อจำากัดของการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ (ต่อ)

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญแบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญPitchayaporn Sukrarassamee
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้Jiraprapa Suwannajak
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมBoonlert Aroonpiboon
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...เล็ก น่ารัก
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์tassanee chaicharoen
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือPloykarn Lamdual
 
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือเฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdfNamkang Udchachon
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์krujee
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okDhanee Chant
 

What's hot (20)

เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญแบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : แก้ไขเพิ่มเติม
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์ใบงานผังมโนทัศน์
ใบงานผังมโนทัศน์
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
 
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือเฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
เฉลยแบบทดสอบหนังสือเลขเรียกหนังสือ
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 Activity Based learning กรวิภา ใจตรง.pdf
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
 
SAR for Thai educational academic.
SAR for Thai educational academic.SAR for Thai educational academic.
SAR for Thai educational academic.
 
stem
stemstem
stem
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 

Similar to Ch01 slide

040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01Naret Su
 
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์noeyusa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1maysasithon
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
หน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและ
หน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและหน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและ
หน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและekkachai kaikaew
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นBeerza Kub
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบNit Noi
 
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Beerza Kub
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นะนาท นะคะ
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 

Similar to Ch01 slide (20)

040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
หน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและ
หน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและหน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและ
หน่วยที่ 9 ระบบปฏิบัติการเครือข่ายและ
 
Mt1 3 56
Mt1 3 56Mt1 3 56
Mt1 3 56
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้นโครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และหลักการทำงานเบื้องต้น
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ความหมายและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
pretest (1)
pretest (1)pretest (1)
pretest (1)
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 

Ch01 slide